SlideShare a Scribd company logo
ตัวอย่างเห็ดป่ากินได้ ใต้ร่มไม้วงศ์ยางในจังหวัดร้อยเอ็ด
(Edible Wild Mushrooms of Dipterocarpaceae in Roi Et Province)
ไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) เป็นไม้ยืนต้นซึ่งเป็นพรรณไม้หลักของป่าเต็งรัง (Deciduous dipterocarp forest) และพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น เป็นต้น จากการสารวจป่าในจังหวัดร้อยเอ็ดพบไม้วงศ์ยาง
หลายชนิด เช่น ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) ยางกราด/สะแบง (D. intricatus Dyer) ยางเหียง/ซาด (D. obtusifolius Teijsm. ex Miq.) ยางพลวง/กุง (D. tuberculatus Roxb.) กระบาก/บาก
(Anisoptera costata Korth.) ตะเคียนทอง/แคน (Hopea odorata Roxb.) เต็ง/จิก (Shorea obtusa Wall. ex Blume) พะยอม/ขะยอม (S. roxburghii G. Don) และ รัง/ฮัง (S. siamensis Miq.) ซึ่งพรรณไม้
เหล่านี้มีเชื้อราที่มีความสัมพันธ์หรือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้แบบเอคโตไมคอร์ไรซา (Ectomycorrhiza) ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มของเชื้อราชั้นสูง ซึ่งสามารถสร้างดอกเห็ด (Mushroom fruiting body) ได้ ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม
จากการศึกษาเอกสาร ลงพื้นที่สารวจทั้งในป่า สอบถามปราชญ์ชาวบ้านและตลาดขายเห็ดในอาเภอศรีสมเด็จ อาเภอจตุรพักตรพิมาน อาเภออาจสามารถ อาเภอสุวรรณภูมิ และอาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า พรรณไม้วงศ์ยางแต่ละชนิดมี
เห็ดแต่ละชนิดเกิดมากน้อยแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ใต้ร่มต้นยางนาจะมีเห็ดเกิดหลากหลายชนิดที่สุด ได้แก่ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดระโงกขาว เห็ดไส้เดือน เห็ดไข่เยี่ยวม้า เห็ดแดงน้าหมาก เห็ดก่อแดง เห็ดก่อขาว เห็ดตะไคลหน้าเหลือง เห็ดตะไคลหน้า
เขียว เห็ดหน้าม่วง เห็ดถ่านเล็ก เห็ดถ่านใหญ่ เห็ดดิน เห็ดเผาะฝ้าย เห็ดเผาะหนัง เห็ดหน้าวัว เห็ดดอกส้าน เห็ดก้นครก เห็ดมันปู เห็ดผึ้งชนิดต่างๆ เป็นต้น ส่วนใต้ร่มต้นยางเหียง เต็ง พะยอม จะพบ เห็ดเผาะ เห็ดแดงน้าหมาก และเห็ดตะไคล
เป็นต้น ซึ่งหมายความว่าใต้ร่มไม้วงศ์ยางแต่ละชนิดมีเห็ดเกิดหลากหลายชนิดแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่ามีเชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซาชนิดใดอาศัยอยู่ที่รากไม้ และจากการลงพื้นที่สารวจอย่างละเอียดของกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา โรงเรียนศรีสมเด็จ
พิมพ์พัฒนาวิทยา ณ ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง ปรากฏว่า
พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์ จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้ 103 ชนิด และจาแนกชื่อไม่ได้ 64 ชนิด พบเห็ดป่ากินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยางกว่า 40 ชนิด โดยวงศ์ที่พบมากที่สุด คือ วงศ์ Russulaceae วงศ์ Amanitaceae และวงศ์
Schlerodermataceae ตามลาดับ และยังพบเห็ดวงศ์ Boletaceae วงศ์ Cantharellaceae และวงศ์ Hymenogasteraceae ด้วย โดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคลหน้าเขียว และเห็ดแดงน้าหมาก ตามลาดับ
ตัวอย่างเห็ดรับประทานได้ที่สารวจพบ ได้แก่
เห็ดระโงกเหลือง
Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas.
เห็ดระโงกขาว
Amanita princeps Corner & Bas.
.
เห็ดไข่เน่า,เห็ดระโงกยูคา
Amanita fuliginea Hongo
เห็ดข้าวแป้ ง,เห็ดดอกส้าน
Amanita mira Cor. & Bas.
เห็ดก่อแดง
Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray
เห็ดน้าหมาก,เห็ดแดงกุหลาบ
Russula violeipes Quell.
เห็ดหน้าวัว
Russula foetens (Pers.) Fr.
เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง
Russula virescens Fr.
เห็ดตะไคลหน้าเหลือง,เห็ดไคดินโพน
Russula monspeliensis Sarnari
เห็ดเกลือ
Amanita onusta (Howe) Saccardo
เห็ดดิน,เห็ดขาวดิน
Russula sp.
เห็ดหน้าแหล่,เห็ดหน้าม่วง
Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr.
เห็ดถ่านน้อย,เห็ดถ่านเล็ก
Russula densifolia (Secr.) Gill.
เห็ดถ่านใหญ่
Russula nigricans (Bull.) Fr.
เห็ดก้นครก,เห็ดหล่มญี่ปุ่ น
Russula japonica Hongo
เห็ดข้าวจี่,เห็ดไข่เยี่ยวม้า
Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt.
เห็ดก่อขาว
Russula galochroides Sarnari
เห็ดน้าแป้ ง
Russula alboareolata Hongo
เห็ดตะไคลหน้าขาว,เห็ดหล่มขาว
Russula delica Fr.
เห็ดข่า, เห็ดยาง
Lactarius flavidulus Imai
.
เห็ดหาดน้านม, เห็ดฟานน้าตาลปนเหลือง
Lactarius volemus (Fr.) Fries
เห็ดผึ้งแย้
Boletus queletii Schulzer
เห็ดมันปู,เห็ดก้ามปู,เห็ดขมิ้นน้อย
Cantharellus minor Peck
เห็ดผึ้งดางแห
เห็ดเผาะหนัง
Astraeus odoratus C. Phosri,
R. Watling, M.P. Martin & A.J.S. Whalley
เห็ดเผาะฝ้ าย
Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg.
เห็ดขลาหมา,เห็ดหาฟาน,เห็ดหาพระ
Mycoamaranthus cambodgensis (Pat.)
เห็ดขมิ้นใหญ่
Cantharellus odoratus (Schw.) Fr.
เห็ดไส้เดือน, เห็ดขี้ไก่เดือน
Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb.
.
เห็ดตาโล่, เห็ดตาโปน, เห็ดตาเหลือก
Calostoma lutescens (Schw.) Burnap.
ศิริวุฒิ บัวสมาน , ธีร์กัญญา พลนันท์ และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา
คาเตือน : เห็ดพิษบางชนิดอาจมีลักษณะคล้ายเห็ดที่รับประทานได้ ควรสอบถามปราชญ์ชาวบ้านก่อน ถ้าไม่มั่นใจอย่าเก็บมาปรุงอาหารโดยเด็ดขาด !!!
หนังสืออ้างอิง
จินตนา บุพบรรพต, สมภพ รัตนประชา, มานพ ผู้พัฒน์, จิณนา เผือกนาง และอภิสิทธิ์ ด่านชูธรรม. การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง.
สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่ าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช, 2556. 234 หน้า.
นิวัฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: ยูนิเวอร์แซลกราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า.
ราชบัญฑิตยสถาน. เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550. 272 หน้า.
วินัย กลิ่นหอม และอุษา กลิ่นหอม. 57 เห็ดเป็ นยาแห่งป่ าอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสุขภาพไทย, 2548. 156 หน้า.
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. เห็ดและราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544. 268 หน้า.
อนงค์ จันทร์ศรีกุล. เห็ดเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6 . กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2541. 161 หน้า.
อนงค์ จันทร์ศรีกุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551. 514 หน้า.
อุทัยวรรณ แสงวณิช. การศึกษาเห็ดในธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จากัด, 2550. 37 หน้า.
อุษา กลิ่นหอม และวินัย กลิ่นหอม. ความหลากหลายของกลุ่มเห็ดผึ้งในภาคอีสาน. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า.
อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า.
ผู้ถ่ายภาพ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน

More Related Content

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
Sircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
Sircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
Sircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 

โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1

  • 1. ตัวอย่างเห็ดป่ากินได้ ใต้ร่มไม้วงศ์ยางในจังหวัดร้อยเอ็ด (Edible Wild Mushrooms of Dipterocarpaceae in Roi Et Province) ไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) เป็นไม้ยืนต้นซึ่งเป็นพรรณไม้หลักของป่าเต็งรัง (Deciduous dipterocarp forest) และพบได้ในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น เป็นต้น จากการสารวจป่าในจังหวัดร้อยเอ็ดพบไม้วงศ์ยาง หลายชนิด เช่น ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) ยางกราด/สะแบง (D. intricatus Dyer) ยางเหียง/ซาด (D. obtusifolius Teijsm. ex Miq.) ยางพลวง/กุง (D. tuberculatus Roxb.) กระบาก/บาก (Anisoptera costata Korth.) ตะเคียนทอง/แคน (Hopea odorata Roxb.) เต็ง/จิก (Shorea obtusa Wall. ex Blume) พะยอม/ขะยอม (S. roxburghii G. Don) และ รัง/ฮัง (S. siamensis Miq.) ซึ่งพรรณไม้ เหล่านี้มีเชื้อราที่มีความสัมพันธ์หรือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันกับรากไม้แบบเอคโตไมคอร์ไรซา (Ectomycorrhiza) ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มของเชื้อราชั้นสูง ซึ่งสามารถสร้างดอกเห็ด (Mushroom fruiting body) ได้ ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม จากการศึกษาเอกสาร ลงพื้นที่สารวจทั้งในป่า สอบถามปราชญ์ชาวบ้านและตลาดขายเห็ดในอาเภอศรีสมเด็จ อาเภอจตุรพักตรพิมาน อาเภออาจสามารถ อาเภอสุวรรณภูมิ และอาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า พรรณไม้วงศ์ยางแต่ละชนิดมี เห็ดแต่ละชนิดเกิดมากน้อยแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ใต้ร่มต้นยางนาจะมีเห็ดเกิดหลากหลายชนิดที่สุด ได้แก่ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดระโงกขาว เห็ดไส้เดือน เห็ดไข่เยี่ยวม้า เห็ดแดงน้าหมาก เห็ดก่อแดง เห็ดก่อขาว เห็ดตะไคลหน้าเหลือง เห็ดตะไคลหน้า เขียว เห็ดหน้าม่วง เห็ดถ่านเล็ก เห็ดถ่านใหญ่ เห็ดดิน เห็ดเผาะฝ้าย เห็ดเผาะหนัง เห็ดหน้าวัว เห็ดดอกส้าน เห็ดก้นครก เห็ดมันปู เห็ดผึ้งชนิดต่างๆ เป็นต้น ส่วนใต้ร่มต้นยางเหียง เต็ง พะยอม จะพบ เห็ดเผาะ เห็ดแดงน้าหมาก และเห็ดตะไคล เป็นต้น ซึ่งหมายความว่าใต้ร่มไม้วงศ์ยางแต่ละชนิดมีเห็ดเกิดหลากหลายชนิดแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่ามีเชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซาชนิดใดอาศัยอยู่ที่รากไม้ และจากการลงพื้นที่สารวจอย่างละเอียดของกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา โรงเรียนศรีสมเด็จ พิมพ์พัฒนาวิทยา ณ ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ ต.สวนจิก อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จานวน 7 ครั้ง ปรากฏว่า พบเห็ดทั้งสิ้น 30 วงศ์ จานวน 167 ชนิด จาแนกชื่อได้ 103 ชนิด และจาแนกชื่อไม่ได้ 64 ชนิด พบเห็ดป่ากินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยางกว่า 40 ชนิด โดยวงศ์ที่พบมากที่สุด คือ วงศ์ Russulaceae วงศ์ Amanitaceae และวงศ์ Schlerodermataceae ตามลาดับ และยังพบเห็ดวงศ์ Boletaceae วงศ์ Cantharellaceae และวงศ์ Hymenogasteraceae ด้วย โดยเห็ดที่พบมากที่สุดคือ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคลหน้าเขียว และเห็ดแดงน้าหมาก ตามลาดับ ตัวอย่างเห็ดรับประทานได้ที่สารวจพบ ได้แก่ เห็ดระโงกเหลือง Amanita hemibapha subsp. javanica Cor. & Bas. เห็ดระโงกขาว Amanita princeps Corner & Bas. . เห็ดไข่เน่า,เห็ดระโงกยูคา Amanita fuliginea Hongo เห็ดข้าวแป้ ง,เห็ดดอกส้าน Amanita mira Cor. & Bas. เห็ดก่อแดง Russula emetic (Schaeff. ex Fr.) S.F. Gray เห็ดน้าหมาก,เห็ดแดงกุหลาบ Russula violeipes Quell. เห็ดหน้าวัว Russula foetens (Pers.) Fr. เห็ดตะไคลหน้าเขียว, เห็ดไคดินเพียง Russula virescens Fr. เห็ดตะไคลหน้าเหลือง,เห็ดไคดินโพน Russula monspeliensis Sarnari เห็ดเกลือ Amanita onusta (Howe) Saccardo เห็ดดิน,เห็ดขาวดิน Russula sp. เห็ดหน้าแหล่,เห็ดหน้าม่วง Russula cyanoxantha (Schaeff.) Fr. เห็ดถ่านน้อย,เห็ดถ่านเล็ก Russula densifolia (Secr.) Gill. เห็ดถ่านใหญ่ Russula nigricans (Bull.) Fr. เห็ดก้นครก,เห็ดหล่มญี่ปุ่ น Russula japonica Hongo เห็ดข้าวจี่,เห็ดไข่เยี่ยวม้า Amanita vaginata (Bull. ex Fr.) Vitt. เห็ดก่อขาว Russula galochroides Sarnari เห็ดน้าแป้ ง Russula alboareolata Hongo เห็ดตะไคลหน้าขาว,เห็ดหล่มขาว Russula delica Fr. เห็ดข่า, เห็ดยาง Lactarius flavidulus Imai . เห็ดหาดน้านม, เห็ดฟานน้าตาลปนเหลือง Lactarius volemus (Fr.) Fries เห็ดผึ้งแย้ Boletus queletii Schulzer เห็ดมันปู,เห็ดก้ามปู,เห็ดขมิ้นน้อย Cantharellus minor Peck เห็ดผึ้งดางแห เห็ดเผาะหนัง Astraeus odoratus C. Phosri, R. Watling, M.P. Martin & A.J.S. Whalley เห็ดเผาะฝ้ าย Astraeus hygrometricus (Pers.) Morg. เห็ดขลาหมา,เห็ดหาฟาน,เห็ดหาพระ Mycoamaranthus cambodgensis (Pat.) เห็ดขมิ้นใหญ่ Cantharellus odoratus (Schw.) Fr. เห็ดไส้เดือน, เห็ดขี้ไก่เดือน Amanita vaginata var. punctata (Cleland ex Cheel) Bilb. . เห็ดตาโล่, เห็ดตาโปน, เห็ดตาเหลือก Calostoma lutescens (Schw.) Burnap. ศิริวุฒิ บัวสมาน , ธีร์กัญญา พลนันท์ และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา คาเตือน : เห็ดพิษบางชนิดอาจมีลักษณะคล้ายเห็ดที่รับประทานได้ ควรสอบถามปราชญ์ชาวบ้านก่อน ถ้าไม่มั่นใจอย่าเก็บมาปรุงอาหารโดยเด็ดขาด !!! หนังสืออ้างอิง จินตนา บุพบรรพต, สมภพ รัตนประชา, มานพ ผู้พัฒน์, จิณนา เผือกนาง และอภิสิทธิ์ ด่านชูธรรม. การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง. สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่ าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช, 2556. 234 หน้า. นิวัฒ เสนาะเมือง. เห็ดป่ าเมืองไทย: ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: ยูนิเวอร์แซลกราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง, 2553, 424 หน้า. ราชบัญฑิตยสถาน. เห็ดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550. 272 หน้า. วินัย กลิ่นหอม และอุษา กลิ่นหอม. 57 เห็ดเป็ นยาแห่งป่ าอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสุขภาพไทย, 2548. 156 หน้า. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. เห็ดและราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544. 268 หน้า. อนงค์ จันทร์ศรีกุล. เห็ดเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6 . กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2541. 161 หน้า. อนงค์ จันทร์ศรีกุล และคณะ. ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551. 514 หน้า. อุทัยวรรณ แสงวณิช. การศึกษาเห็ดในธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จากัด, 2550. 37 หน้า. อุษา กลิ่นหอม และวินัย กลิ่นหอม. ความหลากหลายของกลุ่มเห็ดผึ้งในภาคอีสาน. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า. อภิชาตการพิมพ์, 2550. 144 หน้า. ผู้ถ่ายภาพ : นายศิริวุฒิ บัวสมาน