SlideShare a Scribd company logo
ชุด ฝึก ทัก ษะกระบวนการ
ทางวิท ยาศาสตร์

หน่ว ยที่ 2 เรือ ง ความหลาก
่
หลายทางชีว ภาพ
ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 3
้

ชุด ฝึก ทัก ษะชุด ที่ 1 ความหลาก
หลายทางชีว ภาพ

โดย
นางศรีว ัฒ นา นวลศิร ิ
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้
วิท ยาศาสตร์
โรงเรีย นสุร ิน ทร์ร าชมงคล
จัง หวัด สุร ิน ทร์
สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
ก
มัธ ยมศึก ษา เขต 33
คำา นำา

ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เล่มนี้จัดทำา
ขึ้นเพื่อใช้ประกอบ
กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง
ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเน้นทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ด้านการสังเกต การจำาแนกประเภท การลงความ
เห็นจากข้อมูล การจัดกระทำาและสื่อสารข้อมูล โดยนักเรียน
ศึกษาเป็นกลุ่ม หรือศึกษาด้วยตนเองเป็นรายบุคคล เพื่อมุ่งเน้น
ให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ มี
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการกลุ่ม การ
ทำางานเป็นทีม มีความร่วมมือร่วมใจในการแสดง
ความคิดเห็น การแสดงบทบาทหน้าที่ที่กลุ่มกำาหนด การช่วย
เหลือในด้านความรู้และการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับ
ความคิดเห็นของกลุ่ม มีความรับผิดชอบ และการตรงต่อเวลา ซึ่ง
ประกอบด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จำานวน
10 ชุด แต่ละชุดมีส่วนประกอบ ดังนี้
1. ชื่อชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. คำาชี้แจงในการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
3. แนวคิด/สาระสำาคัญ
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
5. ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
6. ใบความรู้/ใบกิจกรรม
7. แบบประเมิน/แบบทดสอบ
ผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดฝึกทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เล่มนี้
จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
นางศรีวัฒนา นวลศิริ
ครูชำานาญการ

ข
สารบัญ

เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีว ภาพ
หน้า
คำานำา
สารบัญ
คำาชี้แจงของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1
แนวคิด/สาระสำาคัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
ใบความรู้ที่ 1

ก
ข
3
3
4
6
7
ใบกิจกรรมที่ 1.1
12
ใบกิจกรรมที่ 5.2
13
แบบทดสอบหลังเรียน
16
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1
18
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน
21
บรรณานุกรม
22

1

คำา ชี้แ จงของชุด ฝึก ทัก ษะ
กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์
คำา ชี้แ จง/บทบาทสำา หรับ ครู
1. กำาหนดขนาดของกลุ่มโดยแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4

คน
คละความสามารถ เก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1
คน (จัดกลุ่มนักเรียนล่วงหน้าโดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2551) และกำาหนดให้
นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มมีหมายเลขประจำาตัวดังนี้ คนที่ 1
หมายเลข 1 คนที่ 2 หมายเลข 2
คนที่ 3 หมายเลข 3 และคนที่ 4 หมายเลข 4 เพื่อมอบ
หมายหน้าที่ตาม
หมายเลข โดยแจ้งให้นักเรียนทราบว่าผลงานของนักเรียนคือผล
งานของกลุ่ม
2. ดูแลการจัดลักษณะการนั่งของสมาชิกกลุ่มให้สะดวกที่จะ
ทำางานร่วมกันและง่ายต่อการสังเกตและติดตามความก้าวหน้าของ
กลุ่ม
3. จัดเตรียมชุดฝึกเพื่อมอบหมายให้กลุ่มทำากิจกรรม
4. ชี้แจงกฎกติกาปกติในการทำางานให้ผู้เรียนรับทราบ
เกี่ยวกับ
การทำางานร่วมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม มีความร่วมมือร่วมใจใน
การแสดง
ความคิดเห็น การแสดงบทบาทหน้าที่ที่กลุ่มกำาหนด การช่วย
เหลือ
ในด้านความรู้และการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับความคิด
เห็น
ของกลุ่ม มีความรับผิดชอบ และรักษาเวลา
5. เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุ่มในกรณีที่กลุ่มมีปัญหาและ
คอยติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม
6. ยกย่องเมื่อนักเรียนทำางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้รางวัล
คำาชมเชยในลักษณะกลุ่ม
7. วัดผลและประเมินผลการปฏิบัติการของนักเรียนแต่ละ
กลุ่ม

คำา ชี้แ จง
บทบาทสำา หรับ
นัก เรียน

2
1. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นี้ช่วย
ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ
กระบวนการกลุ่ม ช่วยกันทำางานแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ซึ่งกันและกัน โดยในแต่ละกลุ่มต้องประกอบด้วยผู้เรียนที่มี
ความรู้ ความสามารถแตกต่างกันเพื่อที่จะให้เด็กเก่งช่วยเหลือ
เด็กอ่อน ความสำาเร็จของบุคคลคือความสำาเร็จของกลุ่ม ซึ่ง
เป็นการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ และเป็นประโยชน์ถ้า
นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำาหนดไว้ในชุดฝึกทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นี้กำาหนดให้
นักเรียนมีบทบาทดังนี้
2.1 นักเรียนที่เรียนเก่งคอยให้ความช่วยเหลือ
นักเรียนที่เรียนอ่อน
2.2 มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบ
หมาย
2.3 รู้จักการทำางานเป็นทีม และฝึกทักษะการอยู่ร่วม
กัน
3. ศึกษาและทำาความเข้าใจชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ แล้วฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
3.1 ศึกษาขอบข่ายของเนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
และจุดประสงค์การเรียนรู้
3.2 ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้พื้น
ฐาน จำานวน 10 ข้อ
ใช้เวลา 5 นาที
3.3 ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมของชุดฝึกทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3.4 ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่กำาหนดให้อย่าง
เคร่งครัดและมีความซื่อสัตย์
ต่อตนเอง
3.5 การปฏิบัติกิจกรรมและใบกิจกรรมระหว่างเรียนให้
ทำาในใบกิจกรรม
3. 6 หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยประการใดให้สอบถามครู
ผู้สอนหรือผู้ควบคุมชั้นเรียนได้ตลอดเวลา
3.7 เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักเรียนทำา
แบบทดสอบหลังเรียน
จำานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที

3
ชุด ฝึก ทัก ษะกระบวนการทาง
วิท ยาศาสตร์

สาระสำา คัญ

ชุด ฝึก ที่ 1 เรือ ง ความหลากหลายทาง
่
ชีว ภาพ

ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางชนิด
พันธุ์ และความหลากหลายทางพันธุกรรม เป็นผลทำาให้สิ่งมีชีวิต
อยู่ได้อย่างสมดุล
ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง
สำารวจ สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความสำาคัญของ
ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น ซึ่งมีผลต่อการดำารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิตและมนุษย์

จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
ด้า นความรู้ (K)
1. อธิบายความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้
2. บอกความสำาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพได้
ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ /กระบวนคิด (P)
จำาแนกปะเภทของความหลากหลายทางชีวภาพได้
คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์ (A)
1. ความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่ม
4
2. ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
3. ความกระตือรือร้นมีความตั้งใจในการทำางาน
4. ความซื่อสัตย์
แบบทดสอบก่อ นเรีย น
เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีภ าพ
รายวิช าวิท ยาศาสตร์ รหัส วิช า 33101 ชั้น มัธ ยมศึก ษา
ปีท ี่ 3
คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบเดียว
1. ข้อใดคือความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. การดำารงชีวิตในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรือแตกต่าง
กัน
2. จำาแนกตามรูปร่าง ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วน
ประกอบของร่างกาย
3. มีความแตกต่างกันทางสายพันธุกรรม
4. เกิดจากการรวมตัวของจุลภาคต่าง ๆ
2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงความสำาคัญของความหลากหลาย
ทางชีวภาพได้ถูกต้อง
1. วัสดุธรรมชาติมีคุณค่าต่อทางเศรษฐกิจและสังคม
2. เป็นวัสดุสิ้นเปลือง
3. พืชเกษตรหลายชนิดกำาเนิดมาจากป่าเท่านั้น
4. พืชเท่านั้นที่สามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชาวต่าง
ประเทศเดินทางมาเยี่ยมชมประเทศไทย
3. ปัจจัยที่ส่งผลให้ธรรมชาติขาดดุลข้อใดผิด
1. การจับสัตว์มากเกินไป
2. การเก็บเกี่ยวผลผลิตจากป่ามากเกินไป
3. มลพิษต่าง ๆ จากอุตสาหกรรม
4. การย้ายถิ่นฐานของสัตว์เข้าสู่ป่าเป็นจำานวนมาก
4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตพืช
1. อาณาจักพืชประกอบด้วยไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก
และเฟิร์น
2. พืชนิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม เคลื่อนที่ได้
3. เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลล์
เดียว
4. พบได้บนบก
5. สิ่งมีชีวิตสัตว์ หมายถึงข้อใด
1. สิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม
2. ประกอบด้วย หลายเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละ 5
เซลล์เพื่อทำาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร
3. มีคลอโรฟิลล์ และสร้างอาหารเอง
4. ไม่ได้ ดำารงชีวิตได้หลายลักษณะทั้งบนบกในนำ้า และ
บางชนิดเป็นจุลสิต
6. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ราเป็นสิ่งชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสหรือมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
เรียกว่า ยูแคริโตส
2. มีคลอโรฟิลล์ สังเคราะห์อาหารเองไม่ได้
3. ราเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเห็ด รา และยีสต์
4. มีโมเลกุลใหญ่และดูดเข้าเซลล์
7. ข้อใดกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตแบคทีเรียได้ถูกต้อง
1.
แบคทีเรีย หรือ บัคเตเรีย
ข. มีขนาดเล็ก มองเห็นด้วยตาเปล่า
1. มีโครงสร้างเซลล์ที่ซับซ้อนมาก
2. แบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแบบแบ่งตามรูปร่าง แบ่งได้
หลายแบบทั้งกลม (cocci), แบบท่อน (bacilli,
rod), แบบเกลียว (spiral)
8. ข้อใดกล่าวถึงแมลงได้ถูกต้อง
1. แมลงมี 6 ขา
2. เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
3. ร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหัว ส่วนหาง
4. มีเฉพาะปีกเท่านั้น
9. ข้อใดกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตโพรทิสต์ได้ถูกต้อง
1. มาจากภาษากรีก หมายความว่า"สิ่งแรกสุด"
2. เป็นสิ่งมีชีวิตทีอยู่ในอาณาจักร สัตว์ พืช เห็ดรา
่
3. เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม
4. อยู่ในอาณาจักรโพรซิสตา (Kingdom Protista)
10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. วันที่ 19 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ
หลากหลายทางชีวภาพ
2. วันที่ 19 มกราคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ
หลากหลายทางชีวภาพ
3. วันที่ 19 มีนาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความหลาก
หลายทางชีวภาพ
4. วันที่ 19 กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ
หลากหลายทางชีวภาพ

6
ขั้น ตอนการปฏิบ ัต ิ
เลือกประธานและ
และจัดการในการ

1. กิจ กรรมยนแต่ละกลุ่ม
ให้นักเรี
เลขานุการของกลุ่ม เพื่อทำาหน้าที่ประสาน

ดำาเนินงานของกลุ่มต่อไปจนจบกิจกรรม
2. นักเรียนแต่ละคนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจ
สอบความรู้พื้นฐาน
จำานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 ทักษะ
การสังเกต , ใบความรู้ที่ 1.2 ทักษะการจำาแนกประเภท ,ใบความ
รู้ที่ 1.3 ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล และใบความรู้ที่ 1.4
ทั ก ษะการจั ด กระทำา และสื่ อ ความหมายข้ อ มู ล และร่ ว มกั น ทำา
กิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง สำารวจความหลากหลายทาง
ชี ว ภาพ ใบกิ กรรมที่ 1.2 เรื่ อ ง ประเภทของความหลากหลาย
จากชุ ด ฝึ ก ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ชุ ด ที่ 1.1 โดย
กำา หนดและมอบหมายหน้ า ที่ ใ ห้ ส มาชิ ก แต่ ล ะคนมี ห น้ า ที่ ดั ง นี้
หมายเลข 1 อ่านวิธีการทำากิจกรรมและอธิบายบอกเพื่อนในสิ่งที่
โจทย์ถาม
หมายเลข 2 สำารวจ/วิเคราะห์หาคำาตอบ
หมายเลข 3 บันทึกผลการทำากิจกรรม/เขียนคำา
ตอบ
หมายเลข 4 สรุปและอภิปราย/ตรวจสอบคำาตอบ
เมื่อนักเรียนทำาใบกิจกรรมแต่ละข้อตามหน้าที่ของตนเสร็จแล้ว
ให้หมุนเวียนหน้าที่กันทำาใบกิจกรรมในข้อต่อไปจนกว่าจะครบ
ตามจำานวนข้อในใบกิจกรรม แล้วตรวจเฉลยจากแนวการตอบ
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 1.5 เรื่อง ความ
หลากหลายทางชีวภาพ แล้วร่วมกันอภิปรายประเด็นต่อไปนี้ 1.
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความสำาคัญของความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
3. ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ
จนมั่นใจว่าสมาชิกในกลุ่มทุกคนเข้าใจ สรุปเป็นแผนผังมโนทัศน์
ลงในใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ
5. นักเรียนแต่ละคนทำาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ความ
หลากหลายทางชีวภาพ จำานวน 10 ข้อ แล้วเปลี่ยนกันตรวจ
ระหว่างกลุ่ม แล้วนำาคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนน
กลุ่ม

7
ใบความรู้ท ี่ 1.1
ทัก ษะการสัง เกต
การสัง เกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใด

อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และ
ผิวกาย เข้าไปสัมผัสกับวัตถุ สิ่งของ หรือสถานการณ์ต่างๆ
รวมทั้งการใช้เครื่องมือเข้าช่วยประสาทสัมผัส โดยจะต้อง จับ
ลูบ กด เขย่า เคาะ ดม ฯลฯ
เพื่อให้ทราบรายละเอียดและรวบรวมข้อมูลอย่างชัดเจน จาก
สิ่งที่สังเกตให้มากที่สุด โดย
ผูสังเกตจะไม่ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวลงไป
้
การสังเกตเป็นทักษะพื้นฐานที่จำาเป็นและสำาคัญมาก
ในกระบวนค้นคว้าหาความรู้
แขนงต่างๆ โดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มักจะเริ่ม
จากการสังเกต นักวิทยาศาสตร์
จัดว่าเป็นผู้ที่มีความชำานาญและมีความละเอียดถี่ถ้วนในการ
สังเกตมากกว่าคนในอาชีพอื่นๆ
ข้อ นนะครั ากการ
ศึก ษาให้เ ข้า ใจก่อ มูล ที่ไ ด้จบ
สัง เกต

มี 3 ประเภท คือ

ความปลอดภัย จากการสัง เกต

1. ตาไม่ดูดวงอาทิตย์หรือวัตถุที่มี
ความสว่างมากเกินไป
2. หูไม่ฟังเสียงที่ดังเกินไป
3. จมูกไม่ดมกลิ่นที่ไม่รู้จักหรืออาจจะ
เป็นอันตราย
4. ลิ้น ไม่ชิมรสสิ่งที่ไม่รู้จักหรืออันตราย
1. ข้อ มูล
5. ผิวกาย ไม่สัมผัสสิ่งที่ไม่รู้จักหรืออันตราย
เชิง คุณ ภาพ เช่น สี

8

ธรรมชาติ

1.
2.
3.
4.

ขนาด รูป
ช่วยในการเก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ
เป็ดรอบคอบ
ช่วยให้เป็นคนละเอียนต้น
ช่วยให้เป็นคนที่รู้จักรวบรวมข่าวสารใหม่ๆ
ช่วยให้เป็นคนอยากรู้อยากเห็น และสนใจ

ประโยชน์ข องการสังผิว รส
ร่าง กลิ่น เกต

พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด

กัน

1. บรรยายลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ได้จากการ
ทัก ษะการสัง เกต
2.
ใช้
ข้อ มูล เชิง ปริม าณ
ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวม
เช่น การ
ความกว้าง ความยาว
ความสูง ปริมาตร จะมี
สิ่งอ้างอิง
เช่น มีขนาดประมาณ
เท่าเมล็ดถั่วเขียว ผิว
เรียบกว่าผิวกระดาษ
2. บรรยายลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งต่เป็นต้น
ทราย างๆ ในเชิง
ปริมาณได้ โดยการกะประมาณ
3. ข้อ มูล เกี่ย วกับ
3. บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้ และไม่ลง
ความคิดเห็นส่วนตัวลงไป
การเปลี่ย นแปลง
4. ชี้และระบุข้อมูลการสังเกตจากข้เช่น ที่กำาหนดให้ได้
อมูล การเปลี่ยนแปลง
5. บอกสิ่งที่ต้องคำานึงและความปลอดภัย้าเมื่อ งเกตได้
ของนำ ในการสั
6. บอกความหมายและประโยชน์ขงทักษะการสังเกตได้

(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 58 ความร้อน
ได้รับ ; สถาบั น
ส่งเสริมการสอน
เมื่อลากกระป๋อง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2532 : 7 ; สถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี. 2543 : 6-9 ;จำานง พรายแย้มแข. 2533 :
34-38 ; พวงทอง มีมั่งคั่ง.
2537 : 25 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและพิมพันธ์ เดชะ
คุปต์. 2532 : V; วิชาการ.
จะเกิดเสียงดัง
คอม. 9/9/2550 : ออนไลน์ : สรศักดิ่อปล่อยลูกกลม
์ แพร
9
หรือเมื
ดำา.2544:83)
โลหะจากที่สูง

ใบความ
รู้ท ี่ 1.2

ทัก ษะการจำา แนกประเภท

การจำา แนกประเภท หมายถึง กระบวนการที่ใช้

จำาแนกวัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ
ที่ตองการศึกษาออกเป็นหมวดหมู่ โดยจัดสิ่งที่มีสมบัติบาง
้
ประการร่วมกันให้อยู่ในกลุ่ม
เดียวกัน ในการจำาแนกประเภทเป็นพวกนั้นต้องมีเกณฑ์ใน
การจำาแนก

เกณฑ์ใ นการจำา แนก ได้แก่ ลักษณะ ความเหมือน

ความแตกต่าง
หรือความสัมพันธ์ย่างใดอย่าง

หนึ่งก็ได้ เช่น
เนื้อเดียวกันและสารเนื้อผสม
โดยใช้ลักษณะความแตกต่าง
รวม ผลกลุ่ม
อาศัยการออกลูกเป็นตัวและ

* การที่นักเคมีแบ่งสารออกเป็น
* การแบ่งประเภทของผลไม้
ของดอกแบ่งเป็นผลเดี่ยว ผล
* แบ่งประเภทของสัตว์ โดย
ออกลูกเป็นไข่ เป็นต้น

พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะการจำา แนกประเภท

1. จำาแนกประเภทหรือแบ่งพวกสิ่งต่างๆ จากเกณฑ์
ที่ผู้อื่นกำาหนดให้ได้
2. จำาแนกประเภทหรือแบ่งพวกสิ่งต่างๆ โดยใช้เกณฑ์
ของตนเองได้
3. บอกเกณฑ์ที่ผอื่นใช้จำาแนก
ู้
ประเภทหรือแบ่งพวกได้
4. บอกประโยชน์ของการจำาแนก
ประเภทได้
5. บอกความหมายของทักษะการจำาแนกประเภทได้

(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 68-80 ; สถาบันส่ง
เสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี. 2531 : 17 ; จำานง พรายแย้มแข. 2533 :
34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้า และ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : V ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 :
1
28 ; วิชาการ.คอม. 9/9/2550 :
ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 110)
0

ใบความรู้ท ี่ 1.3
จากข้อ มูล

ทัก ษะการลงความคิด เห็น

ทัก ษะการลงความคิด เห็น จากข้อ มูล หมายถึง

ความสามารถในการอธิบายผลที่ได้จากการสังเกต หรือการเพิ่ม
ความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมมาช่วย ข้อมูลจากการสังเกตชุดหนึ่งๆ มีคำา
อธิบายได้หลายอย่างแตกต่างออกไป ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได้
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความละเอียดของข้อมูล ความถูกต้อง ความรู้และ
ประสบการณ์เดิมของผู้ลงความคิดเห็น
การลงความคิดเห็นต่างจากการสังเกตที่ว่า การ
สังเกตใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ รวบรวมข้อมูล ส่วนการลงความ
คิดเห็นเป็นการอธิบายผลที่ได้จากการสังเกต และต่างจากการ
พยากรณ์ที่ว่าเป็นการไม่บอกเหตุผลในอนาคต อย่างไรก็ตามการ
ลงความคิดเห็นจะต้องเป็นไปอย่างสมเหตุสมผลที่สุด ต้องหาหลัก
ฐานมาประกอบให้มากที่สุด

ประโยชน์ข องการลงความคิด เห็น

1. ช่วยให้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มี
ประโยชน์มากขึ้น
2. ช่วยในการพิจารณาเหตุการณ์อย่างมีเหตุผล ไม่ด่วนตัดสิน
ใจและมีความรอบคอบ

พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะการลงความคิด
เห็น จากข้อ มูล คือ

1. บอกความหมายของทักษะการลงความคิดเห็นหรือลงข้อ
วินิจฉัยจากข้อมูลได้
2. บอกประโยชน์ของการลงความคิดเห็นจากข้อมูลได้
3. สังเกตและวิเคราะห์ผลการทดลอง เพื่อนำามาสนับสนุนการ
ลงความคิดเห็นได้
4. อธิบายหรือสรุป โดยเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จาก
การสังเกตโดยใช้ความรู้
หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 165 ; สถาบันส่ง
เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2531 : 15 ; จำานง
พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : VI ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 33
11
; วิชาการ.คอม.9/9/2550 :
ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 261 )

ใบความรู้ท ี่ 1.4
ทัก ษะการจัด กระทำา และสื่อ ความหมาย
ข้อ มูล

ทัก ษะการจัด กระทำา และสื่อ ความหมายข้อ มูล

หมายถึง การนำาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การทดลอง
จากแหล่งอื่นๆให้อยู่ในรูปใหม่ให้เข้าใจดีขึ้น เพื่อความชัดเจน
รัดกุม สะดวก รวดเร็ว เช่น อาจแสดงในรูปการเขียนแผนภาพ
แผนที่ ตาราง กราฟ ตลอดจนสร้างสื่ออื่นๆเพื่อประกอบการพูด
หรือการเขียน เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ต้องการ การใช้ภาษา
ควรเป็นคำาพูด หรือการเขียนด้วยข้อความที่ง่ายๆสื่อความหมาย
ชัดเจน

ประโยชน์ข องการสื่อ
ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ใช้ในการจราจร การทำาแผนที่
ใช้ในการรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นระเบียบ สะดวก
ต่อการศึกษาค้นคว้า

พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะกระบวนการจัด
กระทำา และสื่อ ความหมายข้อ มูล

1. เลือกและบอกเหตุผลในการเลือกรูปแบบในการเสนอข้อมูล
ได้
2. ออกแบบการนำาเสนอข้อมูลตามที่เลือกไว้ได้
3. เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใหม่ ที่เข้าใจได้ยิ่งขึ้น
4. บรรยายลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ด้วยข้อความที่เหมาะสม
กระชับจนสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้
5. บรรยายหรือวาดแผนผังแสดงตำา แหน่งสถานที่หรือสิ่งต่างๆ
จนสื่อความหมายให้ผู้อื่น
เข้าใจได้
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 211 ; สถาบันส่ง
เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2531 : 33 ; จำานง
พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : VI ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 31
; วิชาการ.คอม.9/9/2550 :
ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 209)
12

ใบความรู้ท ี่ 1.5
เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีว ภาพ

ในธรรมชาติ เรามักพบว่าสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่
รวมกันเป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แตกต่างกัน เช่น
กลุ่มสิ่งมีชีวิตในทะเล ประกอบด้วย กุ้ง หอย ปู ปลา สาหร่าย
และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ มากมาย จำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตซึ่งอาศัยอยู่
ในแหล่งที่อยู่อาศัยหนึ่ง ๆ เรียกว่า ความหลากหลายทาง

ชีว ภาพ

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสิ่งมีชีวิต เริ่มเกิดขึ้นบนโลกเมื่อ
ประมาณ 3,500 ล้านปี มาแล้ว โดยเกิดจากการรวมตัวของ
อนุภาคต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตเริ่มแรกจะอาศัยอยู่ในนำ้าก่อน แล้วจึง
วิวัฒนาการขึ้นมาอาศัยอยู่บนบก จำาแนกออกเป็นพืชและสัตว์ ซึ่ง
ได้มีการพัฒนาและปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่
ปัจจุบันสิ่งมีชีวิตจะมีความแตกต่างกันหลายประการ ได้แก่ รูปร่าง
ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย การดำารงชีวิต
ปริมาณของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนสภาพแวดล้อมของแหล่งที่อยู่อาศัย
ซึ่งความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ เป็นผลทำาให้เกิดความหลาก
หลายทางชีวภาพขึ้นมา

ประเภทของความหลากหลายทางชีว ภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้ 3
ประเภท คือ
1. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม
1. ความหลากหลายทางระบบนิเ วศ กลุ่มสิ่ง
มีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ แต่ละแห่งนั้นจะมีความ
สัมพันธ์กันเอง และมีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมของแหล่งที่
อยู่ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนี้ประกอบกันเป็นระบบนิเวศ
ระบบนิเวศในโลกมีอยู่มากมาย แต่ละระบบมีขนาด
แตกต่างกัน เช่น ระบบนิเวศในแอ่งนำ้าประกอบด้วยลูกนำ้า จอก
แหน เป็นต้น ส่วนในมหาสมุทรประกอบด้วยปลาหลากหลาย
ชนิด สาหร่าย ปะการัง สัตว์เซลล์เดียว เป็นต้น ระบบนิ1วศที่มี
เ
สิ่งมีชีวิตอยู่มากกว่า เรียกว่า มีความหลากหลายทางชีวภาพ
มากกว่า
3
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ ที่มีภูมิ
อากาศและภูมิประเทศแตกต่างกันก็มีลักษณะต่าง ๆ กันไป เช่น
ทะเลเทรายที่มีอากาศร้อนระอุในตอนลางวันและความหนาวเย็น
ในตอน กลางคืน พื้นทรายแห้งแล้ง ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัย
พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ เช่น ตะบองเพชร กิ้งก่า
ทะเลทราย อูฐ งู ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิประเทศ
และภูมิอากาศ จึงนับว่าในทะเลทรายไม่ค่อยมีความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
ป่าฝนเขตร้อนหรือป่าดงดิบ มีฝนตกชุก มีความชื้นสูง
และอุณหภูมิเหมาะกับการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั่วไป จึงเป็น
บริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด ประกอบด้วยสิ่ง
มีชีวิตทั้งพืชและสัตว์จำานวนมาก พืช เช่น สัก ยาง ไม้กฤษณา
มะม่วง มะพร้าว เต็ง รัง เถาวัลย์ เฟิน เป็นต้น สัตว์ เช่น
เสือ ช้าง ลิง ค่าง ชะนี หมี กวาง เป็นต้น
2. ความหลากหลายทางชนิด พัน ธุ์ สิ่งมีชีวิต
ในโลกมีลักษณะแตกต่างกันไป จำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่
ทั้งหมดในโลกไม่ตำ่ากว่า 5 ล้านชนิด อาศัยอยู่ในส่วนต่าง ๆ
ของโลกตามความเหมาะสมของสภาวะแวดล้อม มีทั้งสิ่งมีชีวิต
ขนาดเล็กจำาพวกจุลินทรีย์ ไปจนกระทั่งที่มี ขนาดใหญ่นำ้าหนัก
มาก เช่น ช้าง วาฬ เป็นต้น
ในบริเวณที่สภาพแวดล้อมเหมาะสมจะมีจำานวนชนิด
ของสิ่งมีชีวิตเข้าไปอาศัยอยู่เป็นจำานวนมาก ทำาให้เกิดความ
หลากหลายทางชีวภาพมากกว่าในบริเวณที่สภาพแวดล้อมไม่
เหมาะต่อการดำารงชีวิต เช่น ในบริเวณป่าไม้เมืองร้อนมีความ
หลากหลายทางชีวภาพมากกว่าแถบ
ขั้วโลกเหนือ เป็นต้น
3. ความหลากหลายทางพัน ธุก รรม สิ่งมี
ชีวิตชนิด (species) เดียวกันอาจมีความแตกต่างกันออกไป
เนื่องจากมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เมื่อ
เวลาผ่านไปนานนับล้านปีก็จะทำาให้เกิดความแตกต่างกันออกไป
หรือเกิดความผิดปกติขึ้นในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่
เรียกว่า การผ่าเหล่า ทำาให้เกิดลักษณะที่แตกต่างไปจากสาย
พันธุ์เดิม และลักษณะดังกล่าวสามารถถ่ายทอดต่อไปยังรุ่นลูกได้
ทำาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น สุนัขเป็นสิ่งมี
ชีวิตชนิดเดียว แต่มีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกันมากมาย เป็นต้น

สุนัขพันธุ์ต่าง ๆ

ตัว อย่า งความหลากหลายของนก

14

นกฟินซ์ (Fince) ที่พบบนเกาะกาลาปากอสใน
มหาสมุทรแปซิฟิกสมีทั้งหมด 14 ชนิด แต่ละชนิดจะมีขนาด
รูปร่าง และจะงอยปากแตกต่างกัน อันเป็นผลมาจากชนิด
ของอาหารที่พวกมันกินและสภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่
อาศัย

นกฟิน ซ์ท ี่อ าศัย อยู่บ นดิน
นกฟิน ซ์ท ี่ก ิน เมล็ด พืช

นกฟิน ซ์ท ี่เ จาะโพรงไม้

นกฟิน ซ์ท ี่อ าศัย อยู่บ นต้น ตะบองเพชร
นกฟิน ซ์ท ี่ก ิน แมลง
ดร.เยาวพา สุวัตถิ.(๒๕๕๑). “งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ”,
[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
http://www.gpo.or.th/rdi/html/waste.html /สืบค้น ๑๓
ธันวาคม 2551.

คุณ ค่า ของความหลากหลายทางชีว ภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพมีคุณค่าต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์
อย่างมากมาย ดังนี้
1. เป็น แหล่ง ปัจ จัย สี่ ป่าไม้นับเป็นแหล่งอาหาร
ของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยดึกดำาบรรพ์ มนุษย์อาศัยอาหารที่หาได้
จากในป่า เช่น สัตว์ป่า ผลไม้ ต้นไม้ เป็นต้น มนุษย์สร้างที่อยู่
อาศัยจากต้นไม้ในป่า หรืออาศัยในถำ้าบนภูเขา นอกจากนี้มนุษย์
ยังหายารักษาโรคได้จากสมุนไพรในป่าเก็บฟืนมาทำาเชื้อเพลิงเพื่อ
หุงหาอาหารและให้ความอบอุ่น
เมื่อจำานวนประชากรเพิ่มขึ้นและมีเทคโนโลยีสูงขึ้น
ทำาให้ความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้ถูกทำาลายลง มนุษย์
ต้องการที่อยู่มากขึ้น มีการตัดไม้ทำาลายป่าเพิ่มขึ้น มนุษย์
ต้องการอาหารมากขึ้น ต้องมีการถางป่าเพื่อทำาสวนทำาไร่และ
เลี้ยงสัตว์มากขึ้น เพื่อให้มีผลผลิตเพียงพอกับความต้องการของ
15

มนุษย์ ทำำให้กำรเกษตรและกำรเลี้ยงสัตว์เพียงหนึ่ง หรือสอง
ชนิดได้เข้ำไปแทนที่ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของป่ำไม้

2. เป็น แหล่ง ควำมรู้ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ

ประกอบด้วย ควำมรู้มำกมำย ทำำให้มนุษย์ได้ศึกษำควำม
สัมพันธ์และวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตต่ำง ๆ ซึ่งรวบรวมออกมำใน
รูปของศำสตร์ต่ำง ๆ ได้แก่
พฤกษศำสตร์เรียนรู้เกี่ยวกับ
พืช
วนศำสตร์ เรียนรู้เกี่ยวกับ
ป่ำ
สัตว์วิทยำ เรียนรู้เกี่ยวกับ
สัตว์
จุลชีววิทยำ เรียนรู้เกี่ยวกับ
จุลินทรีย์
นับว่ำธรรมชำติเป็นครูให้กับมนุษย์ได้หลำยวิชำ ถ้ำ
หำกธรรมชำติถูกทำำลำยไป ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพก็ถูก
ทำำลำยไป จะทำำให้มนุษย์ขำดแหล่งกำรเรียนรู้ที่สำำคัญไปด้วย

3. เป็น แหล่ง ที่ม ีค ุณ ค่ำ ทำงสุน ทรีย ภำพ
และควำมงำม ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ก่อให้เกิด

ทัศนียภำพที่งดงำมแตกต่ำงกันไปตำมสภำวะของภูมิอำกำศ ใน
บริเวณที่ภูมิอำกำศเหมำะสมแก่กำรอยู่อำศัยก็จะมีป่ำไม้
นำนำพรรณ มีดอกไม้บำนสะพรั่งส่งกลิ่นหอม มีสัตว์ป่ำ แมลง
ผีเสื้อหลำกสี มีเสียงนกร้อง มีลมพัดเย็น สภำวะเหล่ำนี้มีคุณค่ำ
ทำงจิตใจอย่ำงมหำศำล ถึงแม้ว่ำในส่วนที่สภำวะอำกำศไม่เหมำะ
สมแก่กำรอยู่อำศัยของสิ่งมีชีวิต เช่น ในทะเลทรำย ก็ยังคงมี
ทัศนียภำพที่งดงำมและยังคงมีควำมน่ำศึกษำ น่ำค้นหำควำม
ลึกลับของธรรมชำติ
กำรทำำลำยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
นับ
เป็นกำรทำำลำยระบบของควำมสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในโลก แม้ว่ำ
ธรรมชำติจะเป็นผู้ทำำลำยตัวเองอยู่แล้วจำกภัยธรรมชำติต่ำงๆ
เช่น ภูเขำไฟระเบิด แผ่นดินไหว ก็ยังไม่ถือว่ำเป็นกำรทำำลำย
ธรรมชำติร้ำยแรงเท่ำกับกำรกระทำำของมนุษย์ที่ไม่ตระหนักถึง
ควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ไม่ได้คำำนึงถึง
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพำะในประเทศที่
กำำลังพัฒนำ
16
ใบกิจ กรรมที่ 1.1
เรื่อ ง กำรสำำ รวจควำมหลำกหลำยทำง
ชีว ภำพ
คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ
อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพ

วิธ ก ำรสำำ รวจ
ี

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มสำำรวจแหล่งที่อยู่และบันทึกชื่อแหล่งที่
อยู่ ชื่อ จำำนวนของพืชและสัตว์ภำยในโรงเรียน ตำม
บริเวณสวนหย่อม หรือออกสำำรวจนอกบริเวณ เช่น ใน
ท้องถิ่นของนักเรียน
2. บันทึกลักษณะแหล่งที่อยู่อำศัย ชื่อและจำำนวนของสิ่งมี
ชีวิตที่ได้จำกกำรสำำรวจลงในใบกิจกรรมที่ 1.1 ในกรณีที่
ไม่ทรำบชื่อสิ่งมีชีวิต ให้นักเรียนบอกชื่อสิ่งมีชีวิตเป็นชนิด
ที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ฯลฯ
3. นำำข้อมูลที่ได้ในแต่ละกลุ่มมำสรุปและอภิปรำยร่วมกันใน
ชั้นเรียน

ตำรำงบัน ทึก ผลกำรสำำ รวจ
แหล่ง ที่
พืช
สัต ว์
อยู่
ชือ พืช จำำ นวน ชือ สัต ว์ จำำ นวน
่
่
อำศัย
17

คำำ ถำมประกอบกิจ กรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. แหล่งที่อยู่ที่มีสภำพแวดล้อมที่เหมำะสมสังเกตได้จำกสิ่งใด ?
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
2. ผลสรุปจำกกำรสำำรวจนี้คืออะไร ?
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
3. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ คือ ?
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
4. สิ่งมีชีวิตจะมีควำมแตกต่ำงกันหลำยประกำร ได้แก่
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………

18
ใบกิจ กรรมที่ 1.2
เรื่อ ง ประเภทของควำมหลำกหลำย
คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ
จำำแนกประเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำำข้อมูลที่ได้จำกกำรสำำรวจในกิจกรรมที่
1.1 เรื่อง กำรสำำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ มำจัด
ประเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพตำมตำรำงที่ครูกำำหนด
ให้โดยทำำเครื่องหมำย / ในประเภทของควำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพ นั้น

ชือ ควำม
่
หลำกหลำย

ลัก ษณะ

ควำม
หลำก
หลำย
ทำง
พัน ธุก

ควำม
หลำก
หลำย
ทำง
ชนิด

ควำม
หลำก
หลำย
ทำง
ระบบ
ตัว อย่ำ ง
1. กุหลำบ
2. สุนัข
3. ทุ่งหญ้ำ

รรม
ใบสีเขียวดอกสี
แดง
มี 4 ขำ

พัน ธุ์

นิเ วศ

/
/
/

19

คำำ ถำมประกอบกิจ กรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ประกอบด้วยองค์ปะกอบสำำคัญ
3 ประเภท คือ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
2. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม คือ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
3. ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ จำำแนกตำมลักษณะที่อยู่
อำศัยของสิ่งมีชีวิต ได้แก่
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
……………………………………
4. ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ แตกต่ำงจำกควำมหลำกหลำย
ทำงพันธุกรรมอย่ำงไร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
……………………………………
5. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรมของพืชและสัตว์ มีประโยชน์
ต่อมนุษย์อย่ำงไร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………

20
ใบกิจ กรรมที่ 1.3
เรื่อ ง ควำมหลำกหลำยทำงชีว ภำพ
คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่ออธิบำย
ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
นักเรียนสืบค้นข้อมูลและร่วมกันอภิปรำยประเด็นต่อไปนี้
1. ควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
2. ควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
3. ปะเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
สรุปเป็น
แผนผังมโนทัศน์

21
แบบทดสอบหลัง เรีย น
เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
รำยวิชำวิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ 33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3
คำำ ชี้แ จง ให้น ัก เรีย นเลือ กคำำ ตอบที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งคำำ ตอบ
เดีย ว แล้ว ทำำ เครื่อ งหมำยกำกบำท (X)
ลงในช่อ ง ก ข ค หรือ ง บนกระดำษคำำ ตอบ
1 ข้อใดคือควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
1. เกิดจำกกำรรวมตัวของจุลภำคต่ำง ๆ
2. กำรดำำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่อำศัยเดียวกันหรือแตกต่ำง
กัน
3. จำำแนกตำมรูปร่ำง ขนำด โครงสร้ำงที่เป็นส่วน
ประกอบของร่ำงกำย
4. มีควำมแตกต่ำงกันทำงสำยพันธุกรรม
2 ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถึงควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำย
ทำงชีวภำพได้ถูกต้อง
1. เป็นวัสดุสิ้นเปลือง
2. วัสดุธรรมชำติมีคุณค่ำต่อทำงเศรษฐกิจและสังคม
3. พืชเกษตรหลำยชนิดกำำเนิดมำจำกป่ำเท่ำนั้น
4. พืชเท่ำนั้นที่สำมำรถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชำวต่ำง
ประเทศเดินทำงมำเยี่ยมชมประเทศไทย
3 ปัจจัยที่ส่งผลให้ธรรมชำติขำดดุลข้อใดผิด
1. กำรย้ำยถิ่นฐำนของสัตว์เข้ำสู่ป่ำเป็นจำำนวนมำก
2. กำรจับสัตว์มำกเกินไป
3. กำรเก็บเกี่ยวผลผลิตจำกป่ำมำกเกินไป
4. มลพิษต่ำง ๆ จำกอุตสำหกรรม
4 ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตพืช
1. พืชนิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม เคลื่อนที่ได้
2. เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลล์
เดียว
3. อำณำจักพืชประกอบด้วยไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก
และเฟิร์น
4. พบได้บนบก
5 สิ่งมีชีวิตสัตว์ หมำยถึงข้อใด
22
1. สิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม
2. มีคลอโรฟิลล์ และสร้ำงอำหำรเอง
3. ประกอบด้วย หลำยเซลล์มีกำรแบ่งหน้ำที่ของแต่ละ
เซลล์เพื่อทำำหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแบบถำวร
4. ไม่ได้ ดำำรงชีวิตได้หลำยลักษณะทั้งบนบกในนำ้ำ และ
บำงชนิดเป็นจุลสิต
6 ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
1. รำเป็นสิ่งชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสหรือมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
เรียกว่ำ ยูแคริโตส
2. มีคลอโรฟิลล์ สังเครำะห์อำหำรเองไม่ได้
3. มีโมเลกุลใหญ่และดูดเข้ำเซลล์
4. รำเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเห็ด รำ และยีสต์
7 ข้อใดกล่ำวถึงสิ่งมีชีวิตแบคทีเรียได้ถูกต้อง
1.
แบคทีเรียแบ่งได้หลำยรูปแบบแบ่งตำมรูปร่ำง
แบ่งได้หลำยแบบทั้งกลม
(cocci), แบบท่อน (bacilli, rod), แบบ
เกลียว (spiral)
ข. มีขนำดเล็ก มองเห็นด้วยตำเปล่ำ
ค. มีโครงสร้ำงเซลล์ที่ซับซ้อนมำก
ง. แบคทีเรีย หรือ บัคเตเรีย
8 ข้อใดกล่ำวถึงแมลงได้ถูกต้อง
1. เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
2. แมลงมี 6 ขำ
3. ร่ำงกำยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหัว ส่วนหำง
4. มีเฉพำะปีกเท่ำนั้น
9 ข้อใดกล่ำวถึงสิ่งมีชีวิตโพรทิสต์ได้ถูกต้อง
1. เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม
2. เป็นสิ่งมีชีวิตทีอยู่ในอำณำจักร สัตว์ พืช เห็ดรำ
่
3. มำจำกภำษำกรีก หมำยควำมว่ำ"สิ่งแรกสุด"
4. อยู่ในอำณำจักรโพรซิสตำ (Kingdom Protista)
10 ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
1. วันที่ 19 มกรำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพ
2. วันที่ 19 มีนำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำมหลำก
หลำยทำงชีวภำพ
3. วันที่ 19 ธันวำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพ
4. วันที่ 19 กรกฎำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่ง23
ควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพ
เฉลยใบกิจ กรรมที่ 1.1
เรื่อ ง กำรสำำ รวจควำมหลำกหลำยทำง
ชีว ภำพ
คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ
อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพ

วิธ ก ำรสำำ รวจ
ี

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มสำำรวจแหล่งที่อยู่และบันทึกชื่อแหล่งที่
อยู่ ชื่อ จำำนวน ของพืชและสัตว์ ภำยในโรงเรียน ตำมบริเวณ
สวนหย่อม หรือออกสำำรวจนอกบริเวณ เช่น ในท้องถิ่นของ
นักเรียน
2. บันทึกลักษณะแหล่งที่อยู่อำศัย ชื่อและจำำนวนของสิ่งมี
ชีวิตที่ได้จำกกำรสำำรวจลงในใบกิจกรรมที่ 1.1 ในกรณีที่ไม่
ทรำบชื่อสิ่งมีชีวิต ให้นักเรียนบอกชื่อสิ่งมีชีวิตเป็นชนิดที่ 1 ชนิด
ที่ 2 ชนิดที่ 3 ฯลฯ
3. นำำข้อมูลที่ได้ในแต่ละกลุ่มมำสรุปและอภิปรำยร่วมกันใน
ชั้นเรียน

ตำรำงบัน ทึก ผลกำรสำำ รวจ
แหล่ง ที่
พืช
สัต ว์
อยู่
ชือ พืช จำำ นวน ชือ สัต ว์ จำำ นวน
่
่
อำศัย

สวน

ต้นหญ้ำ

มำก

มด

มำก

ต้นกำฝำก

1 ต้น

นก

1 ตัว

ข้ำว

มำก

ควำย

3 ตัว

-

-

วัว

5 ตัว

หย่อม
บนต้นไม้
ทุ่งนำ
ในคอก
ในเล้า

-

-

ไก่

7 ตัว

ในสวน

ต้นกล้วย

1 กอ

ไส้เดือน

มาก

สนาม

ต้นหญ้า

มาก

มด

มาก

หน้าบ้าน

ต้นมะม่วง

1 ต้น

มดแดง

มาก

หลังบ้าน

ต้นมะขาม

1 ต้น

-

-

ในสวน

ต้นมะยม

1 ต้น

-

24

ฟุตบอล

คำา ถามประกอบกิจ กรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
สมบูรณ์

1. แหล่งที่อยู่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสังเกตได้จากสิ่งใด ?

……….ชนิดและจำานวนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่จะมีมากกว่า
บริเวณอื่น…………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………2. ผลสรุปจากการสำารวจนี้คืออะไร ?

………แหล่งที่อยูอาศัยแต่ละแห่งจะมีชนิดและจำานวนสิ่งมี
่
ชีวิตแตกต่างกัน แหลงที่อยู่อาศัยทีมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะ
่
สมจะมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอยู่ร่วมันเป็นจำานวนมาก
บริเวณนั้นจึงเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของระบบ
นิเวศมาก และบริเวณที่มีความหลากหลายของระบบนิเวศ
มาก็จะเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก
ด้วย………………………………………………………………
……………….……………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
3. ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ?

สิ่งมีชีวิตนานาชนิด เช่น พืชและสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่างๆ
ที่มีความแตกต่างกันตามหน่วยของพันธุกรรมและสภาพ
ถิ่นที่อยู่
อาศัย……………………………………………………
….
…………………………………………………………………
……………………………………
4. สิ่งมีชีวิตจะมีความแตกต่างกันหลายประการ ได้แก่

รูปร่าง ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย
การดำารงชีวิต ปริมาณของสิ่งมีชีวิต และสภาพแวดล้อม
ของแหล่งที่อยู่
อาศัย………………………………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
25
เฉลยใบกิจ กรรมที่ 1.2
เรื่อ ง ประเภทของความหลากหลาย
คำา ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ
จำาแนกประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ
ให้นักเรียนสำารวจประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ
ตามตารางที่ครูกำาหนดให้และทำาเครื่องหมาย / ในประเภท
ของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสืบค้นจากห้องสมุดหรือ
อินเตอร์เน็ต

ชือ ความ
่
หลากหลาย

ลัก ษณะ

ความ
หลาก
หลาย
ทาง
พัน ธุก
รรม

ตัว อย่า ง
1. กุหลาบ

ใบสีเขียวดอก

2. สุนัข

สีแดง

3. ทุ่งหญ้า

มี 4 ขา

ความ
หลาก
หลาย
ทาง
ชนิด
พัน ธุ์

ความ
หลาก
หลาย
ทาง
ระบบ
นิเ วศ

/
/
/
26

คำา ถามประกอบกิจ กรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วยองค์ปะกอบ
สำาคัญ 3 ประเภท คือ

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ความหลากหลายทาง
พันธุกรรม ความหลากหลายของระบบ
นิเวศ………………………………………………………
………………………………………….
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
2. ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ

ความหลากหลายของยีนและแอลลีลในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
กล่าวคือสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีลักษณะร่วมและลักษณะ
ที่แตกต่างกันอ่างหลากหลายในสายพันธุ์ เช่น ข้าวมีสาย
พันธุ์นับพัน
ชนิด………………………………………………………
…………………………
…………………………………………………………………
……………………………………
3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ จำาแนกตามลักษณะที่อยู่
อาศัยของสิ่งมีชีวิต ได้แก่

ป่าดิบชื้น ทุ่งหญ้า พื้นที่ชุ่มนำ้า แนวปะการัง ป่าชาย
เลน………………………………….
…………………………………………………………………
……………………………………
4. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ แตกต่างจากความหลาก
หลายทางพันธุกรรมอย่างไร

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ เป็นความหลากหลายของ
ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่ง ๆ ส่วนความหลาก
หลายทางพันธุกรรม เป็นความหลากหลายของยีนและ
แอลลีลในสิ่งมีชีวิตแต่ละ
ชนิด………………………………………………………
…………………….
…………………………………………………………………
……………………………………
5. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชและสัตว์ มีประโยชน์
ต่อมนุษย์อย่างไร

1. การนำาพืชสมุนไพรจากธรรมชาติมาสกัดตัวยาเพื่อใช้
รักษาโรค
2. การนำาพืชและสัตว์ป่ามาปรับปรุงพันธุ์เพื่อใช้ประโยชน์
ในด้านอาหารและการเกษตร
3. ใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ
4. ใช้เป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรมในการผลิตสินค้า
ต่าง ๆ
27
เฉลยแบบทดสอบก่อ น – หลัง เรีย น
เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น
เรื่อ ง ความลากหลายทางชีว ภาพ
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 33101 ชั้น

ค

1. ค
4. ค
7. ค
10. ง

มัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ง
5. ค
8. ง

3. ก
9. ค

เฉลยแบบทดสอบหลัง เรีย น
เรื่อ ง ความลากหลายทางชีว ภาพ
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. ค
2. ก
3. ค
4. ค
5. ก
6. ค
7. ค
8. ง
9. ง
10. ค

6.
2
8
บรรณานุก รม
แก้วอุดร เชื้อหาญ. (2545). การพัฒ นาแบบฝึก เสริม ทัก ษะ
กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ข ั้น
พื้น ฐานกลุ่ม สร้า งเสริม ประสบการณ์ช ีว ิต ชั้น ประถม
ศึก ษาปีท ี่ 6. รายงานการศึกษา
ค้นคว้าอิสระ กศ.ม. .มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ.สื่อ การเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้พ ื้น
ฐาน กลุ่ม สาระการเรีย นรู้
วิท ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. 2548.
ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. (2548). สื่อ สาระการเรีย นรู้ สาระ
การเรีย นรู้พ ื้น ฐาน กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
สัม ฤทธิ์ม าตรฐาน วิท ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 ช่ว งชั้น ที่
3 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ดร.เยาวพา สุวัตถิ.(๒๕๕๑). “งานวิจ ัย เทคโนโลยีช ีว ภาพ ”,
[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
http://www.gpo.or.th/rdi/html/waste.html /
สืบค้น ๑๓ ธันวาคม 2551.
นวลจันทร์ เวชกามา. (2547). การพัฒ นาการคิด ของครู
ด้ว ยกิจ กรรม ทัก ษะกระบวนการทาง
วิท ยาศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
ประสานมิตร.
วิสุทธิ์ ใบไม้.สถานภาพความหลากหลายทางชีว ภาพใน
ประเทศไทย , 2538. หน้า 17 – 20
วรนุช อุษณกร. ประวัต ิว ัน สำา คัญ ที่ค วรรู้จ ัก . พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
2543.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. พืช
และสัต ว์ท ี่ใ กล้จ ะสูญ พัน ธุ์ใ น
ประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : คุรุสภา
ลาดพร้าว. 2540.
สมศักดิ์ สุขวงศ์.หนัง สือ ความรู้เ รื่อ งสิ่ง
แวดล้อ ม.กรุงเทพฯ:กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม.
2550 .

รองศาสตราจารย์ ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. แบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ว 306 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งแรก.กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์
วัฒนาพานิช, 2537.
กนก จันทร์ขจร และคณะ. คู่สร้างแบบเรียนวิทยาศาสตร์(ฉบับ
พัฒนา). พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จำากัด, 2533.
รศ.ยงสุข รัศมิมาศ และคณะ. พัฒนาและเสริมทักษะการเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์ ว 306.
กรุงเทพฯ : พรีเมียร์กราฟฟิคส์, 2543.
ดร.บัญชา แสนทวี. วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม
6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ
: สำานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2548.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนาภรณ์ อิทธิไพสิฐพันธ์, สุภาภรณ์
หรินทรนิตย์. ไฟฟ้า.
กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล นิยมวิทยา,
2548.
ดร.ยุพา วรยศ, ถนัด ศรีบุญเรือง, โจ บอยด์ วอลเตอร์, ไวท์
ลอว์.วิทยาศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท
ไทยร่มเกล้า จำากัด, 2547.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือ
เรียน ว 305 วิทยาศาสตร์ เล่ม 5.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว, 2540.
แบบฝึกชุดที่ 1

More Related Content

What's hot

กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
ฐิติรัตน์ สุขสวัสดิ์
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
Chainarong Maharak
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 

What's hot (20)

กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 

Viewers also liked

16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
Pl'nice Destiny
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 

Viewers also liked (8)

16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 

Similar to แบบฝึกชุดที่ 1

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
tanasak sornprom
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
gchom
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
kkrunuch
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
tup tup
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
kruoyl ppk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
KuljiraPinthong
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 

Similar to แบบฝึกชุดที่ 1 (20)

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 

แบบฝึกชุดที่ 1

  • 1. ชุด ฝึก ทัก ษะกระบวนการ ทางวิท ยาศาสตร์ หน่ว ยที่ 2 เรือ ง ความหลาก ่ หลายทางชีว ภาพ ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 3 ้ ชุด ฝึก ทัก ษะชุด ที่ 1 ความหลาก หลายทางชีว ภาพ โดย นางศรีว ัฒ นา นวลศิร ิ
  • 2. กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ โรงเรีย นสุร ิน ทร์ร าชมงคล จัง หวัด สุร ิน ทร์ สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา ก มัธ ยมศึก ษา เขต 33 คำา นำา ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เล่มนี้จัดทำา ขึ้นเพื่อใช้ประกอบ กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเน้นทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ด้านการสังเกต การจำาแนกประเภท การลงความ เห็นจากข้อมูล การจัดกระทำาและสื่อสารข้อมูล โดยนักเรียน ศึกษาเป็นกลุ่ม หรือศึกษาด้วยตนเองเป็นรายบุคคล เพื่อมุ่งเน้น ให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ มี ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการกลุ่ม การ ทำางานเป็นทีม มีความร่วมมือร่วมใจในการแสดง ความคิดเห็น การแสดงบทบาทหน้าที่ที่กลุ่มกำาหนด การช่วย เหลือในด้านความรู้และการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับ ความคิดเห็นของกลุ่ม มีความรับผิดชอบ และการตรงต่อเวลา ซึ่ง ประกอบด้วยชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จำานวน 10 ชุด แต่ละชุดมีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. ชื่อชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • 3. 2. คำาชี้แจงในการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 3. แนวคิด/สาระสำาคัญ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม 6. ใบความรู้/ใบกิจกรรม 7. แบบประเมิน/แบบทดสอบ ผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดฝึกทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนได้เป็นอย่างดี นางศรีวัฒนา นวลศิริ ครูชำานาญการ ข สารบัญ เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีว ภาพ หน้า คำานำา สารบัญ คำาชี้แจงของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 แนวคิด/สาระสำาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ใบความรู้ที่ 1 ก ข 3 3 4 6 7
  • 4. ใบกิจกรรมที่ 1.1 12 ใบกิจกรรมที่ 5.2 13 แบบทดสอบหลังเรียน 16 เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1 18 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน 21 บรรณานุกรม 22 1 คำา ชี้แ จงของชุด ฝึก ทัก ษะ กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ คำา ชี้แ จง/บทบาทสำา หรับ ครู 1. กำาหนดขนาดของกลุ่มโดยแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถ เก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน (จัดกลุ่มนักเรียนล่วงหน้าโดยใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2551) และกำาหนดให้
  • 5. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มมีหมายเลขประจำาตัวดังนี้ คนที่ 1 หมายเลข 1 คนที่ 2 หมายเลข 2 คนที่ 3 หมายเลข 3 และคนที่ 4 หมายเลข 4 เพื่อมอบ หมายหน้าที่ตาม หมายเลข โดยแจ้งให้นักเรียนทราบว่าผลงานของนักเรียนคือผล งานของกลุ่ม 2. ดูแลการจัดลักษณะการนั่งของสมาชิกกลุ่มให้สะดวกที่จะ ทำางานร่วมกันและง่ายต่อการสังเกตและติดตามความก้าวหน้าของ กลุ่ม 3. จัดเตรียมชุดฝึกเพื่อมอบหมายให้กลุ่มทำากิจกรรม 4. ชี้แจงกฎกติกาปกติในการทำางานให้ผู้เรียนรับทราบ เกี่ยวกับ การทำางานร่วมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม มีความร่วมมือร่วมใจใน การแสดง ความคิดเห็น การแสดงบทบาทหน้าที่ที่กลุ่มกำาหนด การช่วย เหลือ ในด้านความรู้และการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับความคิด เห็น ของกลุ่ม มีความรับผิดชอบ และรักษาเวลา 5. เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุ่มในกรณีที่กลุ่มมีปัญหาและ คอยติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม 6. ยกย่องเมื่อนักเรียนทำางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้รางวัล คำาชมเชยในลักษณะกลุ่ม 7. วัดผลและประเมินผลการปฏิบัติการของนักเรียนแต่ละ กลุ่ม คำา ชี้แ จง บทบาทสำา หรับ นัก เรียน 2
  • 6. 1. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นี้ช่วย ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ กระบวนการกลุ่ม ช่วยกันทำางานแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน โดยในแต่ละกลุ่มต้องประกอบด้วยผู้เรียนที่มี ความรู้ ความสามารถแตกต่างกันเพื่อที่จะให้เด็กเก่งช่วยเหลือ เด็กอ่อน ความสำาเร็จของบุคคลคือความสำาเร็จของกลุ่ม ซึ่ง เป็นการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ และเป็นประโยชน์ถ้า นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำาหนดไว้ในชุดฝึกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นี้กำาหนดให้ นักเรียนมีบทบาทดังนี้ 2.1 นักเรียนที่เรียนเก่งคอยให้ความช่วยเหลือ นักเรียนที่เรียนอ่อน 2.2 มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบ หมาย 2.3 รู้จักการทำางานเป็นทีม และฝึกทักษะการอยู่ร่วม กัน 3. ศึกษาและทำาความเข้าใจชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ แล้วฝึกปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 3.1 ศึกษาขอบข่ายของเนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.2 ทำาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้พื้น ฐาน จำานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 3.3 ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมของชุดฝึกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3.4 ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่กำาหนดให้อย่าง เคร่งครัดและมีความซื่อสัตย์ ต่อตนเอง 3.5 การปฏิบัติกิจกรรมและใบกิจกรรมระหว่างเรียนให้ ทำาในใบกิจกรรม 3. 6 หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยประการใดให้สอบถามครู ผู้สอนหรือผู้ควบคุมชั้นเรียนได้ตลอดเวลา 3.7 เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักเรียนทำา แบบทดสอบหลังเรียน
  • 7. จำานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 3 ชุด ฝึก ทัก ษะกระบวนการทาง วิท ยาศาสตร์ สาระสำา คัญ ชุด ฝึก ที่ 1 เรือ ง ความหลากหลายทาง ่ ชีว ภาพ ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางชนิด พันธุ์ และความหลากหลายทางพันธุกรรม เป็นผลทำาให้สิ่งมีชีวิต อยู่ได้อย่างสมดุล ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง สำารวจ สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความสำาคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น ซึ่งมีผลต่อการดำารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตและมนุษย์ จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ ด้า นความรู้ (K) 1. อธิบายความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้ 2. บอกความสำาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพได้ ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ /กระบวนคิด (P) จำาแนกปะเภทของความหลากหลายทางชีวภาพได้ คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์ (A) 1. ความร่วมมือในการปฏิบัติงานกลุ่ม
  • 8. 4 2. ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 3. ความกระตือรือร้นมีความตั้งใจในการทำางาน 4. ความซื่อสัตย์ แบบทดสอบก่อ นเรีย น เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีภ าพ รายวิช าวิท ยาศาสตร์ รหัส วิช า 33101 ชั้น มัธ ยมศึก ษา ปีท ี่ 3 คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงคำาตอบเดียว 1. ข้อใดคือความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การดำารงชีวิตในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรือแตกต่าง กัน 2. จำาแนกตามรูปร่าง ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วน ประกอบของร่างกาย 3. มีความแตกต่างกันทางสายพันธุกรรม 4. เกิดจากการรวมตัวของจุลภาคต่าง ๆ 2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงความสำาคัญของความหลากหลาย ทางชีวภาพได้ถูกต้อง 1. วัสดุธรรมชาติมีคุณค่าต่อทางเศรษฐกิจและสังคม 2. เป็นวัสดุสิ้นเปลือง 3. พืชเกษตรหลายชนิดกำาเนิดมาจากป่าเท่านั้น 4. พืชเท่านั้นที่สามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชาวต่าง ประเทศเดินทางมาเยี่ยมชมประเทศไทย 3. ปัจจัยที่ส่งผลให้ธรรมชาติขาดดุลข้อใดผิด 1. การจับสัตว์มากเกินไป 2. การเก็บเกี่ยวผลผลิตจากป่ามากเกินไป 3. มลพิษต่าง ๆ จากอุตสาหกรรม 4. การย้ายถิ่นฐานของสัตว์เข้าสู่ป่าเป็นจำานวนมาก 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตพืช 1. อาณาจักพืชประกอบด้วยไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น 2. พืชนิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม เคลื่อนที่ได้ 3. เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลล์ เดียว 4. พบได้บนบก
  • 9. 5. สิ่งมีชีวิตสัตว์ หมายถึงข้อใด 1. สิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม 2. ประกอบด้วย หลายเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละ 5 เซลล์เพื่อทำาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร 3. มีคลอโรฟิลล์ และสร้างอาหารเอง 4. ไม่ได้ ดำารงชีวิตได้หลายลักษณะทั้งบนบกในนำ้า และ บางชนิดเป็นจุลสิต 6. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. ราเป็นสิ่งชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสหรือมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เรียกว่า ยูแคริโตส 2. มีคลอโรฟิลล์ สังเคราะห์อาหารเองไม่ได้ 3. ราเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเห็ด รา และยีสต์ 4. มีโมเลกุลใหญ่และดูดเข้าเซลล์ 7. ข้อใดกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตแบคทีเรียได้ถูกต้อง 1. แบคทีเรีย หรือ บัคเตเรีย ข. มีขนาดเล็ก มองเห็นด้วยตาเปล่า 1. มีโครงสร้างเซลล์ที่ซับซ้อนมาก 2. แบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแบบแบ่งตามรูปร่าง แบ่งได้ หลายแบบทั้งกลม (cocci), แบบท่อน (bacilli, rod), แบบเกลียว (spiral) 8. ข้อใดกล่าวถึงแมลงได้ถูกต้อง 1. แมลงมี 6 ขา 2. เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง 3. ร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหัว ส่วนหาง 4. มีเฉพาะปีกเท่านั้น 9. ข้อใดกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตโพรทิสต์ได้ถูกต้อง 1. มาจากภาษากรีก หมายความว่า"สิ่งแรกสุด" 2. เป็นสิ่งมีชีวิตทีอยู่ในอาณาจักร สัตว์ พืช เห็ดรา ่ 3. เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม 4. อยู่ในอาณาจักรโพรซิสตา (Kingdom Protista) 10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. วันที่ 19 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ หลากหลายทางชีวภาพ 2. วันที่ 19 มกราคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ หลากหลายทางชีวภาพ
  • 10. 3. วันที่ 19 มีนาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความหลาก หลายทางชีวภาพ 4. วันที่ 19 กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันสากลแห่งความ หลากหลายทางชีวภาพ 6 ขั้น ตอนการปฏิบ ัต ิ เลือกประธานและ และจัดการในการ 1. กิจ กรรมยนแต่ละกลุ่ม ให้นักเรี เลขานุการของกลุ่ม เพื่อทำาหน้าที่ประสาน ดำาเนินงานของกลุ่มต่อไปจนจบกิจกรรม 2. นักเรียนแต่ละคนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจ สอบความรู้พื้นฐาน จำานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 5 นาที 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 ทักษะ การสังเกต , ใบความรู้ที่ 1.2 ทักษะการจำาแนกประเภท ,ใบความ รู้ที่ 1.3 ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล และใบความรู้ที่ 1.4 ทั ก ษะการจั ด กระทำา และสื่ อ ความหมายข้ อ มู ล และร่ ว มกั น ทำา กิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง สำารวจความหลากหลายทาง ชี ว ภาพ ใบกิ กรรมที่ 1.2 เรื่ อ ง ประเภทของความหลากหลาย จากชุ ด ฝึ ก ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ชุ ด ที่ 1.1 โดย กำา หนดและมอบหมายหน้ า ที่ ใ ห้ ส มาชิ ก แต่ ล ะคนมี ห น้ า ที่ ดั ง นี้ หมายเลข 1 อ่านวิธีการทำากิจกรรมและอธิบายบอกเพื่อนในสิ่งที่ โจทย์ถาม หมายเลข 2 สำารวจ/วิเคราะห์หาคำาตอบ หมายเลข 3 บันทึกผลการทำากิจกรรม/เขียนคำา ตอบ หมายเลข 4 สรุปและอภิปราย/ตรวจสอบคำาตอบ เมื่อนักเรียนทำาใบกิจกรรมแต่ละข้อตามหน้าที่ของตนเสร็จแล้ว ให้หมุนเวียนหน้าที่กันทำาใบกิจกรรมในข้อต่อไปจนกว่าจะครบ ตามจำานวนข้อในใบกิจกรรม แล้วตรวจเฉลยจากแนวการตอบ
  • 11. 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ 1.5 เรื่อง ความ หลากหลายทางชีวภาพ แล้วร่วมกันอภิปรายประเด็นต่อไปนี้ 1. ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ความสำาคัญของความหลากหลายทาง ชีวภาพ 3. ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ จนมั่นใจว่าสมาชิกในกลุ่มทุกคนเข้าใจ สรุปเป็นแผนผังมโนทัศน์ ลงในใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. นักเรียนแต่ละคนทำาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ความ หลากหลายทางชีวภาพ จำานวน 10 ข้อ แล้วเปลี่ยนกันตรวจ ระหว่างกลุ่ม แล้วนำาคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนน กลุ่ม 7 ใบความรู้ท ี่ 1.1 ทัก ษะการสัง เกต การสัง เกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และ ผิวกาย เข้าไปสัมผัสกับวัตถุ สิ่งของ หรือสถานการณ์ต่างๆ รวมทั้งการใช้เครื่องมือเข้าช่วยประสาทสัมผัส โดยจะต้อง จับ ลูบ กด เขย่า เคาะ ดม ฯลฯ เพื่อให้ทราบรายละเอียดและรวบรวมข้อมูลอย่างชัดเจน จาก สิ่งที่สังเกตให้มากที่สุด โดย ผูสังเกตจะไม่ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวลงไป ้ การสังเกตเป็นทักษะพื้นฐานที่จำาเป็นและสำาคัญมาก ในกระบวนค้นคว้าหาความรู้ แขนงต่างๆ โดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มักจะเริ่ม จากการสังเกต นักวิทยาศาสตร์ จัดว่าเป็นผู้ที่มีความชำานาญและมีความละเอียดถี่ถ้วนในการ สังเกตมากกว่าคนในอาชีพอื่นๆ
  • 12. ข้อ นนะครั ากการ ศึก ษาให้เ ข้า ใจก่อ มูล ที่ไ ด้จบ สัง เกต มี 3 ประเภท คือ ความปลอดภัย จากการสัง เกต 1. ตาไม่ดูดวงอาทิตย์หรือวัตถุที่มี ความสว่างมากเกินไป 2. หูไม่ฟังเสียงที่ดังเกินไป 3. จมูกไม่ดมกลิ่นที่ไม่รู้จักหรืออาจจะ เป็นอันตราย 4. ลิ้น ไม่ชิมรสสิ่งที่ไม่รู้จักหรืออันตราย 1. ข้อ มูล 5. ผิวกาย ไม่สัมผัสสิ่งที่ไม่รู้จักหรืออันตราย เชิง คุณ ภาพ เช่น สี 8 ธรรมชาติ 1. 2. 3. 4. ขนาด รูป ช่วยในการเก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ เป็ดรอบคอบ ช่วยให้เป็นคนละเอียนต้น ช่วยให้เป็นคนที่รู้จักรวบรวมข่าวสารใหม่ๆ ช่วยให้เป็นคนอยากรู้อยากเห็น และสนใจ ประโยชน์ข องการสังผิว รส ร่าง กลิ่น เกต พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด กัน 1. บรรยายลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ได้จากการ ทัก ษะการสัง เกต 2. ใช้ ข้อ มูล เชิง ปริม าณ ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวม เช่น การ
  • 13. ความกว้าง ความยาว ความสูง ปริมาตร จะมี สิ่งอ้างอิง เช่น มีขนาดประมาณ เท่าเมล็ดถั่วเขียว ผิว เรียบกว่าผิวกระดาษ 2. บรรยายลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งต่เป็นต้น ทราย างๆ ในเชิง ปริมาณได้ โดยการกะประมาณ 3. ข้อ มูล เกี่ย วกับ 3. บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้ และไม่ลง ความคิดเห็นส่วนตัวลงไป การเปลี่ย นแปลง 4. ชี้และระบุข้อมูลการสังเกตจากข้เช่น ที่กำาหนดให้ได้ อมูล การเปลี่ยนแปลง 5. บอกสิ่งที่ต้องคำานึงและความปลอดภัย้าเมื่อ งเกตได้ ของนำ ในการสั 6. บอกความหมายและประโยชน์ขงทักษะการสังเกตได้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 58 ความร้อน ได้รับ ; สถาบั น ส่งเสริมการสอน เมื่อลากกระป๋อง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2532 : 7 ; สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี. 2543 : 6-9 ;จำานง พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 25 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและพิมพันธ์ เดชะ คุปต์. 2532 : V; วิชาการ. จะเกิดเสียงดัง คอม. 9/9/2550 : ออนไลน์ : สรศักดิ่อปล่อยลูกกลม ์ แพร 9 หรือเมื ดำา.2544:83) โลหะจากที่สูง ใบความ รู้ท ี่ 1.2 ทัก ษะการจำา แนกประเภท การจำา แนกประเภท หมายถึง กระบวนการที่ใช้ จำาแนกวัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ตองการศึกษาออกเป็นหมวดหมู่ โดยจัดสิ่งที่มีสมบัติบาง ้ ประการร่วมกันให้อยู่ในกลุ่ม เดียวกัน ในการจำาแนกประเภทเป็นพวกนั้นต้องมีเกณฑ์ใน การจำาแนก เกณฑ์ใ นการจำา แนก ได้แก่ ลักษณะ ความเหมือน ความแตกต่าง
  • 14. หรือความสัมพันธ์ย่างใดอย่าง หนึ่งก็ได้ เช่น เนื้อเดียวกันและสารเนื้อผสม โดยใช้ลักษณะความแตกต่าง รวม ผลกลุ่ม อาศัยการออกลูกเป็นตัวและ * การที่นักเคมีแบ่งสารออกเป็น * การแบ่งประเภทของผลไม้ ของดอกแบ่งเป็นผลเดี่ยว ผล * แบ่งประเภทของสัตว์ โดย ออกลูกเป็นไข่ เป็นต้น พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะการจำา แนกประเภท 1. จำาแนกประเภทหรือแบ่งพวกสิ่งต่างๆ จากเกณฑ์ ที่ผู้อื่นกำาหนดให้ได้ 2. จำาแนกประเภทหรือแบ่งพวกสิ่งต่างๆ โดยใช้เกณฑ์ ของตนเองได้ 3. บอกเกณฑ์ที่ผอื่นใช้จำาแนก ู้ ประเภทหรือแบ่งพวกได้ 4. บอกประโยชน์ของการจำาแนก ประเภทได้ 5. บอกความหมายของทักษะการจำาแนกประเภทได้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 68-80 ; สถาบันส่ง เสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 2531 : 17 ; จำานง พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้า และ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : V ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 1 28 ; วิชาการ.คอม. 9/9/2550 : ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 110) 0 ใบความรู้ท ี่ 1.3
  • 15. จากข้อ มูล ทัก ษะการลงความคิด เห็น ทัก ษะการลงความคิด เห็น จากข้อ มูล หมายถึง ความสามารถในการอธิบายผลที่ได้จากการสังเกต หรือการเพิ่ม ความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือ ประสบการณ์เดิมมาช่วย ข้อมูลจากการสังเกตชุดหนึ่งๆ มีคำา อธิบายได้หลายอย่างแตกต่างออกไป ซึ่งอาจถูกหรือผิดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความละเอียดของข้อมูล ความถูกต้อง ความรู้และ ประสบการณ์เดิมของผู้ลงความคิดเห็น การลงความคิดเห็นต่างจากการสังเกตที่ว่า การ สังเกตใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ รวบรวมข้อมูล ส่วนการลงความ คิดเห็นเป็นการอธิบายผลที่ได้จากการสังเกต และต่างจากการ พยากรณ์ที่ว่าเป็นการไม่บอกเหตุผลในอนาคต อย่างไรก็ตามการ ลงความคิดเห็นจะต้องเป็นไปอย่างสมเหตุสมผลที่สุด ต้องหาหลัก ฐานมาประกอบให้มากที่สุด ประโยชน์ข องการลงความคิด เห็น 1. ช่วยให้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มี ประโยชน์มากขึ้น 2. ช่วยในการพิจารณาเหตุการณ์อย่างมีเหตุผล ไม่ด่วนตัดสิน ใจและมีความรอบคอบ พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะการลงความคิด เห็น จากข้อ มูล คือ 1. บอกความหมายของทักษะการลงความคิดเห็นหรือลงข้อ วินิจฉัยจากข้อมูลได้ 2. บอกประโยชน์ของการลงความคิดเห็นจากข้อมูลได้ 3. สังเกตและวิเคราะห์ผลการทดลอง เพื่อนำามาสนับสนุนการ ลงความคิดเห็นได้ 4. อธิบายหรือสรุป โดยเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จาก การสังเกตโดยใช้ความรู้
  • 16. หรือประสบการณ์เดิมมาช่วย (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 165 ; สถาบันส่ง เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2531 : 15 ; จำานง พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : VI ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 33 11 ; วิชาการ.คอม.9/9/2550 : ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 261 ) ใบความรู้ท ี่ 1.4 ทัก ษะการจัด กระทำา และสื่อ ความหมาย ข้อ มูล ทัก ษะการจัด กระทำา และสื่อ ความหมายข้อ มูล หมายถึง การนำาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหล่งอื่นๆให้อยู่ในรูปใหม่ให้เข้าใจดีขึ้น เพื่อความชัดเจน รัดกุม สะดวก รวดเร็ว เช่น อาจแสดงในรูปการเขียนแผนภาพ แผนที่ ตาราง กราฟ ตลอดจนสร้างสื่ออื่นๆเพื่อประกอบการพูด หรือการเขียน เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ต้องการ การใช้ภาษา ควรเป็นคำาพูด หรือการเขียนด้วยข้อความที่ง่ายๆสื่อความหมาย ชัดเจน ประโยชน์ข องการสื่อ ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ใช้ในการจราจร การทำาแผนที่ ใช้ในการรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นระเบียบ สะดวก ต่อการศึกษาค้นคว้า พฤติก รรมที่แ สดงว่า เกิด ทัก ษะกระบวนการจัด กระทำา และสื่อ ความหมายข้อ มูล 1. เลือกและบอกเหตุผลในการเลือกรูปแบบในการเสนอข้อมูล ได้ 2. ออกแบบการนำาเสนอข้อมูลตามที่เลือกไว้ได้
  • 17. 3. เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใหม่ ที่เข้าใจได้ยิ่งขึ้น 4. บรรยายลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ด้วยข้อความที่เหมาะสม กระชับจนสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 5. บรรยายหรือวาดแผนผังแสดงตำา แหน่งสถานที่หรือสิ่งต่างๆ จนสื่อความหมายให้ผู้อื่น เข้าใจได้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2525 : 211 ; สถาบันส่ง เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2531 : 33 ; จำานง พรายแย้มแข. 2533 : 34-38 ; วรรณทิพา รอดแรงค้าและ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2532 : VI ; พวงทอง มีมั่งคั่ง. 2537 : 31 ; วิชาการ.คอม.9/9/2550 : ออนไลน์ ; สรศักดิ์ แพรดำา. 2544 : 209) 12 ใบความรู้ท ี่ 1.5 เรื่อ ง ความหลากหลายทางชีว ภาพ ในธรรมชาติ เรามักพบว่าสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ รวมกันเป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มสิ่งมีชีวิตในทะเล ประกอบด้วย กุ้ง หอย ปู ปลา สาหร่าย และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ มากมาย จำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตซึ่งอาศัยอยู่ ในแหล่งที่อยู่อาศัยหนึ่ง ๆ เรียกว่า ความหลากหลายทาง ชีว ภาพ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสิ่งมีชีวิต เริ่มเกิดขึ้นบนโลกเมื่อ ประมาณ 3,500 ล้านปี มาแล้ว โดยเกิดจากการรวมตัวของ อนุภาคต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตเริ่มแรกจะอาศัยอยู่ในนำ้าก่อน แล้วจึง วิวัฒนาการขึ้นมาอาศัยอยู่บนบก จำาแนกออกเป็นพืชและสัตว์ ซึ่ง
  • 18. ได้มีการพัฒนาและปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ ปัจจุบันสิ่งมีชีวิตจะมีความแตกต่างกันหลายประการ ได้แก่ รูปร่าง ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย การดำารงชีวิต ปริมาณของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนสภาพแวดล้อมของแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ เป็นผลทำาให้เกิดความหลาก หลายทางชีวภาพขึ้นมา ประเภทของความหลากหลายทางชีว ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้ 3 ประเภท คือ 1. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ 2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ 3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม 1. ความหลากหลายทางระบบนิเ วศ กลุ่มสิ่ง มีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในแหล่งที่อยู่ แต่ละแห่งนั้นจะมีความ สัมพันธ์กันเอง และมีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมของแหล่งที่ อยู่ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนี้ประกอบกันเป็นระบบนิเวศ ระบบนิเวศในโลกมีอยู่มากมาย แต่ละระบบมีขนาด แตกต่างกัน เช่น ระบบนิเวศในแอ่งนำ้าประกอบด้วยลูกนำ้า จอก แหน เป็นต้น ส่วนในมหาสมุทรประกอบด้วยปลาหลากหลาย ชนิด สาหร่าย ปะการัง สัตว์เซลล์เดียว เป็นต้น ระบบนิ1วศที่มี เ สิ่งมีชีวิตอยู่มากกว่า เรียกว่า มีความหลากหลายทางชีวภาพ มากกว่า 3 ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ ที่มีภูมิ อากาศและภูมิประเทศแตกต่างกันก็มีลักษณะต่าง ๆ กันไป เช่น ทะเลเทรายที่มีอากาศร้อนระอุในตอนลางวันและความหนาวเย็น ในตอน กลางคืน พื้นทรายแห้งแล้ง ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัย พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ เช่น ตะบองเพชร กิ้งก่า ทะเลทราย อูฐ งู ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ จึงนับว่าในทะเลทรายไม่ค่อยมีความหลากหลาย ทางชีวภาพ ป่าฝนเขตร้อนหรือป่าดงดิบ มีฝนตกชุก มีความชื้นสูง และอุณหภูมิเหมาะกับการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั่วไป จึงเป็น บริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด ประกอบด้วยสิ่ง มีชีวิตทั้งพืชและสัตว์จำานวนมาก พืช เช่น สัก ยาง ไม้กฤษณา
  • 19. มะม่วง มะพร้าว เต็ง รัง เถาวัลย์ เฟิน เป็นต้น สัตว์ เช่น เสือ ช้าง ลิง ค่าง ชะนี หมี กวาง เป็นต้น 2. ความหลากหลายทางชนิด พัน ธุ์ สิ่งมีชีวิต ในโลกมีลักษณะแตกต่างกันไป จำานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ ทั้งหมดในโลกไม่ตำ่ากว่า 5 ล้านชนิด อาศัยอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของโลกตามความเหมาะสมของสภาวะแวดล้อม มีทั้งสิ่งมีชีวิต ขนาดเล็กจำาพวกจุลินทรีย์ ไปจนกระทั่งที่มี ขนาดใหญ่นำ้าหนัก มาก เช่น ช้าง วาฬ เป็นต้น ในบริเวณที่สภาพแวดล้อมเหมาะสมจะมีจำานวนชนิด ของสิ่งมีชีวิตเข้าไปอาศัยอยู่เป็นจำานวนมาก ทำาให้เกิดความ หลากหลายทางชีวภาพมากกว่าในบริเวณที่สภาพแวดล้อมไม่ เหมาะต่อการดำารงชีวิต เช่น ในบริเวณป่าไม้เมืองร้อนมีความ หลากหลายทางชีวภาพมากกว่าแถบ ขั้วโลกเหนือ เป็นต้น 3. ความหลากหลายทางพัน ธุก รรม สิ่งมี ชีวิตชนิด (species) เดียวกันอาจมีความแตกต่างกันออกไป เนื่องจากมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เมื่อ เวลาผ่านไปนานนับล้านปีก็จะทำาให้เกิดความแตกต่างกันออกไป หรือเกิดความผิดปกติขึ้นในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ เรียกว่า การผ่าเหล่า ทำาให้เกิดลักษณะที่แตกต่างไปจากสาย พันธุ์เดิม และลักษณะดังกล่าวสามารถถ่ายทอดต่อไปยังรุ่นลูกได้ ทำาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น สุนัขเป็นสิ่งมี ชีวิตชนิดเดียว แต่มีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกันมากมาย เป็นต้น สุนัขพันธุ์ต่าง ๆ ตัว อย่า งความหลากหลายของนก 14 นกฟินซ์ (Fince) ที่พบบนเกาะกาลาปากอสใน มหาสมุทรแปซิฟิกสมีทั้งหมด 14 ชนิด แต่ละชนิดจะมีขนาด รูปร่าง และจะงอยปากแตกต่างกัน อันเป็นผลมาจากชนิด
  • 20. ของอาหารที่พวกมันกินและสภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่ อาศัย นกฟิน ซ์ท ี่อ าศัย อยู่บ นดิน นกฟิน ซ์ท ี่ก ิน เมล็ด พืช นกฟิน ซ์ท ี่เ จาะโพรงไม้ นกฟิน ซ์ท ี่อ าศัย อยู่บ นต้น ตะบองเพชร นกฟิน ซ์ท ี่ก ิน แมลง ดร.เยาวพา สุวัตถิ.(๒๕๕๑). “งานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ”, [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.gpo.or.th/rdi/html/waste.html /สืบค้น ๑๓ ธันวาคม 2551. คุณ ค่า ของความหลากหลายทางชีว ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพมีคุณค่าต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์ อย่างมากมาย ดังนี้ 1. เป็น แหล่ง ปัจ จัย สี่ ป่าไม้นับเป็นแหล่งอาหาร ของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยดึกดำาบรรพ์ มนุษย์อาศัยอาหารที่หาได้ จากในป่า เช่น สัตว์ป่า ผลไม้ ต้นไม้ เป็นต้น มนุษย์สร้างที่อยู่ อาศัยจากต้นไม้ในป่า หรืออาศัยในถำ้าบนภูเขา นอกจากนี้มนุษย์ ยังหายารักษาโรคได้จากสมุนไพรในป่าเก็บฟืนมาทำาเชื้อเพลิงเพื่อ หุงหาอาหารและให้ความอบอุ่น เมื่อจำานวนประชากรเพิ่มขึ้นและมีเทคโนโลยีสูงขึ้น ทำาให้ความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้ถูกทำาลายลง มนุษย์ ต้องการที่อยู่มากขึ้น มีการตัดไม้ทำาลายป่าเพิ่มขึ้น มนุษย์ ต้องการอาหารมากขึ้น ต้องมีการถางป่าเพื่อทำาสวนทำาไร่และ เลี้ยงสัตว์มากขึ้น เพื่อให้มีผลผลิตเพียงพอกับความต้องการของ
  • 21. 15 มนุษย์ ทำำให้กำรเกษตรและกำรเลี้ยงสัตว์เพียงหนึ่ง หรือสอง ชนิดได้เข้ำไปแทนที่ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของป่ำไม้ 2. เป็น แหล่ง ควำมรู้ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ประกอบด้วย ควำมรู้มำกมำย ทำำให้มนุษย์ได้ศึกษำควำม สัมพันธ์และวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตต่ำง ๆ ซึ่งรวบรวมออกมำใน รูปของศำสตร์ต่ำง ๆ ได้แก่ พฤกษศำสตร์เรียนรู้เกี่ยวกับ พืช วนศำสตร์ เรียนรู้เกี่ยวกับ ป่ำ สัตว์วิทยำ เรียนรู้เกี่ยวกับ สัตว์ จุลชีววิทยำ เรียนรู้เกี่ยวกับ จุลินทรีย์ นับว่ำธรรมชำติเป็นครูให้กับมนุษย์ได้หลำยวิชำ ถ้ำ หำกธรรมชำติถูกทำำลำยไป ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพก็ถูก ทำำลำยไป จะทำำให้มนุษย์ขำดแหล่งกำรเรียนรู้ที่สำำคัญไปด้วย 3. เป็น แหล่ง ที่ม ีค ุณ ค่ำ ทำงสุน ทรีย ภำพ และควำมงำม ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ก่อให้เกิด ทัศนียภำพที่งดงำมแตกต่ำงกันไปตำมสภำวะของภูมิอำกำศ ใน บริเวณที่ภูมิอำกำศเหมำะสมแก่กำรอยู่อำศัยก็จะมีป่ำไม้ นำนำพรรณ มีดอกไม้บำนสะพรั่งส่งกลิ่นหอม มีสัตว์ป่ำ แมลง ผีเสื้อหลำกสี มีเสียงนกร้อง มีลมพัดเย็น สภำวะเหล่ำนี้มีคุณค่ำ ทำงจิตใจอย่ำงมหำศำล ถึงแม้ว่ำในส่วนที่สภำวะอำกำศไม่เหมำะ สมแก่กำรอยู่อำศัยของสิ่งมีชีวิต เช่น ในทะเลทรำย ก็ยังคงมี ทัศนียภำพที่งดงำมและยังคงมีควำมน่ำศึกษำ น่ำค้นหำควำม ลึกลับของธรรมชำติ กำรทำำลำยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ นับ เป็นกำรทำำลำยระบบของควำมสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในโลก แม้ว่ำ ธรรมชำติจะเป็นผู้ทำำลำยตัวเองอยู่แล้วจำกภัยธรรมชำติต่ำงๆ เช่น ภูเขำไฟระเบิด แผ่นดินไหว ก็ยังไม่ถือว่ำเป็นกำรทำำลำย ธรรมชำติร้ำยแรงเท่ำกับกำรกระทำำของมนุษย์ที่ไม่ตระหนักถึง ควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ไม่ได้คำำนึงถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพำะในประเทศที่ กำำลังพัฒนำ
  • 22. 16 ใบกิจ กรรมที่ 1.1 เรื่อ ง กำรสำำ รวจควำมหลำกหลำยทำง ชีว ภำพ คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ วิธ ก ำรสำำ รวจ ี 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มสำำรวจแหล่งที่อยู่และบันทึกชื่อแหล่งที่ อยู่ ชื่อ จำำนวนของพืชและสัตว์ภำยในโรงเรียน ตำม บริเวณสวนหย่อม หรือออกสำำรวจนอกบริเวณ เช่น ใน ท้องถิ่นของนักเรียน 2. บันทึกลักษณะแหล่งที่อยู่อำศัย ชื่อและจำำนวนของสิ่งมี ชีวิตที่ได้จำกกำรสำำรวจลงในใบกิจกรรมที่ 1.1 ในกรณีที่ ไม่ทรำบชื่อสิ่งมีชีวิต ให้นักเรียนบอกชื่อสิ่งมีชีวิตเป็นชนิด ที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ฯลฯ 3. นำำข้อมูลที่ได้ในแต่ละกลุ่มมำสรุปและอภิปรำยร่วมกันใน ชั้นเรียน ตำรำงบัน ทึก ผลกำรสำำ รวจ แหล่ง ที่ พืช สัต ว์ อยู่ ชือ พืช จำำ นวน ชือ สัต ว์ จำำ นวน ่ ่ อำศัย
  • 23. 17 คำำ ถำมประกอบกิจ กรรม นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. แหล่งที่อยู่ที่มีสภำพแวดล้อมที่เหมำะสมสังเกตได้จำกสิ่งใด ? ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… 2. ผลสรุปจำกกำรสำำรวจนี้คืออะไร ? ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… 3. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ คือ ?
  • 24. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… 4. สิ่งมีชีวิตจะมีควำมแตกต่ำงกันหลำยประกำร ได้แก่ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… 18 ใบกิจ กรรมที่ 1.2 เรื่อ ง ประเภทของควำมหลำกหลำย คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ จำำแนกประเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ นักเรียนแต่ละกลุ่มนำำข้อมูลที่ได้จำกกำรสำำรวจในกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กำรสำำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ มำจัด ประเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพตำมตำรำงที่ครูกำำหนด ให้โดยทำำเครื่องหมำย / ในประเภทของควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ นั้น ชือ ควำม ่ หลำกหลำย ลัก ษณะ ควำม หลำก หลำย ทำง พัน ธุก ควำม หลำก หลำย ทำง ชนิด ควำม หลำก หลำย ทำง ระบบ
  • 25. ตัว อย่ำ ง 1. กุหลำบ 2. สุนัข 3. ทุ่งหญ้ำ รรม ใบสีเขียวดอกสี แดง มี 4 ขำ พัน ธุ์ นิเ วศ / / / 19 คำำ ถำมประกอบกิจ กรรม นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ประกอบด้วยองค์ปะกอบสำำคัญ 3 ประเภท คือ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… 2. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม คือ
  • 26. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… 3. ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ จำำแนกตำมลักษณะที่อยู่ อำศัยของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… …………………………………… 4. ควำมหลำกหลำยของชนิดพันธุ์ แตกต่ำงจำกควำมหลำกหลำย ทำงพันธุกรรมอย่ำงไร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… …………………………………… 5. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรมของพืชและสัตว์ มีประโยชน์ ต่อมนุษย์อย่ำงไร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… 20
  • 27. ใบกิจ กรรมที่ 1.3 เรื่อ ง ควำมหลำกหลำยทำงชีว ภำพ คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่ออธิบำย ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ นักเรียนสืบค้นข้อมูลและร่วมกันอภิปรำยประเด็นต่อไปนี้ 1. ควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 2. ควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 3. ปะเภทของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ สรุปเป็น แผนผังมโนทัศน์ 21 แบบทดสอบหลัง เรีย น เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
  • 28. รำยวิชำวิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ 33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 คำำ ชี้แ จง ให้น ัก เรีย นเลือ กคำำ ตอบที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งคำำ ตอบ เดีย ว แล้ว ทำำ เครื่อ งหมำยกำกบำท (X) ลงในช่อ ง ก ข ค หรือ ง บนกระดำษคำำ ตอบ 1 ข้อใดคือควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 1. เกิดจำกกำรรวมตัวของจุลภำคต่ำง ๆ 2. กำรดำำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่อำศัยเดียวกันหรือแตกต่ำง กัน 3. จำำแนกตำมรูปร่ำง ขนำด โครงสร้ำงที่เป็นส่วน ประกอบของร่ำงกำย 4. มีควำมแตกต่ำงกันทำงสำยพันธุกรรม 2 ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถึงควำมสำำคัญของควำมหลำกหลำย ทำงชีวภำพได้ถูกต้อง 1. เป็นวัสดุสิ้นเปลือง 2. วัสดุธรรมชำติมีคุณค่ำต่อทำงเศรษฐกิจและสังคม 3. พืชเกษตรหลำยชนิดกำำเนิดมำจำกป่ำเท่ำนั้น 4. พืชเท่ำนั้นที่สำมำรถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชำวต่ำง ประเทศเดินทำงมำเยี่ยมชมประเทศไทย 3 ปัจจัยที่ส่งผลให้ธรรมชำติขำดดุลข้อใดผิด 1. กำรย้ำยถิ่นฐำนของสัตว์เข้ำสู่ป่ำเป็นจำำนวนมำก 2. กำรจับสัตว์มำกเกินไป 3. กำรเก็บเกี่ยวผลผลิตจำกป่ำมำกเกินไป 4. มลพิษต่ำง ๆ จำกอุตสำหกรรม 4 ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตพืช 1. พืชนิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม เคลื่อนที่ได้ 2. เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลล์ เดียว 3. อำณำจักพืชประกอบด้วยไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น 4. พบได้บนบก 5 สิ่งมีชีวิตสัตว์ หมำยถึงข้อใด 22 1. สิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม 2. มีคลอโรฟิลล์ และสร้ำงอำหำรเอง
  • 29. 3. ประกอบด้วย หลำยเซลล์มีกำรแบ่งหน้ำที่ของแต่ละ เซลล์เพื่อทำำหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแบบถำวร 4. ไม่ได้ ดำำรงชีวิตได้หลำยลักษณะทั้งบนบกในนำ้ำ และ บำงชนิดเป็นจุลสิต 6 ข้อใดกล่ำวถูกต้อง 1. รำเป็นสิ่งชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสหรือมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เรียกว่ำ ยูแคริโตส 2. มีคลอโรฟิลล์ สังเครำะห์อำหำรเองไม่ได้ 3. มีโมเลกุลใหญ่และดูดเข้ำเซลล์ 4. รำเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเห็ด รำ และยีสต์ 7 ข้อใดกล่ำวถึงสิ่งมีชีวิตแบคทีเรียได้ถูกต้อง 1. แบคทีเรียแบ่งได้หลำยรูปแบบแบ่งตำมรูปร่ำง แบ่งได้หลำยแบบทั้งกลม (cocci), แบบท่อน (bacilli, rod), แบบ เกลียว (spiral) ข. มีขนำดเล็ก มองเห็นด้วยตำเปล่ำ ค. มีโครงสร้ำงเซลล์ที่ซับซ้อนมำก ง. แบคทีเรีย หรือ บัคเตเรีย 8 ข้อใดกล่ำวถึงแมลงได้ถูกต้อง 1. เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง 2. แมลงมี 6 ขำ 3. ร่ำงกำยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหัว ส่วนหำง 4. มีเฉพำะปีกเท่ำนั้น 9 ข้อใดกล่ำวถึงสิ่งมีชีวิตโพรทิสต์ได้ถูกต้อง 1. เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนังห่อหุ้ม 2. เป็นสิ่งมีชีวิตทีอยู่ในอำณำจักร สัตว์ พืช เห็ดรำ ่ 3. มำจำกภำษำกรีก หมำยควำมว่ำ"สิ่งแรกสุด" 4. อยู่ในอำณำจักรโพรซิสตำ (Kingdom Protista) 10 ข้อใดกล่ำวถูกต้อง 1. วันที่ 19 มกรำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ 2. วันที่ 19 มีนำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำมหลำก หลำยทำงชีวภำพ 3. วันที่ 19 ธันวำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่งควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ
  • 30. 4. วันที่ 19 กรกฎำคมของทุกปีเป็นวันสำกลแห่ง23 ควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ เฉลยใบกิจ กรรมที่ 1.1 เรื่อ ง กำรสำำ รวจควำมหลำกหลำยทำง ชีว ภำพ คำำ ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ วิธ ก ำรสำำ รวจ ี 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มสำำรวจแหล่งที่อยู่และบันทึกชื่อแหล่งที่ อยู่ ชื่อ จำำนวน ของพืชและสัตว์ ภำยในโรงเรียน ตำมบริเวณ สวนหย่อม หรือออกสำำรวจนอกบริเวณ เช่น ในท้องถิ่นของ นักเรียน 2. บันทึกลักษณะแหล่งที่อยู่อำศัย ชื่อและจำำนวนของสิ่งมี ชีวิตที่ได้จำกกำรสำำรวจลงในใบกิจกรรมที่ 1.1 ในกรณีที่ไม่ ทรำบชื่อสิ่งมีชีวิต ให้นักเรียนบอกชื่อสิ่งมีชีวิตเป็นชนิดที่ 1 ชนิด ที่ 2 ชนิดที่ 3 ฯลฯ 3. นำำข้อมูลที่ได้ในแต่ละกลุ่มมำสรุปและอภิปรำยร่วมกันใน ชั้นเรียน ตำรำงบัน ทึก ผลกำรสำำ รวจ แหล่ง ที่ พืช สัต ว์ อยู่ ชือ พืช จำำ นวน ชือ สัต ว์ จำำ นวน ่ ่ อำศัย สวน ต้นหญ้ำ มำก มด มำก ต้นกำฝำก 1 ต้น นก 1 ตัว ข้ำว มำก ควำย 3 ตัว - - วัว 5 ตัว หย่อม บนต้นไม้ ทุ่งนำ ในคอก
  • 31. ในเล้า - - ไก่ 7 ตัว ในสวน ต้นกล้วย 1 กอ ไส้เดือน มาก สนาม ต้นหญ้า มาก มด มาก หน้าบ้าน ต้นมะม่วง 1 ต้น มดแดง มาก หลังบ้าน ต้นมะขาม 1 ต้น - - ในสวน ต้นมะยม 1 ต้น - 24 ฟุตบอล คำา ถามประกอบกิจ กรรม นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง สมบูรณ์ 1. แหล่งที่อยู่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสังเกตได้จากสิ่งใด ? ……….ชนิดและจำานวนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่จะมีมากกว่า บริเวณอื่น………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………2. ผลสรุปจากการสำารวจนี้คืออะไร ? ………แหล่งที่อยูอาศัยแต่ละแห่งจะมีชนิดและจำานวนสิ่งมี ่ ชีวิตแตกต่างกัน แหลงที่อยู่อาศัยทีมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะ ่ สมจะมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอยู่ร่วมันเป็นจำานวนมาก
  • 32. บริเวณนั้นจึงเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายของระบบ นิเวศมาก และบริเวณที่มีความหลากหลายของระบบนิเวศ มาก็จะเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ด้วย……………………………………………………………… ……………….…………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… 3. ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ ? สิ่งมีชีวิตนานาชนิด เช่น พืชและสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่มีความแตกต่างกันตามหน่วยของพันธุกรรมและสภาพ ถิ่นที่อยู่ อาศัย…………………………………………………… …. ………………………………………………………………… …………………………………… 4. สิ่งมีชีวิตจะมีความแตกต่างกันหลายประการ ได้แก่ รูปร่าง ขนาด โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบของร่างกาย การดำารงชีวิต ปริมาณของสิ่งมีชีวิต และสภาพแวดล้อม ของแหล่งที่อยู่ อาศัย……………………………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………
  • 33. 25 เฉลยใบกิจ กรรมที่ 1.2 เรื่อ ง ประเภทของความหลากหลาย คำา ชี้แ จง นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ เพื่อ จำาแนกประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ ให้นักเรียนสำารวจประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ ตามตารางที่ครูกำาหนดให้และทำาเครื่องหมาย / ในประเภท ของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยสืบค้นจากห้องสมุดหรือ อินเตอร์เน็ต ชือ ความ ่ หลากหลาย ลัก ษณะ ความ หลาก หลาย ทาง พัน ธุก รรม ตัว อย่า ง 1. กุหลาบ ใบสีเขียวดอก 2. สุนัข สีแดง 3. ทุ่งหญ้า มี 4 ขา ความ หลาก หลาย ทาง ชนิด พัน ธุ์ ความ หลาก หลาย ทาง ระบบ นิเ วศ / / /
  • 34. 26 คำา ถามประกอบกิจ กรรม นักเรียนสืบค้นข้อมูลและตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วยองค์ปะกอบ สำาคัญ 3 ประเภท คือ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ความหลากหลายทาง พันธุกรรม ความหลากหลายของระบบ นิเวศ……………………………………………………… …………………………………………. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… 2. ความหลากหลายทางพันธุกรรม คือ ความหลากหลายของยีนและแอลลีลในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด กล่าวคือสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีลักษณะร่วมและลักษณะ ที่แตกต่างกันอ่างหลากหลายในสายพันธุ์ เช่น ข้าวมีสาย พันธุ์นับพัน ชนิด……………………………………………………… …………………………
  • 35. ………………………………………………………………… …………………………………… 3. ความหลากหลายของระบบนิเวศ จำาแนกตามลักษณะที่อยู่ อาศัยของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ป่าดิบชื้น ทุ่งหญ้า พื้นที่ชุ่มนำ้า แนวปะการัง ป่าชาย เลน…………………………………. ………………………………………………………………… …………………………………… 4. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ แตกต่างจากความหลาก หลายทางพันธุกรรมอย่างไร ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ เป็นความหลากหลายของ ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่ง ๆ ส่วนความหลาก หลายทางพันธุกรรม เป็นความหลากหลายของยีนและ แอลลีลในสิ่งมีชีวิตแต่ละ ชนิด……………………………………………………… ……………………. ………………………………………………………………… …………………………………… 5. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชและสัตว์ มีประโยชน์ ต่อมนุษย์อย่างไร 1. การนำาพืชสมุนไพรจากธรรมชาติมาสกัดตัวยาเพื่อใช้ รักษาโรค 2. การนำาพืชและสัตว์ป่ามาปรับปรุงพันธุ์เพื่อใช้ประโยชน์ ในด้านอาหารและการเกษตร 3. ใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ
  • 36. 4. ใช้เป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรมในการผลิตสินค้า ต่าง ๆ 27 เฉลยแบบทดสอบก่อ น – หลัง เรีย น เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น เรื่อ ง ความลากหลายทางชีว ภาพ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 33101 ชั้น ค 1. ค 4. ค 7. ค 10. ง มัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ง 5. ค 8. ง 3. ก 9. ค เฉลยแบบทดสอบหลัง เรีย น เรื่อ ง ความลากหลายทางชีว ภาพ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ค 2. ก 3. ค 4. ค 5. ก 6. ค 7. ค 8. ง 9. ง 10. ค 6.
  • 37. 2 8 บรรณานุก รม แก้วอุดร เชื้อหาญ. (2545). การพัฒ นาแบบฝึก เสริม ทัก ษะ กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ข ั้น พื้น ฐานกลุ่ม สร้า งเสริม ประสบการณ์ช ีว ิต ชั้น ประถม ศึก ษาปีท ี่ 6. รายงานการศึกษา ค้นคว้าอิสระ กศ.ม. .มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ.สื่อ การเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. 2548. ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. (2548). สื่อ สาระการเรีย นรู้ สาระ การเรีย นรู้พ ื้น ฐาน กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ สัม ฤทธิ์ม าตรฐาน วิท ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 ช่ว งชั้น ที่ 3 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. ดร.เยาวพา สุวัตถิ.(๒๕๕๑). “งานวิจ ัย เทคโนโลยีช ีว ภาพ ”, [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.gpo.or.th/rdi/html/waste.html / สืบค้น ๑๓ ธันวาคม 2551. นวลจันทร์ เวชกามา. (2547). การพัฒ นาการคิด ของครู ด้ว ยกิจ กรรม ทัก ษะกระบวนการทาง วิท ยาศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร. วิสุทธิ์ ใบไม้.สถานภาพความหลากหลายทางชีว ภาพใน ประเทศไทย , 2538. หน้า 17 – 20 วรนุช อุษณกร. ประวัต ิว ัน สำา คัญ ที่ค วรรู้จ ัก . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2543. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. พืช และสัต ว์ท ี่ใ กล้จ ะสูญ พัน ธุ์ใ น
  • 38. ประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว. 2540. สมศักดิ์ สุขวงศ์.หนัง สือ ความรู้เ รื่อ งสิ่ง แวดล้อ ม.กรุงเทพฯ:กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2550 . รองศาสตราจารย์ ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ ว 306 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งแรก.กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช, 2537. กนก จันทร์ขจร และคณะ. คู่สร้างแบบเรียนวิทยาศาสตร์(ฉบับ พัฒนา). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จำากัด, 2533. รศ.ยงสุข รัศมิมาศ และคณะ. พัฒนาและเสริมทักษะการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ว 306. กรุงเทพฯ : พรีเมียร์กราฟฟิคส์, 2543. ดร.บัญชา แสนทวี. วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2548. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนาภรณ์ อิทธิไพสิฐพันธ์, สุภาภรณ์ หรินทรนิตย์. ไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล นิยมวิทยา, 2548. ดร.ยุพา วรยศ, ถนัด ศรีบุญเรือง, โจ บอยด์ วอลเตอร์, ไวท์ ลอว์.วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท ไทยร่มเกล้า จำากัด, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือ เรียน ว 305 วิทยาศาสตร์ เล่ม 5. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, 2540.