SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
6




แผนการจัดการเรียนรูแบบการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น
        แผนการเรียนรูที่ 2 : ตกลงเราเปนอะไรกัน
7

                           แผนการจัดการเรียนรู ที่ 2 ตกลงเราเปนอะไรกัน
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                  รหัสวิชา ว 40243 รายวิชาชีววิทยา
หนวยการเรียนวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด                 เวลา 6 ชั่วโมง
ผูเขียนแผน กมลรัตน ฉิมพาลี                                             เวลา 2 ชั่วโมง

สาระสําคัญ
         วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทีละนอยจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมสืบตอกันมาจ
นกลายเปนสิ่งมีชีวิตในปจจุบัน ที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมอันเปนผลจากพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
การวิวัฒนาการของมนุษยตามหลักฐานมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุมไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปน
กลุมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด การคนพบวิวัฒนาการมนุษยเริ่มจากสมัยไมโอซีน
พบออสทราโลพิเทคัส (Australopithecus) จากนั้นมีการพบมนุษย Homo habilis, Homo erectus
มนุษยนีแอนเดอรทัล (Neanderthal man)และเปน Homo sapiens sapiens ซึ่งมีชีวิตอยูรวมกันมา
หลายพันปและยังไมเปนที่แนชัดวามนุษยทั้งสองกลุมมีความเกี่ยวของกันอยางไร แตก็อาจเปนไปได
วาจะมีบรรพบุรุษรวมกัน และเมื่อ H. s. sapiens สามารถปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดมากกวา ในที่สุด
H. s. neanderthalensis ก็สูญพันธุไป

2. จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายกระบวนวิวัฒนาการของมนุษย (K)
        2. ทักษะการสังเกต ทักษะการใชเหตุผล (P)
        4. ความกระตือรือรนที่จะคนควาหาความรู (A)

3. สาระการเรียนรู
    1. บรรพบุรุษของมนุษย
    2. วิวัฒนาการของมนุษย
8

4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
     5E                               ครู                                        นักเรียน
1. เราความ 1. ขออาสมัครของนักเรียนใสหนากากตอไปนี้               1. ศึกษาภาพที่ครูนําเสนอ
สนใจ(enga (ครูสามาถนําภาพไปขยายปริ้นใสกระดาษแข็งเจาะรู             2. แสดงความคิดเห็น
ge)         ที่ขอบกระดาษสองขางเปนหนากาก) คนที่ 1                 3. นักเรียน 1 คน
            แนะนําตัวเองวาชื่อ ลูซี่ คนที่ 2 แนะนําตัวเองวาชื่อ   ออกมาเรียงลําดับหนากาก
            ฮาฮา คนที่ 3 ชื่อวา อี่อี้ คนที่ 4 ชื่อวา ซาเปยน




           2.
           ขออาสาสมัครหนึ่งคนชวยจัดเรียงโดยเรียงตามควา
           มคิดวาใครนาจะอยูในยุคเกา-
           ยุคใหมไมเฉลยวาถูกหรือผิด)
2. สํารวจ 1. จัดเตรียมกระบะทราย 4 ฐาน                               1. ฟงคําอธิบาย
คนหา(expl (ขนาดเทาถาดผาตัด )                                     2. แบงกลุมเทาๆกันใหได 4 กลุม
ore)                                                                3. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม
                                                                    3)
                                                                    เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลวชวยกัน
              2. ตัดภาพกะโหลกศีรษะทั้ง 4                            เขียนรายงานการปฏิบัติกิจกรรม
              ในกระบะทราย(โดยใสแบบสุมในแตละถาด)




              3. แจกใบงานและใบความรู
9

      7E                              ครู                                     นักเรียน
  3. อธิบาย    1) เปดโอกาสใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอใบงาน     1) นักเรียนแตละกลุมชวยกันตอบ
  (explain)    2) จากนั้นสุมถามใบงานเดี่ยว 2-3 คน               คําถามแสดงความคิดเห็น

  4.          1)                                                 1) สรุปความคิด
  ขยายความรู ใหนักเรียนสรุปความคิดเห็นสั้นๆเกี่ยวกับการวิวัฒ   2) รวมกันอภิปราย
  (elaborate) นาการของคนและนําไปติดบนกระดานหนาหอง
              2) ครูสุมหยิบที่นักเรียนตอบขึ้นมา
              อภิปรายรวมกันระหวางนักเรียนและครู



    5. การวัดและการประเมินผล (evaluation)
สิ่งที่ตองปร     ประเด็นการประเมิน       หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ       เกณฑการผาน       ผูประเมิน
     ะเมิน
ดานความรู 1.                             การตรวจใบงานที่ 1            1.                             ครู
               อธิบายกระบวนวิวัฒนากา                                    นักเรียนทําใบงานได
               รของมนุษย (K)                                           ถูกตองอยางนอยรอ
                                                                        ยละ 80

ดานทักษะ     2. ทักษะการสังเกต              แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ            ครู/
              ทักษะการใชเหตุผล (P)          ปฏิบัติกิจกรรม        ประเมินระดับพอใช           นักเรียน
                                             การสรุปความคิด        ขึ้นไป
                                                                   2. นักเรียนสามารถ
                                                                   แสดงความคิดเห็น
                                                                   ได

ดานเจตคติ 3.                                แบบประเมินพฤติกรรมการ 1.                                  ครู
(เงื่อนไขคุณ มีความกระตือรือรนที่จะค       เรียน                 นักเรียนมีผลการปร
     ธรรม)   นควาหาความรู (A)                                    ะเมินระดับพอใชขึ้น
                                                                   ไป
10

6. สื่อและแหลงการเรียนรู
             สื่อการเรียนรู
      1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5
      2. เอกสารเรื่องปรับตัว ตกลงเราเปนอะไร
      3. ใบกิจกรรมที่ 1 ตะลุยกะโหลกลานป
           แหลงเรียนรู
       1. หองสืบคนขอมูลออนไลน
             เว็บไซต http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html#
             รูปภาพ Australopithecus http://www.homosapz.ob.tc/evolution/australopithecus.html
                           http://www.abouthumanevolution.org/html/site/timestone10.htm
11


                           แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
                              ชื่อกลุม … … … … …
                                         ……………

 ที่               รายงานประเมิน                     ระดับคุณภาพ             หมายเหตุ
                                                   3      2      1
 1     อานคําชี้แจงและปฏิบัติงานถูกตามขั้นตอน
 2     รวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
 3     มีการแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความคิด
       ภายในกลุม
 4     ใชทักษะการสังเกตและการมีเหตุผลในการส
       รุปการทดลอง
 5     เก็บ/ทําความสะอาดอุปกรณอยางเปนระเบีย
       บ
                      รวม
                   คะแนนเฉลี่ย

เกณฑการประเมิน
3 = ดี        2 = พอใช       1 = ควรปรับปรุง
                                                ลงชื่อ … … … … … … . ผูประเมิน
                                                        ………………
                                                     (… … … … … … … . )
                                                       … … … ..… … … …
                                                วันที… …เดือน … … … … พ.ศ. … …
                                                     ่ …       …………            ….


                  คะแนน                                       ผลการประเมิน
                    1-5                                          ปรับปรุง
                    9-12                                        ผานเกณฑ
                   13-15                                            ดี
12

                                           แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
                                                      รายการประเมิน




                                                                 สนใจศึกษาเรียนรูเ


                                                                                      มีความพยายามแล
                 มีความกระตือรือรนใ




                                             ซักถามเพื่อหาเหตุ




                                                                                                        ชวยเหลือการศึกษ
                                                                                                        าเรียนรูของเพื่อน
                                                                                      ะทํางานเสร็จตาม
                 นการแสงหาความรู




                                               ผลและคําตอบ
 เลขที่-ชื่อ                                                                                                                 รวมคะแนน




                                                                                           กําหนด
                                                                     พิ่มเติม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.



                                       เกณฑการประเมิน ประเมินพฤติกรรมการทํางาน

       องคประกอบที่ 1 มีความกระตือรือรนในการแสวงหาความรู
              4 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีมาก มีสวนรวมในกิจกรรม
                            การเรียนรูอยางขมีขมันทุกขั้นตอน
              3 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดี มีสวนรวมในกิจกรรม
                            การเรียนรูดวยความตั้งใจทุกขั้นตอน
              2 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีพอสมควร มีสวนรวมในกิจกรรม
                            เกือบทุกขั้นตอน
              1 หมายถึง สนใจและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูนอย
13

องคประกอบที่ 2 ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบ
       4 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ
                    ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดีมาก
       3 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ
                    ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดี
       2 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ
                    ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดพอใช
       1 หมายถึง มีการซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบนอยมาก

องคประกอบที่ 3 สนใจหาความรูเพิ่มเติม
       4 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆ
                    ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาอยางตอเนื่อง
       3 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล
                    ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาหลายครั้ง
       2 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล
                    ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาเปนบางครั้ง
       1 หมายถึง ไมสนใจศึกษาหาความรูเพิ่มเติม

องคประกอบที่ 4 มีความพยายามและทํางานสําเร็จตามกําหนด
       4 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด
       3 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด โดยเพิ่มเวลาให
                     อีกเล็กนอย
       2 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด ตองเพิ่มเวลา
                     ใหอีกมากกวา 1 ครั้ง
        1 หมายถึง ไมตั้งใจทํางานใหเสร็จตามที่กําหนด

องคประกอบที่ 5 ชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน
       4 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนดวยการสอน แนะนํา
                     เสนอแนะวิธีการปฏิบัติเพื่อใหเพื่อนไดเรียนรูไปพรอมๆ กับตนดวยความเต็มใจ
       3 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนมาก แตชวยในลักษณะแบบบอกความรู
                     หรือทําใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู
       2 หมายถึง ใหความชวยเหลือเพื่อนบางเล็กนอย และชวยในลักษณะบอกความรู
                     หรือทําใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู
       1 หมายถึง ไมใหมีความชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน หรือใหความชวยเหลือ
                             นอยมาก
14

เกณฑการตัดสินผลการเรียน
                คะแนน      ผลการประเมิน
              0-4 คะแนน       ปรับปรุง
                  5-10       ผานเกณฑ
                 11-15          พอใช
                 16-20           ดี
15

                                ใบงานที่ 1 ตะลุยกะโหลกโลกลานป
คําชี้แจง : ใหนักเรียนคนหากะโหลกศีรษะในกระบะทรายที่จัดเตรียมไวให ทั้งหมดมี 4
ภาพที่แตกตางกัน (นักเรียนตองคนใหครบทั้ง 4 ถาดเวียนกันไปในแตละกลุม)
จากนั้นบันทึกลักษณะที่นักเรียนพบลงในรายงาน (งานกลุม)

            รูปกะโหลกศีรษะ                            ลักษณะของกะโหลกศีรษะที่พบ
  (ติดลงในใบงานดวยกาวที่จัดเตรียมไวให)
1.




2.




3.




4.
16

2. นักเรียนคิดวากะโหลกศีรษะที่พบมีลักษณะคลายคลึงกับใครบางที่ใสหนากากแนะนําตัว
ตามลําดับวิวัฒนาการ (งานเดี่ยว)

  กะโหลกศีรษะที่    คลายกับ/ชื่อวิทยาศาสตร           สวนไหนที่สามารถสังเกตไดเปนพิเศษ
    (วาดภาพ)
1.



2.



3.



4.
17

                                                ใบความรู
ตกลงเราเปนอะไรกัน : นักเรียนคงสงสัยวาเราเปนพี่นองกับลิง หรือลิงเปนบรรพบุรุษของเรา หรือ หรือ
       เราเปนอะไรกัน (ตามเพลงยอดฮิตแนเลยใชไหมคะ) วันนี้เราจะมาหาคําตอบกันคะ




                                      ภาพที่ 1 วิวัฒนาการมนุษย
  ที่มา : http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-1070671/Evolution-stops-Future-Man-look-
                                          says-scientist.html

                               บรรพบุรุษของมนุษยคือลิงจริงหรือ?

      มนุษยมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุมไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปนกลุมของสัตวเลี้ยงลูก
ดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด สืบเชื้อสายมาจากสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีรก อาศัยและหอยโหน
อยูบนตนไมเปนสวนใหญ ลักษณะสําคัญคือ สมองเจริญดีและมีขนาดใหญ มีขากรรไกรสั้นทําให
หนาแบน ระบบสายตาใชงานไดดีโดยมองไปขางหนา ระบบการดมกลิ่นไมดีเมื่อเปรียบเทียบ
กับสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดอื่น มีเล็บแบนทั้งนิ้วมือและนิ้วเทา มีพฤติกรรมทางสังคมที่ซับซอน
สัตวในกลุมไพรเมต ไดแก กระแต ลิงลม ลิง ชะนี อุรังอุตัง กอริลลาชิมแพนซีและมนุษย
ดังสายวิวัฒนาการดานลางนี้




                                     การจําแนกทางวิวัฒนาการ
                                  สายสัมพันธทางวิวัฒนาการระหวางคนกับลิง
18

          ระดับความสัมพันธ



                                มนุษยปจจุบัน      ลิงกอริลลา         ลิงชิมแปนซี
                                Modern Human        Gorilla             Chimpanzee

          สปชีส (Species)     Homo sapiens        Gorilla gorilla     Pan troglodytes
          สกุล (Genus)          Homo                Gorilla             Pan
          วงศ (Family)         Hominids            Pongids             Pongids
          ลําดับ (Order)        Primates            Primates            Primates
          ชั้น (Class)          Mammalia            Mammalia            Mammalia
          ไฟลัม (Phylum)        Chordata            Chordata            Chordata
          อาณาจักร (Kingdom)    Animalia            Animalia            Animalia

          บรรพบุรุษของมนุษยเริ่มปรากฏครั้งแรกในสมัยไมโอซีน ในราวประมาณ 4.3 ลานปกอน
มีลักษณะสภาพแวดลอมเปนปาโปรง มีตนไมที่นอยกวาปาฝนลิงที่อยูในปาจึงตองปรับตัวใหอยูบนพื้นดิน
ไดดวย การปรับตัวเปนไปอยางคอยเปนคอยไป จนในที่สุด 3,900,000 ปกอน ลิงกลุมนั้นไดวิวัฒนาการ
มาเปนสปชีส Australopithecus afarensis ซึ่งสามารถใชชีวิตไดทั้งบนตนไมและบนพืนดิน สามารถเดิน
                                                                                     ้
สองขาและเดินสี่ขาได ตางจากลิงในอดีตที่ไมสามารถเดินสองขาได บรรพบุรุษที่มีความคลายมนุษย
มากที่สุดคือ ออสทราโลพิเทคัส (Australopithecus) ในป พ.ศ.2518 นักบรรพชีวินไดคนพบซาก
ดึกดําบรรพที่มีความสมบูรณประมาณ 40 เปอรเซ็นตในเอทิโอเปย และไดตั้งชื่อตามบริเวณที่พบคือ Afar
Triangle วา Australopithecus afarensis คาดวา A. afarensis มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 2.9-3.9 ลานปกอน
จากหลักฐานของลักษณะรอยเทาที่ปรากฏในเถาภูเขาไฟ จากกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกเชิงกราน
ทําใหสันนิษฐานไดวา A.afarensis มีแขนยาวจึงนาสามารถดํารงชีวิตบางสวนอยูบนตนไมและสามารถ
เดินสองขาบนพื้นดินไดดีแตก็ยังไมเหมือนมนุษย มีความจุสมองประมาณ 400-500 ลูกบาศกเซนติเมตร
มีฟนเขี้ยวที่ลดรูปลง ปจจุบันเชื่อวา A. afarensis เปนบรรพบุรุษของออสทราโลพิเทคัสสปชีสอื่นๆ
และมนุษยจีนัสโฮโมดวย
19

    ภาพสันนิษฐานลักษณะของ A. afarensis
จากการศึกษาซากดึกดําบรรพรอยเทาที่ปรากฏในเถาภูเขาไฟ            ซากดึกดําบรรพของ A. afarensis
                                                          พบที่เอธิโอเปย หรือที่นักบรรพชีวินเรียกวา ลูซี สูงประมาณ 1 เมตร




                      ซากดึกดําบรรพกระดูกกะโหลกศีรษะของ Australopithecus




วิวัฒนาการของมนุษยจีนัสโฮโม

       มนุษยจีนัสโฮโมมีวิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 2 ลานปที่ผานมา ซากดึกดําบรรพของจีนัสโฮโม
ที่พบวามีอายุมากที่สุดคือ Homo habilis ในชั้นหินอายุ 1.8 ลานปทางตอนใตของแอฟริกา มีความจุ
สมองประมาณ 750 ลูกบาศกเซนติเมตร มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร มีกระดูกนิ้วมือที่คลายมนุษย
ปจจุบันมากจึงนาจะชวยใหสามารถหยิบจับหรือใชเครื่องมือไดดี ซึ่งจากหลักฐานที่พบในบริเวณเดียวกับ
ซากดึกดําบรรพโครงรางกระดูก เชน เครื่องมือหินและรองรอยการอยูอาศัย ทําใหสันนิษฐานไดวา H.
habilis อาจเปนพวกแรกที่รูจักการประดิษฐขวาน สิ่ว มีดจากหินเพื่อนํามาใชประโยชนในการดํารงชีวิต
ก็เปนได
20




 H. erectus เปนมนุษยพวกแรกที่รูจักใชไฟ                 ซากดึกดําบรรพกระดูกกะโหลกศีรษะ


H. habilis และ H. erectus มีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษรวมกัน
แตมนุษยปจจุบันนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus

       H. erectus ในแอฟริกาถือเปนบรรพบุรุษของ Homo sapiens หรือมนุษยปจจุบัน อยางไรก็ตาม
พบวามีมนุษยลักษณะกึ่งกลางระหวาง H. erectus และ H. sapiens เกิดขึ้นเมื่อ 200,000-300,000
ปที่แลวดวยซึ่งก็คือ มนุษยนีแอนเดอรทัล (Neanderthal man) มนุษยนีแอนเดอรทัลนั้นมีสมอง
ขนาดใหญเทากับหรือมากกวามนุษยปจจุบัน โครงรางมีลักษณะเตี้ยล่ําแข็งแรง จมูกแบน รูจมูกกวาง
หนาผากลาดแคบ มีสันคิ้วหนา คางแคบหดไปดานหลัง มีการอยูรวมกันเปนสังคม ใชไฟและมี
เครื่องนุงหม มีรองรอยของอารยธรรมในกลุม เชน การบูชาเทพเจาและมีพิธีฝงศพ เปนตน
นักมานุษยวิทยาไดจัดใหมุษยนีแอนเดอรทัลอยูในสปชีสเดียวกันกับมนุษยปจจุบัน (Homo sapiens
sapiens) แตแยกกันในระดับซับสปชีส เปน Homo sapiens neanderthalensis เชื่อวาทั้ง H. s. sapiens
และ H. s. neanderthalensis มีชีวิตอยูรวมกันมาหลายพันปและยังไมเปนที่แนชัดวามนุษย
ทั้งสองกลุมมีความเกี่ยวของกันอยางไร แตก็อาจเปนไปไดวาจะมีบรรพบุรุษรวมกัน และเมื่อ H. s.
sapiens สามารถปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดมากกวา ในที่สุด H. s. neanderthalensis ก็สูญพันธุไป

      จากหลักฐานซากดึกดําบรรพที่ขุดพบอยางมากแถบบริเวณตะวันตกของทวีปยุโรป ทําให
สันนิษฐานไดวามนุษยนีแอนเดอรทัลกระจายตัวอยูมากในบริเวณนีในปจจุบันจากการศึกษาทาง
                                                            ้
ชีววิทยาระดับโมเลกุล การสกัด DNA จากกระดูกมนุษยนีแอนเดอรทัลชี้ใหเห็นวา
มนุษยนีแอนเดอรทัลบางสวนอาจมีผมสีแดงและมีผิวซีด
21




                       ภาพวาดลักษณะของกะโหลกศีรษะของมนุษยปจจุบัน (ซาย)
                             เปรียบเทียบกับมนุษยนีแอนเดอรทัล (ขวา)



กําเนิดของมนุษยปจจุบันนั้นมาจากไหน?

สมมติฐานเกี่ยวกับกําเนิดของมนุษยปจจุบันมี 2 แนวทาง ซึ่งอาศัยหลักฐานจากซากดึกดําบรรพ
ของมนุษยโบราณมาสนับสนุนแนวคิด
        สมมติฐานแรก เชื่อวามนุษยปจจุบันที่อยูในตางทวีปนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus
ที่แพรกระจายจากแอฟริกาไปอยูตามที่ตางๆ เชน ยุโรป เอเชียและออสเตรเลีย เมื่อประมาณ
เกือบสองลานปที่ผานมา จากนั้นจึงวิวัฒนาการเปนมนุษยปจจุบันที่อาศัยอยูตามแตละที่ทั่วโลก
และการที่มนุษยเชื้อชาติตางๆไมเกิดความแตกตางกันในระดับสปชีสจนเกิดสปชีสใหมเพราะมนุษยใ
นแตละที่ยังคงมีการผสมผสานทางเผาพันธุมาโดยตลอด
        สมมติฐานที่สอง เชื่อวามนุษยปจจุบนที่อยูในตางทวีปนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus
                                           ั
ในแอฟริกา จากนั้น H. erectus ไดแพรกระจายไปอยูตามที่ตางๆทั่วโลกแตในที่สุดก็
สูญพันธุไปจนหมด เหลือเพียงกลุม H. erectus ในแอฟริกากลุมเดียวเทานั้น จนกระทั่งเมื่อ 100,000
ปที่ผานมานี้เอง H. erectus ในแอฟริกา กลุมที่มีสายวิวัฒนาการตอเนื่องมานี้จึงแพรกระจายออกไป
ยังสถานที่ตางๆโดยไมมีการผสมผสานทางเผาพันธุกับมนุษยโบราณที่อพยพมากอนหนานั้น
22

     ในปจจุบัน จากผลการศึกษาความหลากหลายของ mitochondria DNA ในตัวอยางคนพื้นเมือง
จากภูมิภาคตางๆ ทําใหพบขอมูลเกี่ยวกับกําเนิดของมนุษยปจจุบันโดยผลการศึกษาสนับสนุน
แนวสมมติฐานที่วามนุษยปจจุบันนั้นถือกําเนิดขึ้นมาจากแอฟริกา และมีการแพรกระจายออกสู
สถานทีตางๆเมื่อราวแสนปที่ผานมานี่เอง
       ่




                             สมมติฐานของกําเนิดมนุษยในปจจุบัน
23

                                           แหลงอางอิง
http://th.wikipedia.org/wiki
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html
https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76024
http://isiam.info/human/species.html
http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass-uploads/libs/html/50549/learn1_3.html
24


                                           เฉลยใบงาน
           รูปกะโหลกศีรษะ                             ลักษณะของกะโหลกศีรษะที่พบ
 (ติดลงในใบงานดวยกาวที่จัดเตรียมไวให)                     (แนวการตอบ)
                                             หัวกะโหลกขนาดเล็ก มีฟนยื่นออกมา
                                             ฟนตัดมีขนาดใหญและขากรรไกรใหญ
                                             กะโหลกตรงคิ้วนูนออกมา
                                             หนาผากมีขนาดเล็กมาก
                                                


1.
                                             ใบหนาขนาดใหญ ขากรรไกรขนาดใหญ
                                             แตฟนหนาลดการยื่นออกไปขางหนา
                                             กะโหลกตรงคิ้วนูนนอยกวาอันที่ 1




2.
                                             กะโหลกมีลักษณะกลม ฟนขนาดเล็ก
                                             กรามและขากรรไกรลดขนาดลง
                                             กะโหลกคิ้วบริเวณหัวตานูนสูงขึ้นและยาวติดกัน
                                             มีบริเวณหนาผากเล็กนอย



3.
                                             มีหนาผากตั้งขึ้น สันคิ้วเล็กลง ไมยาวติดกัน
                                             มีฟนขนาดเล็ก




4.
****หมายเหตุ นักเรียนสามารถอธิบายโดยการเปรียบเทียบระหวางรูปได เชน ภาพที่
1มีขนาดกรามใหญที่สุด
25

ตอนที่ 2
  กะโหลกศีรษะที่   คลายกับ/ชื่อวิทยาศาสตร          สวนไหนที่สามารถสังเกตไดเปนพิเศษ
    (วาดภาพ)
                                              ลักษณะฟนหนาที่ยื่นออกมา




                   Australopithecus
                   afarensis
1.
                                              ลักษณะชวงหนาผากที่แคบ




                   H. habilis

2.

                                              กะโหลกกลม



                   H. erectus

3.
                                              ชวงหนาผากและคิ้วไมติดกัน



                   Homo sapiens sapiens

4.

More Related Content

What's hot

งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวUdom Tepprasit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 

What's hot (20)

งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 

Viewers also liked

เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Viewers also liked (18)

เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 

Similar to แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3

แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 

Similar to แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3 (20)

แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 

แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3

  • 1. 6 แผนการจัดการเรียนรูแบบการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น แผนการเรียนรูที่ 2 : ตกลงเราเปนอะไรกัน
  • 2. 7 แผนการจัดการเรียนรู ที่ 2 ตกลงเราเปนอะไรกัน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 40243 รายวิชาชีววิทยา หนวยการเรียนวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด เวลา 6 ชั่วโมง ผูเขียนแผน กมลรัตน ฉิมพาลี เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทีละนอยจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมสืบตอกันมาจ นกลายเปนสิ่งมีชีวิตในปจจุบัน ที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมอันเปนผลจากพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม การวิวัฒนาการของมนุษยตามหลักฐานมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุมไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปน กลุมของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด การคนพบวิวัฒนาการมนุษยเริ่มจากสมัยไมโอซีน พบออสทราโลพิเทคัส (Australopithecus) จากนั้นมีการพบมนุษย Homo habilis, Homo erectus มนุษยนีแอนเดอรทัล (Neanderthal man)และเปน Homo sapiens sapiens ซึ่งมีชีวิตอยูรวมกันมา หลายพันปและยังไมเปนที่แนชัดวามนุษยทั้งสองกลุมมีความเกี่ยวของกันอยางไร แตก็อาจเปนไปได วาจะมีบรรพบุรุษรวมกัน และเมื่อ H. s. sapiens สามารถปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดมากกวา ในที่สุด H. s. neanderthalensis ก็สูญพันธุไป 2. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายกระบวนวิวัฒนาการของมนุษย (K) 2. ทักษะการสังเกต ทักษะการใชเหตุผล (P) 4. ความกระตือรือรนที่จะคนควาหาความรู (A) 3. สาระการเรียนรู 1. บรรพบุรุษของมนุษย 2. วิวัฒนาการของมนุษย
  • 3. 8 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 5E ครู นักเรียน 1. เราความ 1. ขออาสมัครของนักเรียนใสหนากากตอไปนี้ 1. ศึกษาภาพที่ครูนําเสนอ สนใจ(enga (ครูสามาถนําภาพไปขยายปริ้นใสกระดาษแข็งเจาะรู 2. แสดงความคิดเห็น ge) ที่ขอบกระดาษสองขางเปนหนากาก) คนที่ 1 3. นักเรียน 1 คน แนะนําตัวเองวาชื่อ ลูซี่ คนที่ 2 แนะนําตัวเองวาชื่อ ออกมาเรียงลําดับหนากาก ฮาฮา คนที่ 3 ชื่อวา อี่อี้ คนที่ 4 ชื่อวา ซาเปยน 2. ขออาสาสมัครหนึ่งคนชวยจัดเรียงโดยเรียงตามควา มคิดวาใครนาจะอยูในยุคเกา- ยุคใหมไมเฉลยวาถูกหรือผิด) 2. สํารวจ 1. จัดเตรียมกระบะทราย 4 ฐาน 1. ฟงคําอธิบาย คนหา(expl (ขนาดเทาถาดผาตัด ) 2. แบงกลุมเทาๆกันใหได 4 กลุม ore) 3. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 3) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลวชวยกัน 2. ตัดภาพกะโหลกศีรษะทั้ง 4 เขียนรายงานการปฏิบัติกิจกรรม ในกระบะทราย(โดยใสแบบสุมในแตละถาด) 3. แจกใบงานและใบความรู
  • 4. 9 7E ครู นักเรียน 3. อธิบาย 1) เปดโอกาสใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอใบงาน 1) นักเรียนแตละกลุมชวยกันตอบ (explain) 2) จากนั้นสุมถามใบงานเดี่ยว 2-3 คน คําถามแสดงความคิดเห็น 4. 1) 1) สรุปความคิด ขยายความรู ใหนักเรียนสรุปความคิดเห็นสั้นๆเกี่ยวกับการวิวัฒ 2) รวมกันอภิปราย (elaborate) นาการของคนและนําไปติดบนกระดานหนาหอง 2) ครูสุมหยิบที่นักเรียนตอบขึ้นมา อภิปรายรวมกันระหวางนักเรียนและครู 5. การวัดและการประเมินผล (evaluation) สิ่งที่ตองปร ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน ะเมิน ดานความรู 1. การตรวจใบงานที่ 1 1. ครู อธิบายกระบวนวิวัฒนากา นักเรียนทําใบงานได รของมนุษย (K) ถูกตองอยางนอยรอ ยละ 80 ดานทักษะ 2. ทักษะการสังเกต แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ ครู/ ทักษะการใชเหตุผล (P) ปฏิบัติกิจกรรม ประเมินระดับพอใช นักเรียน การสรุปความคิด ขึ้นไป 2. นักเรียนสามารถ แสดงความคิดเห็น ได ดานเจตคติ 3. แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. ครู (เงื่อนไขคุณ มีความกระตือรือรนที่จะค เรียน นักเรียนมีผลการปร ธรรม) นควาหาความรู (A) ะเมินระดับพอใชขึ้น ไป
  • 5. 10 6. สื่อและแหลงการเรียนรู สื่อการเรียนรู 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5 2. เอกสารเรื่องปรับตัว ตกลงเราเปนอะไร 3. ใบกิจกรรมที่ 1 ตะลุยกะโหลกลานป แหลงเรียนรู 1. หองสืบคนขอมูลออนไลน เว็บไซต http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html# รูปภาพ Australopithecus http://www.homosapz.ob.tc/evolution/australopithecus.html http://www.abouthumanevolution.org/html/site/timestone10.htm
  • 6. 11 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม ชื่อกลุม … … … … … …………… ที่ รายงานประเมิน ระดับคุณภาพ หมายเหตุ 3 2 1 1 อานคําชี้แจงและปฏิบัติงานถูกตามขั้นตอน 2 รวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 3 มีการแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความคิด ภายในกลุม 4 ใชทักษะการสังเกตและการมีเหตุผลในการส รุปการทดลอง 5 เก็บ/ทําความสะอาดอุปกรณอยางเปนระเบีย บ รวม คะแนนเฉลี่ย เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง ลงชื่อ … … … … … … . ผูประเมิน ……………… (… … … … … … … . ) … … … ..… … … … วันที… …เดือน … … … … พ.ศ. … … ่ … ………… …. คะแนน ผลการประเมิน 1-5 ปรับปรุง 9-12 ผานเกณฑ 13-15 ดี
  • 7. 12 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน รายการประเมิน สนใจศึกษาเรียนรูเ มีความพยายามแล มีความกระตือรือรนใ ซักถามเพื่อหาเหตุ ชวยเหลือการศึกษ าเรียนรูของเพื่อน ะทํางานเสร็จตาม นการแสงหาความรู ผลและคําตอบ เลขที่-ชื่อ รวมคะแนน กําหนด พิ่มเติม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. เกณฑการประเมิน ประเมินพฤติกรรมการทํางาน องคประกอบที่ 1 มีความกระตือรือรนในการแสวงหาความรู 4 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีมาก มีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรูอยางขมีขมันทุกขั้นตอน 3 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดี มีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรูดวยความตั้งใจทุกขั้นตอน 2 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีพอสมควร มีสวนรวมในกิจกรรม เกือบทุกขั้นตอน 1 หมายถึง สนใจและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูนอย
  • 8. 13 องคประกอบที่ 2 ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบ 4 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดีมาก 3 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดี 2 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดงความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดพอใช 1 หมายถึง มีการซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบนอยมาก องคประกอบที่ 3 สนใจหาความรูเพิ่มเติม 4 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาอยางตอเนื่อง 3 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาหลายครั้ง 2 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาเปนบางครั้ง 1 หมายถึง ไมสนใจศึกษาหาความรูเพิ่มเติม องคประกอบที่ 4 มีความพยายามและทํางานสําเร็จตามกําหนด 4 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด 3 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด โดยเพิ่มเวลาให อีกเล็กนอย 2 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด ตองเพิ่มเวลา ใหอีกมากกวา 1 ครั้ง 1 หมายถึง ไมตั้งใจทํางานใหเสร็จตามที่กําหนด องคประกอบที่ 5 ชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน 4 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนดวยการสอน แนะนํา เสนอแนะวิธีการปฏิบัติเพื่อใหเพื่อนไดเรียนรูไปพรอมๆ กับตนดวยความเต็มใจ 3 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนมาก แตชวยในลักษณะแบบบอกความรู หรือทําใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู 2 หมายถึง ใหความชวยเหลือเพื่อนบางเล็กนอย และชวยในลักษณะบอกความรู หรือทําใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู 1 หมายถึง ไมใหมีความชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน หรือใหความชวยเหลือ นอยมาก
  • 9. 14 เกณฑการตัดสินผลการเรียน คะแนน ผลการประเมิน 0-4 คะแนน ปรับปรุง 5-10 ผานเกณฑ 11-15 พอใช 16-20 ดี
  • 10. 15 ใบงานที่ 1 ตะลุยกะโหลกโลกลานป คําชี้แจง : ใหนักเรียนคนหากะโหลกศีรษะในกระบะทรายที่จัดเตรียมไวให ทั้งหมดมี 4 ภาพที่แตกตางกัน (นักเรียนตองคนใหครบทั้ง 4 ถาดเวียนกันไปในแตละกลุม) จากนั้นบันทึกลักษณะที่นักเรียนพบลงในรายงาน (งานกลุม) รูปกะโหลกศีรษะ ลักษณะของกะโหลกศีรษะที่พบ (ติดลงในใบงานดวยกาวที่จัดเตรียมไวให) 1. 2. 3. 4.
  • 11. 16 2. นักเรียนคิดวากะโหลกศีรษะที่พบมีลักษณะคลายคลึงกับใครบางที่ใสหนากากแนะนําตัว ตามลําดับวิวัฒนาการ (งานเดี่ยว) กะโหลกศีรษะที่ คลายกับ/ชื่อวิทยาศาสตร สวนไหนที่สามารถสังเกตไดเปนพิเศษ (วาดภาพ) 1. 2. 3. 4.
  • 12. 17 ใบความรู ตกลงเราเปนอะไรกัน : นักเรียนคงสงสัยวาเราเปนพี่นองกับลิง หรือลิงเปนบรรพบุรุษของเรา หรือ หรือ เราเปนอะไรกัน (ตามเพลงยอดฮิตแนเลยใชไหมคะ) วันนี้เราจะมาหาคําตอบกันคะ ภาพที่ 1 วิวัฒนาการมนุษย ที่มา : http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-1070671/Evolution-stops-Future-Man-look- says-scientist.html บรรพบุรุษของมนุษยคือลิงจริงหรือ? มนุษยมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุมไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปนกลุมของสัตวเลี้ยงลูก ดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด สืบเชื้อสายมาจากสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีรก อาศัยและหอยโหน อยูบนตนไมเปนสวนใหญ ลักษณะสําคัญคือ สมองเจริญดีและมีขนาดใหญ มีขากรรไกรสั้นทําให หนาแบน ระบบสายตาใชงานไดดีโดยมองไปขางหนา ระบบการดมกลิ่นไมดีเมื่อเปรียบเทียบ กับสัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิดอื่น มีเล็บแบนทั้งนิ้วมือและนิ้วเทา มีพฤติกรรมทางสังคมที่ซับซอน สัตวในกลุมไพรเมต ไดแก กระแต ลิงลม ลิง ชะนี อุรังอุตัง กอริลลาชิมแพนซีและมนุษย ดังสายวิวัฒนาการดานลางนี้ การจําแนกทางวิวัฒนาการ สายสัมพันธทางวิวัฒนาการระหวางคนกับลิง
  • 13. 18 ระดับความสัมพันธ มนุษยปจจุบัน ลิงกอริลลา ลิงชิมแปนซี Modern Human Gorilla Chimpanzee สปชีส (Species) Homo sapiens Gorilla gorilla Pan troglodytes สกุล (Genus) Homo Gorilla Pan วงศ (Family) Hominids Pongids Pongids ลําดับ (Order) Primates Primates Primates ชั้น (Class) Mammalia Mammalia Mammalia ไฟลัม (Phylum) Chordata Chordata Chordata อาณาจักร (Kingdom) Animalia Animalia Animalia บรรพบุรุษของมนุษยเริ่มปรากฏครั้งแรกในสมัยไมโอซีน ในราวประมาณ 4.3 ลานปกอน มีลักษณะสภาพแวดลอมเปนปาโปรง มีตนไมที่นอยกวาปาฝนลิงที่อยูในปาจึงตองปรับตัวใหอยูบนพื้นดิน ไดดวย การปรับตัวเปนไปอยางคอยเปนคอยไป จนในที่สุด 3,900,000 ปกอน ลิงกลุมนั้นไดวิวัฒนาการ มาเปนสปชีส Australopithecus afarensis ซึ่งสามารถใชชีวิตไดทั้งบนตนไมและบนพืนดิน สามารถเดิน ้ สองขาและเดินสี่ขาได ตางจากลิงในอดีตที่ไมสามารถเดินสองขาได บรรพบุรุษที่มีความคลายมนุษย มากที่สุดคือ ออสทราโลพิเทคัส (Australopithecus) ในป พ.ศ.2518 นักบรรพชีวินไดคนพบซาก ดึกดําบรรพที่มีความสมบูรณประมาณ 40 เปอรเซ็นตในเอทิโอเปย และไดตั้งชื่อตามบริเวณที่พบคือ Afar Triangle วา Australopithecus afarensis คาดวา A. afarensis มีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 2.9-3.9 ลานปกอน จากหลักฐานของลักษณะรอยเทาที่ปรากฏในเถาภูเขาไฟ จากกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกเชิงกราน ทําใหสันนิษฐานไดวา A.afarensis มีแขนยาวจึงนาสามารถดํารงชีวิตบางสวนอยูบนตนไมและสามารถ เดินสองขาบนพื้นดินไดดีแตก็ยังไมเหมือนมนุษย มีความจุสมองประมาณ 400-500 ลูกบาศกเซนติเมตร มีฟนเขี้ยวที่ลดรูปลง ปจจุบันเชื่อวา A. afarensis เปนบรรพบุรุษของออสทราโลพิเทคัสสปชีสอื่นๆ และมนุษยจีนัสโฮโมดวย
  • 14. 19 ภาพสันนิษฐานลักษณะของ A. afarensis จากการศึกษาซากดึกดําบรรพรอยเทาที่ปรากฏในเถาภูเขาไฟ ซากดึกดําบรรพของ A. afarensis พบที่เอธิโอเปย หรือที่นักบรรพชีวินเรียกวา ลูซี สูงประมาณ 1 เมตร ซากดึกดําบรรพกระดูกกะโหลกศีรษะของ Australopithecus วิวัฒนาการของมนุษยจีนัสโฮโม มนุษยจีนัสโฮโมมีวิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 2 ลานปที่ผานมา ซากดึกดําบรรพของจีนัสโฮโม ที่พบวามีอายุมากที่สุดคือ Homo habilis ในชั้นหินอายุ 1.8 ลานปทางตอนใตของแอฟริกา มีความจุ สมองประมาณ 750 ลูกบาศกเซนติเมตร มีความสูงประมาณ 1.5 เมตร มีกระดูกนิ้วมือที่คลายมนุษย ปจจุบันมากจึงนาจะชวยใหสามารถหยิบจับหรือใชเครื่องมือไดดี ซึ่งจากหลักฐานที่พบในบริเวณเดียวกับ ซากดึกดําบรรพโครงรางกระดูก เชน เครื่องมือหินและรองรอยการอยูอาศัย ทําใหสันนิษฐานไดวา H. habilis อาจเปนพวกแรกที่รูจักการประดิษฐขวาน สิ่ว มีดจากหินเพื่อนํามาใชประโยชนในการดํารงชีวิต ก็เปนได
  • 15. 20 H. erectus เปนมนุษยพวกแรกที่รูจักใชไฟ ซากดึกดําบรรพกระดูกกะโหลกศีรษะ H. habilis และ H. erectus มีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษรวมกัน แตมนุษยปจจุบันนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus H. erectus ในแอฟริกาถือเปนบรรพบุรุษของ Homo sapiens หรือมนุษยปจจุบัน อยางไรก็ตาม พบวามีมนุษยลักษณะกึ่งกลางระหวาง H. erectus และ H. sapiens เกิดขึ้นเมื่อ 200,000-300,000 ปที่แลวดวยซึ่งก็คือ มนุษยนีแอนเดอรทัล (Neanderthal man) มนุษยนีแอนเดอรทัลนั้นมีสมอง ขนาดใหญเทากับหรือมากกวามนุษยปจจุบัน โครงรางมีลักษณะเตี้ยล่ําแข็งแรง จมูกแบน รูจมูกกวาง หนาผากลาดแคบ มีสันคิ้วหนา คางแคบหดไปดานหลัง มีการอยูรวมกันเปนสังคม ใชไฟและมี เครื่องนุงหม มีรองรอยของอารยธรรมในกลุม เชน การบูชาเทพเจาและมีพิธีฝงศพ เปนตน นักมานุษยวิทยาไดจัดใหมุษยนีแอนเดอรทัลอยูในสปชีสเดียวกันกับมนุษยปจจุบัน (Homo sapiens sapiens) แตแยกกันในระดับซับสปชีส เปน Homo sapiens neanderthalensis เชื่อวาทั้ง H. s. sapiens และ H. s. neanderthalensis มีชีวิตอยูรวมกันมาหลายพันปและยังไมเปนที่แนชัดวามนุษย ทั้งสองกลุมมีความเกี่ยวของกันอยางไร แตก็อาจเปนไปไดวาจะมีบรรพบุรุษรวมกัน และเมื่อ H. s. sapiens สามารถปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมไดมากกวา ในที่สุด H. s. neanderthalensis ก็สูญพันธุไป จากหลักฐานซากดึกดําบรรพที่ขุดพบอยางมากแถบบริเวณตะวันตกของทวีปยุโรป ทําให สันนิษฐานไดวามนุษยนีแอนเดอรทัลกระจายตัวอยูมากในบริเวณนีในปจจุบันจากการศึกษาทาง ้ ชีววิทยาระดับโมเลกุล การสกัด DNA จากกระดูกมนุษยนีแอนเดอรทัลชี้ใหเห็นวา มนุษยนีแอนเดอรทัลบางสวนอาจมีผมสีแดงและมีผิวซีด
  • 16. 21 ภาพวาดลักษณะของกะโหลกศีรษะของมนุษยปจจุบัน (ซาย) เปรียบเทียบกับมนุษยนีแอนเดอรทัล (ขวา) กําเนิดของมนุษยปจจุบันนั้นมาจากไหน? สมมติฐานเกี่ยวกับกําเนิดของมนุษยปจจุบันมี 2 แนวทาง ซึ่งอาศัยหลักฐานจากซากดึกดําบรรพ ของมนุษยโบราณมาสนับสนุนแนวคิด สมมติฐานแรก เชื่อวามนุษยปจจุบันที่อยูในตางทวีปนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus ที่แพรกระจายจากแอฟริกาไปอยูตามที่ตางๆ เชน ยุโรป เอเชียและออสเตรเลีย เมื่อประมาณ เกือบสองลานปที่ผานมา จากนั้นจึงวิวัฒนาการเปนมนุษยปจจุบันที่อาศัยอยูตามแตละที่ทั่วโลก และการที่มนุษยเชื้อชาติตางๆไมเกิดความแตกตางกันในระดับสปชีสจนเกิดสปชีสใหมเพราะมนุษยใ นแตละที่ยังคงมีการผสมผสานทางเผาพันธุมาโดยตลอด สมมติฐานที่สอง เชื่อวามนุษยปจจุบนที่อยูในตางทวีปนั้นมีวิวัฒนาการมาจาก H. erectus ั ในแอฟริกา จากนั้น H. erectus ไดแพรกระจายไปอยูตามที่ตางๆทั่วโลกแตในที่สุดก็ สูญพันธุไปจนหมด เหลือเพียงกลุม H. erectus ในแอฟริกากลุมเดียวเทานั้น จนกระทั่งเมื่อ 100,000 ปที่ผานมานี้เอง H. erectus ในแอฟริกา กลุมที่มีสายวิวัฒนาการตอเนื่องมานี้จึงแพรกระจายออกไป ยังสถานที่ตางๆโดยไมมีการผสมผสานทางเผาพันธุกับมนุษยโบราณที่อพยพมากอนหนานั้น
  • 17. 22 ในปจจุบัน จากผลการศึกษาความหลากหลายของ mitochondria DNA ในตัวอยางคนพื้นเมือง จากภูมิภาคตางๆ ทําใหพบขอมูลเกี่ยวกับกําเนิดของมนุษยปจจุบันโดยผลการศึกษาสนับสนุน แนวสมมติฐานที่วามนุษยปจจุบันนั้นถือกําเนิดขึ้นมาจากแอฟริกา และมีการแพรกระจายออกสู สถานทีตางๆเมื่อราวแสนปที่ผานมานี่เอง ่ สมมติฐานของกําเนิดมนุษยในปจจุบัน
  • 18. 23 แหลงอางอิง http://th.wikipedia.org/wiki http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76024 http://isiam.info/human/species.html http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass-uploads/libs/html/50549/learn1_3.html
  • 19. 24 เฉลยใบงาน รูปกะโหลกศีรษะ ลักษณะของกะโหลกศีรษะที่พบ (ติดลงในใบงานดวยกาวที่จัดเตรียมไวให) (แนวการตอบ) หัวกะโหลกขนาดเล็ก มีฟนยื่นออกมา ฟนตัดมีขนาดใหญและขากรรไกรใหญ กะโหลกตรงคิ้วนูนออกมา หนาผากมีขนาดเล็กมาก  1. ใบหนาขนาดใหญ ขากรรไกรขนาดใหญ แตฟนหนาลดการยื่นออกไปขางหนา กะโหลกตรงคิ้วนูนนอยกวาอันที่ 1 2. กะโหลกมีลักษณะกลม ฟนขนาดเล็ก กรามและขากรรไกรลดขนาดลง กะโหลกคิ้วบริเวณหัวตานูนสูงขึ้นและยาวติดกัน มีบริเวณหนาผากเล็กนอย 3. มีหนาผากตั้งขึ้น สันคิ้วเล็กลง ไมยาวติดกัน มีฟนขนาดเล็ก 4. ****หมายเหตุ นักเรียนสามารถอธิบายโดยการเปรียบเทียบระหวางรูปได เชน ภาพที่ 1มีขนาดกรามใหญที่สุด
  • 20. 25 ตอนที่ 2 กะโหลกศีรษะที่ คลายกับ/ชื่อวิทยาศาสตร สวนไหนที่สามารถสังเกตไดเปนพิเศษ (วาดภาพ) ลักษณะฟนหนาที่ยื่นออกมา Australopithecus afarensis 1. ลักษณะชวงหนาผากที่แคบ H. habilis 2. กะโหลกกลม H. erectus 3. ชวงหนาผากและคิ้วไมติดกัน Homo sapiens sapiens 4.