SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
1


                       กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์
                            ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๒
สาระที ่ ๑ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ กระบวนการดำ า รงชี ว ิ ต
มาตรฐาน ว ๑. ๑                 เข้ า ใจหน่ ว ยพื ้ น ฐานของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความ
           สั ม พั น ธ์ ข องโครงสร้ า ง และหน้ า ที ่ ข องระบบต่ า งๆ
           ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ที ่ ท ำ า งานสั ม พั น ธ์ ก ั น มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป
           ใช้ ใ นการดำ า รงชี ว ิ ต ของตนเองและดู แ ลสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต

     ตั ว ชี ้ ว ั ด           ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร        ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.      อธิบาย      ๑. ระบบย่อยอาหาร ระบบ                   สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
 โครงสร้างและการ        หมุนเวียนเลือด ระบบ              รวบรวม จัดกระทำา วิเคราะห์
 ทำางานของระบบ          หายใจ ระบบขับถ่าย                แสดงผล บันทึก เขียนรายงาน
                        ระบบสืบพันธุ์ และระบบ            และอิบายโครงสร้างและการ
 ย่อยอาหาร ระบบ
                        ประสาทของมนุษย์ ใน               ทำางานของระบบต่างๆ ในร่าง
 หมุนเวียนเลือด
                        แต่ละระบบ ประกอบด้วย             กายมนาย์และสัตว์โดยใช้
 ระบบหายใจ              อวัยวะหลายชนิดที่ทำางาน          แผนภาพหรือไดอะแกรม
 ระบบขับถ่าย            อย่างเป็นระบบ
 ระบบสืบพันธุ์ ของ ๒. ระบบย่อยอาหาร ระบบ
 มนุษย์และสัตว์         หมุนเวียนเลือด ระบบ
 รวมทั้งระบบ            หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบ
 ประสาทของมนุษย์        สืบพันธุ์ของสัตว์ ประกอบ
                        ด้วยอวัยวะหลายชนิดที่
                        ทำางานอย่างเป็นระบบ
๒. อธิบายความ          ระบบย่อยอาหาร ระบบ                   สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน
  สัมพันธ์ของ       หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ             และลงมือศึกษา รวบรวม จัด
  ระบบต่างๆ ของ     ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์            กระทำา วิเคราะห์ แสดงผล
  มนุษย์และนำา      ของมนุษย์ในแต่ละระบบมีการ            บันทึก อธิบายความสัมพันธ์
  ความรู้ไปใช้      ทำางานที่สัมพันธ์กันทำาให้           ระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย์
  ประโยชน์          มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ได้อย่าง         สร้างคำาถามใม่ ค้นคว้าเพิ่ม
                    ปกติ ถ้าระบบใดระบบหนึ่ง              เติมและนำาความรู้ไปใช้ดูแล
                    ทำางานผิดปกติ ย่อมส่งผลกระ           ตนเอง
                    ทบต่อระบบอื่นๆ ดังนั้นจึงต้อง
                    มีการดูแลรักษาสุขภาพ
๓.สังเกตและ         นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร               ตังคำาถาม วางแผน สังเกต
                                                           ้
  อธิบาย                แสง อุณหภูมิ และการ               ทดลองการตอบสนองต่อสิ่ง
  พฤติกรรมของ       สัมผัสจัดเป็นสิ่งเร้าภายนอก           เร้าของมนุษย์และสัตว์
  มนุษย์และสัตว์ที่ ส่วนการเปลี่ยนแปลงระดับสาร            รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล
  ตอบสนองต่อสิ่ง    ในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน จัด            สรุปผลการทดลอง อธิบาย
2


เร้าภายนอกและ   เป็นสิ่งเร้าภายใน ซึ่งทั้งสิ่งเร้า   พฤติกรรมการตอบสนองต่อ
ภายใน           ภายนอกและสิ่งเร้าภายในมีผล           สิ่งเร้าของมนุษย์และสัตว์
                ต่อมนุษย์และสัตว์ ทำาให้แสดง
                พฤติกรรมต่างๆ ออกมา
3




    ตั ว ชี ้ ว ั ด         ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๔.อธิบายหลักการ       ๑.เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ             สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
  และผลของการ           ใช้เทคโนโลยีเพื่อทำาให้สิ่งมี   รวบรวม            จัดกระทำา
  ใช้เทคโนโลยี          ชีวิตหรือองค์ประกอบของ          วิเคราะห์ แสดงผล บันทึกเขียน
  ชีวภาพในการ           สิ่งมีชีวิตมีสมบัติตาม          รายงายและอธิบายหลักการ
  ขยายพันธุ์            ต้องการ                         และผลของการใช้เทคโนโลยี
  ปรับปรุงพันธุ์      ๒.         การผสมเทียม การ        ชีวภาพพร้อมจัดบอร์ด/ป้าย
  และเพิ่มผลผลิต        ถ่ายฝากตัวอ่อน                  นิทรรศการ
  ของสัตว์และนำา        การโคลน เป็นการใช้
  ความรู้ไปใช้          เทคโนโลยีชีวภาพในการ
  ประโยชน์              ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์
                        และเพิ่มผลผลิตของสัตว์
๕.ทดลองวิเคราะห์      ๑.แป้งนำ้าตาล ไขมัน โปรตีน         ตั้งคำาถาม ออกแบบวิธีการ
 และอธิบายสาร           วิตามินเป็นสารอาหารและ          ศึกษาทดลอง ทำาการสำารวจ
 อาหารในอาหารมี         สามารถทดสอบได้                  ตรวจสอบทดลองการทดสอบ
 ปริมาณพลังงาน        ๒.         การบริโภคอาหาร         สารอาหารในอาหารและการ
 และสัดส่วนที่          จำาเป็นต้องให้ได้สารอาหาร       วิเคราะห์ปริมาณสารอาหารที่
 เหมาะสมกับเพศ          ที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่          ให้พลังงานเก็บรวบรวมข้อมูล
 และวัย                 เหมาะสมกับเพศและวัยและ          บันทึกวิเคราะห์ สรุปผล เขียน
                        ได้รับปริมาณพลังงานที่          รายงาน นำาเสนอและอธิบาย
                        เพียงพอกับความต้องการ           สารอาหารในอาหารที่ให้
                        ของร่างกาย                      พลังงาน ตั้งคำาถามใหม่และ
                                                        ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
                                                        ในการนำาความรู้ไปใช้โยชน์
๖.       อภิปรายผล    สารเสพติดแต่ละประเภทมีผล                สังเกต ตั้งคำาถามวางแผน
  ของสารเสพติดต่อ     ต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ศึกษา และทำาการรวบรวม
  ระบบต่างๆ ของ       ทำาให้ระบบเหล่านั้นทำาหน้าที่    ข้อมูล จัดกระทำา วิเคราะห์
  ร่างกาย และ         ผิดปกติ ดังนั้นจึงต้องหลีกเลี่ยง แสดงผล บันทึก อภิปรายผล
  แนวทางในการ         การใช้สาร เสพติด และหา           ของสารเสพติดมีผลต่อร่างกาย
  ป้องกันตนเองจาก     แนวทางในการป้องกันตนเอง และแนวทางป้องกันและนำา
  สารเสพติด           จาก สารเสพติด                    เสนอในรูปของคำาขวัญ ป้าย
                                                       รณรงค์หรือแสดงบทบาท
                                                       สมมติ
4
5


สาระที ่ ๓ สารและสมบั ต ิ ข องสาร
มาตรฐาน ว ๓. ๑         เข้ า ใจสมบั ต ิ ข องสาร ความสั ม พั น ธ์
           ระหว่ า งสมบั ต ิ ข องสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด
           เหนี ่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค มี ก ระบวนการสื บ เสาะ
           หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ ส ื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ นำ า
           ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์

     ตั ว ชี ้ ว ั ด        ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร        ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.สำารวจและ            ๑. ธาตุเป็นสารบริสุทธิ์ที่         ตั้งคำาถาม วางแผนการ
  อธิบายองค์               ประกอบด้วยอะตอม ชนิด         สำารวจ สืบค้น รวบรวมข้อมูล
  ประกอบ สมบัติ            เดียวกัน และไม่สามารถ        เลือกวิธีการสำารวจและลงมือ
  ของธาตุและ               แยกสลายเป็นสารอื่นได้อีก     สำารวจรวบรวมข้อมูล บันทึก
  สารประกอบ                โดยวิธีการทางเคมี            ข้อมูล วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
                       ๒.สารประกอบเป็นสาร               และจำาแนกสารเป็นธาตุและ
                           บริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุ   สารประกอบ และอธิบายองค์
                           ตังแต่สองธาตุขึ้นไป รวม
                             ้                          ประกอบและสมบัติของธาตุและ
                           ตัวกันด้วย อัตราส่วนโดย      สารประกอบ นำาเสนอผลด้วย
                           มวลคงที่ และมีสมบัติแตก      แผนผังชนิดของสารโดยใช้
                           ต่างจากสมบัติเดิม ของ        องค์ประกอบของสารเป็น
                           ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ        เกณฑ์
๒.     สืบค้น          นั ก เรี ย นอะไร                 นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้
 ข้อมูลและเปรียบ        ธาตุโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุ         ตังคำาถาม วางแผนการ
                                                              ้
 เทียบสมบัติของ        อโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี        สำารวจข้อมูลเลือกวิธีสืบค้น
 ธาตุโลหะ ธาตุ         มีสมบัติบางประการคล้ายกัน        ข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์
 อโลหะ ธาตุกึ่ง        และแตกต่างกัน- การเลือกใช้       เปรียบเทียบ สมบัติของธาตุ
 โลหะและธาตุ           ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต จากธาตุและ      นำาเสนอในผังมโนทัศน์
 กัมมันตรังสีและ       สารประกอบได้ถูกต้อง เหมาะ        จำาแนกธาตุตามสมบัติและนำา
 นำาความรู้ไปใช้       สม ปลอดภัย และยั่งยืน            ความรู้ไปใช้ในการ เลือกใช้
 ประโยชน์                                               วัสดุอุปกรณ์อย่างมีเหตุผล นำา
                                                        เสนอผลงาน
๓.      ทดลอง          นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร           นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้
 และอธิบายหลัก            การกรอง การตกผลึก การ            สังเกต ทดลอง รวบรวม
 การแยกสารด้ ว ย       สกัด การกลั่นและโครมาโต          ข้อมูลเกี่ยวกับการแยกสาร
 วิธีการกรองการ        กราฟี เป็นวิธีการแยกสารที่มี     ด้วยวิธีการต่าง ๆ วิเคราะห์และ
 ตกผลึก การสกัด        หลักการแตกต่างกัน และ            สรุปหลักการแยกสารของ
 การกลั่น และโค        สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ใน         แต่ละวิธีดวยแผนภาพหรือ
                                                                    ้
 รมาโทกราฟี และ        ชีวิตประจำาวัน                   แผนผัง นำาความรู้ไปใช้ในการ
6


นำาความรู้ไปใช้   แยกสารที่กำาหนดให้และนำา
ประโยชน์          ความรู้ไปใช้ในการแยกสารที่
                  มีผลต่อภาวะของสิ่งแวดล้อม
                  โดยการทำาโครงงาน
7



สาระที ่ ๓ สารและสมบั ต ิ ข องสาร
มาตรฐาน ว ๓.๒             เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการ
           เปลี ่ ย นแปลงสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การ
           เกิ ด ปฏิ ก ิ ร ิ ย า มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละ
           จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ และนำ า ความรู ้
           ไปใช้ ป ระโยชน์

     ตั ว ชี ้ ว ั ด         ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
 ๑.      ทดลองและ นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร                นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้
  อธิบายการ         ๑.        เมื่อสารเกิดปฏิกริยา          ตั้งคำาถาม วางแผนการ
  เปลี่ยนแปลง         เคมีจะมี พลังงานเข้ามา            ทดลอง เลือกวิธีทดลองและ
  สมบัติ มวล และ      เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นการ         ทำาการทดลอง รวบรวมข้อมูล
  พลังงานเมื่อสาร     ดูดพลังงาน ความร้อนหรือ           วิเคราะห์ นำาเสนอและอธิบาย
  เกิดปฏิกิริยาเคมี   คายพลังงาน ความร้อน               พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา
  รวมทั้งอธิบาย     ๒.       อุณหภูมิ ความเข้มข้น       เคมีอย่างมีเหตุผล อธิบาย
  ปัจจัยที่มีผลต่อ    ธรรมชาติของสาร และตัว             ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
  การเกิดปฏิกิริยา    เร่งปฏิกิริยามีผลต่อการ เกิด      ปฏิกิริยาเคมีโดยใช้แผนผัง
  เคมี                ปฏิกิริยาเคมีของสาร               และการนำาความรู้ไปใช้
                                                        ประโยชน์ในสถานะการณ์ใหมื
                                                        ที่พบในชีวิตประจำาวัน
๒. ทดลอง อธิบาย        นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร           นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้
 และเขียน              ๑.สมการเคมีใช้เขียนแสดง              ตั้งคำาถาม วางแผนการ
 สมการเคมีของ              การเกิดปฏิกิริยาเคมีของ      ทดลอง เลือกวิธีการทดลอง
 ปฏิกริยาของสาร            สารตั้งต้นและสาร             และทำาการทดลองการเกิดปฏิ
 ต่างๆ และนำา              ผลิตภัณฑ์                    กริยาเคมีของสารต่าง ๆ
 ความรู้ไปใช้          ๒. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ นำา
 ประโยชน์                  ออกซิเจน โลหะกับนำ้า         เสนอ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมและ
                           โลหะกรด กรดกับเบส และ เขียนสมการเคมีของสารต่าง ๆ
                           กรดกับคาร์บอเนต              ที่เกิดปฏิกริยาเคมี นำาความรู้
                       ๓.          การเลือกใช้วัสดุและ ไปใช้ในการเลือกใช้วัสดุและ
                           สารรอบตัวในชีวิตประจำา       สารรอบตัวในชีวิตประจำาวัน
                           วันควรเลือกอย่างเหมาะสม ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
                           และปลอดภัย โดยคำานึงถึง
                           ปฏิกิริยา        ที่เกิดขึ้น
๓. สืบค้นข้อมูล            สารเคมีและปฏิกิริยาเคมีมี           ตั้งคำาถาม วางแผนการ
 และอภิปรายผล          ทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมี      สำารวจ สืบค้นข้อมูล เลือกวิธี
 ของสารเคมี            ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ทั้งทาง      การและทำาการสืบค้นข้อมูล
 ปฏิกิริยาเคมีต่อ      ตรงและทางอ้อม                    รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป
 สิ่งมีชีวิตและสิ่ง                                     นำาเสนอและอภิปราย ผลของ
 แวดล้อม                                                สารเคมี ปฏิกิริยาเคมี ต่อสิ่งมี
                                                        ชีวิตและสิ่งแวดล้อม นำาความรู้
                                                        ไปใช้ในการทำาการศึกษา
8


                                                          สถานะการณ์ใหม่และส่งเสริม
                                                          ความตระหนักถึงผลกระทบต่อ
                                                          สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม




 ๔. สืบค้นข้อมูล       ๑. การใช้สารเคมีด้วยความ             วางแผนวิธีการสืบค้นข้อมูล
   และอธิบายการ        ระมัดระวังจะช่วย ป้องกันไม่        เลือกวิธีการและทำาการสืบค้น
   ใช้สารเคมีอย่าง     ให้เกิด อันตรายต่อตนเอง            รวบรวมข้อมูลการใช้สารเคมี
   ถูกต้อง ปลอดภัย     และผู้อื่น โดยใช้ให้ถูกต้อง        อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และวิธี
   วิธีป้องกันและ      ปลอดภัย                            การป้องกัน แก้ไขอันตรายที่
   แก้ไขอันตรายที่     และคุ้มค่า                         เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี
   เกิดขึ้นจากการ      ๒. ผู้ใช้สารเคมีควรรู้จัก          วิเคราะห์จัดกระทำาข้อมูล นำา
   ใช้สารเคมี          สัญลักษณ์เตือนภัยบนฉลาก            เสนอข้อมูลโดยวิธีการต่าง ๆ
                       และรู้วิธีแก้ไขและการ              นำาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์
                       ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับ      ใหม่ และนำาเสนอตัวอย่างการ
                       อันตรายจากสารเคมี                  ใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง

สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่
มาตรฐาน ว ๔. ๑       เข้ า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
           แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป
           ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ค ุ ณ ธรรม

     ตั ว ชี ้ ว ั ด          ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร          ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.      ทดลองละ          แรงเป็นปริมาณเว็กเตอร์ เมื่อ         ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน
                                                                            ้
  อธิบายการหาแรง       มีแรงหลายแรงในระนาบ                 ออกแบบวิธีการทดลอง เลือกวิธี
  ลัพ์ของแรงใน         เดียวกันกระทำาต่อวัตถุเดียวกัน      และทำาการทดลองเกี่ยวกับการ
  ระนาบเดียวกันที่     สามารถหาแรงลัพธ์โดยใช้หลัก          หาแรงลัพ์ของแรงในระนาบ
  กระทำาต่อวัตถุ       การรวมเว็กเตอร์                     เดียวกันที่กระทำาต่อวัตถุ
                                                           รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป
                                                           นำาเสนอผลการทดลองในรูป
                                                           ของรายงานและสื่อต่าง ๆ
๒.         อธิบายแรง     เมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์          ตั้งคำาถามวางแผนการสำารวจ
 ลัพธ์ที่กระทำาต่อ     กระทำาต่อวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุนั้น ตรวจสอบ แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อ
 วัตถุทหยุดนิ่งหรือ
        ี่                                                 วัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่
 วัตถุเคลื่อนที่ด้วย   จะหยุดนิ่งตลอดไป แต่ถ้าวัตถุ        ด้วยความเร็วคงตัว ทำาการ
 ความเร็วคงตัว         เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวก็จะ สำารวจตรวจสอบเก็บรวบรวม
                       เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว         ข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์
                       ตลอดไป                              และนำาเสนอผลสรุปผลการ
                                                           สำารวจตรวจสอบ
9




สาระที ่ ๕ พลั ง งาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑          เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ
           การดำ า รงชี ว ิ ต การเปลี ่ ย นรู ป พลั ง งาน ปฏิ ส ั ม พั น ธ์
           ระหว่ า งสารและพลั ง งาน ผลของการใช้ พ ลั ง งานต่ อ
           ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวนการ สื บ เสาะ
           หาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละ นำ า ความรู ้ ไ ปใช้
           ประโยชน์

     ตั ว ชี ้ ว ั ด        ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร        ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.       ทดลองและ         แสงตกกระทบผิวของวัตถุ            ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน
                                                                        ้
  อธิบายการสะท้อน      หรือตัวกลาง อีกตัวกลางหนึ่ง     วางแผนการทดลองละสืบค้น
  ของแสงการหักเห       แสงจะเปลี่ยนทิศทางการ           ข้อมูลเกี่ยวกับสะท้อนของแสง
  ของแสง และนำา        เคลื่อนที่โดยการสะท้อนของ       การหักเหของแสง และนำาความ
  ความรู้ไปใช้         แสงหรือการหักเหของแสง ซึ่ง      รู้ไปใช้ประโยชน์ ทดลอง
  ประโยชน์             สามารถนำาความรู้ไปใช้           รวบรวมข้อมูล บันทึก ข้อมูล
                       ประโยชน์เกี่ยวกับแว่นตา         วิเคราะห์สรุปและนำาเสนอผลใน
                       กระจกทัศนอุปกรณ์ และเส้นใย      รูปของรายงาน และตั้งคำาถาม
                       นำาแสง                          ใหม่เพื่อทำาโครงงานสิ่ง
                                                       ประดิษฐ์ที่นำาความรู้เรื่องการ
                                                       สะท้อนและการหักเหของแสง
                                                       ไปใช้ประโยชน์ รายงานและนำา
10


                                                          เสนอผลงานโครงงาน




๒. อธิบายผลของ        ๑. นัยต์ตาของคนเราเป็นอวัย             ตังคำาถาม ตั้งสมมติฐาน
                                                               ้
 ความสว่าง            ะใช้มองดูสิ่งต่าง ๆ นัยน์ตามี       วางแผนการสืบค้นข้อมูล
 ที่มีต่อมนุษย์และ    องค์ประกอบสำาคัญหลายอย่าง           ทำาการสืบค้นข้อมูล เก็บ
 สิ่งมีชีวิต อื่น ๆ   ๒. ความสว่างมีผลต่อนัยตาขอ          รวบรวมข้อมูล บันทึกผล
                      งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ จึงนำา   วิเคราะห์ อภิปราย สรุป จัดทำา
                      ความรู้นี้มาช่วยในการจัดความ        รายงานและนำาเสนออธิบายผล
                      สว่างให้เหมาะสมกับการ               ของความสว่างที่มีต่อมนุษย์
                      ทำางานและการดำารงชีวิต              และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ

๓.       ทดลองและ        เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุ           ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน
                                                                           ้
  อธิบายการดูด        จะดูดกลืนแสงสีบางสีไว้ และ          วางแผนออกแบบการทดลอง
  กลืนแสง      สี     สะท้อนแสงสีที่เหลือออกมา            และการสืบค้นข้อมุลเกี่ยวกับ
  การมองเห็นสีของ     ทำาให้เรามองเห็นวัตถุเป็นสีต่าง     การดูดกลืนแสง สี และการมอง
  วัตถุ และ นำา       ๆ ซึ่งมนุษย์นำาความรู้เรื่องการ     เห็นสีของวัตถุและการนำาความ
  ความรู้ไปใช้        ดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของ         รู้ไปใช้ประดยชน์ ทดลอง
  ประโยชน์            วัตถุไปใช้ประโยชน์ในการถ่าย         สืบค้น รวบรวมข้มุล บันทึกข้อ
                      รูปและการแสดง                       มุล วิเคราะห์ จัดกระทำาข้อมูล
                                                          สรุป เขียนรายงานและนำาเสนอ
                                                          ผลการทดลองและการสืบค้น
                                                          ข้อมูล




สาระที ่ ๖ กระบวนการเปลี ่ ย นแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖. ๑            เข้ า ใจกระบวนการต่ า ง ๆ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น บนผิ ว
           โลกและภายในโลก ความสั ม พั น ธ์ ข องกระบวนการ
           ต่ า ง ๆ ที ่ ม ี ผ ลต่ อ การเปลี ่ ย นแปลงภู ม ิ อ ากาศ
           ภู ม ิ ป ระเทศ และสั ณ ฐานของโลก มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะหาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่
           เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์
11


    ตั ว ชี ้ ว ั ด         ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร         ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.      สำารวจ           ดินมีลักษณะและสมบัติแตก         ตังคำาถาม วางแผนสำารวจ
                                                           ้
  ทดลองและอธิบาย      ต่างกัน        ตามวัตถุต้น         ตรวจสอบและ ทดลอง รวบรวม
  ลักษณะของชั้น       กำาเนิดดิน ลักษณะภูมิอากาศ         ข้อมูล บันทึกผลวิเคราะห์ศึกา
  หน้าตัดดิน สมบัติ   ภูมิประเทศสิ่งมีชีวิต และระยะ      ความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียรู้
  ของดิน และ          เวลาในการเกิด ชั้นหน้าตัดดิน       อภิปราย สรุปและ อธิบาย
  กระบวนการเกิด       แต่ละชั้นแต่ละพื้นที่ ก็มีสมบัติ   ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน สมบัติ
  ดิน                 ลักษณะและองค์ประกอบแตก             ของดินและกระบวนการเกิดดิน
                      ต่างกัน                            นำาเสนอด้วยรายงาน

๒.     สำารวจ         ๑. ดินแต่ละบริเวณมีลักษณะ       ตังคำาถาม วางแผนการ
                                                         ้
 วิเคราะห์ และ           และสมบัติแตกต่างกัน      สำารวจตรวจสอบและทำาการ
 อธิบายการใช้            การนำาไปใช้ประโยชน์จึง   สำารวจ สังเกตสืบค้น รวบรวม
 ประโยชน์และ             ต่างกัน                  ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์
 ปรับปรุงคุณภาพ       ๒. การปรับปรุงคุณภาพของ     ดินและวิธีการปรับปรุงคุณภาพ
 ของดิน                  ดิน ปรับตามสภาพของดิน    ดิน วิเคราะห์ อภิปราย จัดทำา
                         เพื่อให้เหมาะสมต่อการใช้ รายงาน นำาเสนอ แผนภาพการ
                         ประโยชน์                 ใช้ประโยชน์ของดินในท้องถิ่น
                                                  และโครงการอนุรักษ์และ
                                                  ปรับปรุงคุณภาพของดิน
๓.      ทดลอง            ดิน เกิดจากกระบวนการ        ตั้งคำาถาม วางแผนการ
 เลียนแบบ เพื่อ       เปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาทั้ง สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ
 อธิบาย               บนและใต้ผิวโลก หินจึงมี     สืบค้น ทดลอง เลียนแบบ สังเกต
 กระบวนการเกิด        ลักษณะ องค์ประกอบแตกต่าง รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป
 และลักษณะองค์        กันทั้งด้านกายภาพและเคมี    อธิบายกระบวนการเกิด และ
 ประกอบของหิน                                     ลักษณะองค์ประกอบของหิน
                                                  ด้วยสมุดภาพ
๔ ทดสอบและสังเกต         หิน แบ่งเป็น ๓ประเภทคือ      ตั้งคำาถาม วางแผนการ
   องค์ประกอบและ หินอัคนี หินตะกอน และ            สำารวจตรวจสอล ทำาการสำารวจ
   สมบัติของหิน เพื่อ หินแปร หินแต่ละชนิดนำาไปใช้ สืบค้น สังเกต การทดลอง
   จำาแนกประเภท       ประโยชน์ได้แตกต่างกัน       ทดสอบ องค์ประกอบและสมบัติ
   ของหิน และนำา                                  ของหิน รวบรวมข้อมูล
   ความรู้ไปใช้                                   วิเคราะห์ จำาแนกประเภทของ
   ประโยชน์                                       หิน การใช้ประโยชน์จากหิน
                                                  ชนิดต่างๆ นำาเสนอ ด้วยสมุด
                                                  ความรู้เรื่องหิน
12



     ตั ว ชี ้ ว ั ด       ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๕.    ตรวจสอบ        ๑. เมื่อภาวะแวดล้อม                 ตั้งคำาถาม วางแผนการ
 และอธิบาย           ธรรมชาติที่อยู่ภายใต้อุณหภูมิ    สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ
 ลักษณะทาง           และความดันที่เหมาะสม ธาตุ        ตรวจสอบ ทดลอง สืบค้น
 กายภาพของแร่        และสารประกอบจะตกผลึก             รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ระบุ
 และการนำาไปใช้      เป็นแร่ที่มีลักษณะและสมบัติ      ชนิดของแร่ตวอย่าง อภิปราย
                                                                     ั
 ประโยชน์            ต่างกัน ซึ่งต้องใช้วิธีการตรวจ   และ อธิบายลักษณะ และสมบัติ
                     สอบสมบัติแต่ละอย่างแตกต่าง       ทางกายภาพของแร่ และการนำา
                     กันไป                            ไปใช้ประโยชน์ นำาเสนอข้อมูล
                     ๒. แร่ที่สำารวจพบใน
                     ประเทศไทยมีหลายชนิด
                     แต่ละชนิดตรวจสอบได้ทาง
                     กายภาพได้จากรูปผลึก
                     ความถ่วงจำาเพาะ ความแข็ง
                     ความวาว แนวแตกเรียบ สี
                     และผงของแร่ และนำาไปใช้
                     ประโยชน์ต่างกัน เช่น ใช้ทำา
                     เครื่องประดับ ใช้ในด้าน
                     อุตสาหกรรม
๖. สืบค้นและอธิบาย      ปิโตรเลียม ถ่านหิน และ             ตังคำาถาม วางแผน สำารวจ
                                                             ้
  กระบวนการเกิด      หินนำ้ามัน เป็นเชื่อเพลิง         วางแผนการทำาการสืบค้น
  ลักษณะและสมบัติ ธรรมชาติที่เกิดจาก                   รวบรวมข้อมูลบันทึก วิเคราะห์
  ของปิโตรเลียม      กระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง           และ อธิบายกระบวนการเกิด
  ถ่านหิน หินนำ้ามัน ธรณีวิทยา แต่ละชนิดมี             ลักษณะและสมบัติของ
  และการนำาไปใช้     ลักษณะ สมบัติ และการนำาไป         ปิโตรเลียม ถ่านหิน หินนำ้ามัน
  ประโยชน์           ใช้ประโยชน์แตกต่างกัน             และการนำาไปใช่ นำาเสนอโดย
                                                       การจัดนิทรรศการ
๗. สำารวจและ          ๑. แหล่งนำ้าบนโลกมีทั้งนำ้าจืด       ตังคำาถาม วางแผนการ
                                                               ้
 อธิบายลักษณะ         และนำ้าเค็ม แหล่งนำ้าจืดมีทั้งบน สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ
 แหล่งนำ้าธรรมชาติ ดิน ใต้ดิน และในบรรยากาศ            ตรวจสอบ สืบค้น สังเกต
 การใช้ประโยชน์ ๒. การใช้ประโยชน์จากแหล่ง รวบรวมข้อมูล บันทึกวิเคราะห์
 และการอนุรักษ์       นำ้าต้องมีการวางแผน และการ อภิปรายและอธิบายลักษณะ
 แหล่งนำ้าในท้อง      อนุรักษ์ การป้องกัน              แหล่งนำ้าธรรมชาติ การใช้
 ถิ่น                 การแก้ไข และผลกระทบด้วย ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่น วิธีการ                          นำ้าในท้องถิ่น นำาเสนอด้วย
 เข้าใจ               ที่เหมาะสม                       แผนภาพหรือ power point
                                                       และนำาความรู้ไปใช้เขียน
                                                       โครงการเสนอแนะการใช้แหล่ง
                                                       นำ้าในท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์
                                                       สูงที่สุด
13


๘. ทดลอง เลียน          ๑. แหล่งนำ้าบนดินมีหลาย            ตังคำาถาม วางแผนการสำารวจ
                                                             ้
 แบบและอธิบาย           ลักษณะ ขึนอยู่กับลักษณะ
                                    ้                   ตรวจสอบ ทำาการสำารวจ สืบค้น
 การเกิดแหล่งนำ้า       ภูมิประเทศ ลักษณะทางนำ้า        ทดลอง เลียนแบบรวบรวม
 บนดิน แหล่งนำ้า        และความเร็วของกระแสนำ้าใน       ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย การ
 ใต้ดิน                 แต่ละฤดูกาล                     เกิดแหล่งนำ้าบนดินและแหล่งนำ้า
                        ๒. นำ้าบนดินบางส่วนไหลซึม       ใต้ดิน นำาเสนอรายงาน นำาคาม
                        ไปเก็บกักไว้                    รู้ไปใช้ในการโต้วาที
                        ในชั้นดินและหิน หรือเก็บไว้
                        ในระหว่างช่องว่างเม็ดตะกอน
                        ดิน เรียกว่านำ้าในดิน ส่วนที่
                        ไหลลงไปจนถูกกักเก็บไว้ตาม
                        รอยแตกของหินหรือตามรู
                        พรุนเรียกว่า นำ้าบาดาล


     ตั ว ชี ้ ว ั ด         ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๙.       ทดลอง              การผุพัง อยู่กับที่ การก           ตั้งคำาถาม วางแผนการ
  เลียนแบบและ           ร่อน การพัดพา การทับถม          สำารวจตรวจสอบ
  อธิบาย                และการตกผลึกเป็นกระบวน          ทำาการสำารวจ ตรวจสอบ ศึกษา
  กระบวนการผุพัง        การสำาคัญที่ทำาให้พื้นผิวโลก    สังเกต ทดลองเลียนแบบ
  อยู่กับที่ การกร่อน   เปลี่ยนแปลงเป็นภูมิลักษณ์       รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย
  การพัดพา การ          ต่างๆ โดยมีลม นำ้า ธารนำ้า      กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การก
  ทับถม การ             แข็งและแรงโน้มถ่วงของโลก        ร่อน การพัดพา การทับถม การ
  ตกผลึก และผล          เป็นตัวสำาคัญ                   ตกผลึก และผลของกระบวนการ
  ของกระบวนการ                                          เหล่านั้น นำาเสนอด้วย รายงาน
  ดังกล่าว                                              การสืบค้น สำารวจและการ
                                                        ทดลองและ ภาพจากการสำารวจ
๑๐.สืบค้น สร้างแบบ          โครงสร้างโลกประกอบ             ตังคำาถาม วางแผนการสำารวจ
                                                             ้
  จำาลองและอธิบาย       ด้วยชั้นเปลืองโลกชั้น เนื้อ     ตรวจสอบ ทำาการสำารวจ สืบค้น
  โครงสร้างและ          โลก และชั้นแก่นโลก              รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย
  องค์ประกอบของ         โครงสร้างแต่ละชั้นจะมี          สร้างแบบจำาลองโครงสร้างโลก
  โลก                   ลักษณะและส่วนประกอบต่าง         นำาเสนอ
                        กัน
14
15



สาระที ่ ๘ ธรรมชาติ ข องวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑            ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
           จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู ้ การแก้
           ปั ญ หา รู ้ ว ่ า ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ส่ ว น
           ใหญ่ ม ี ร ู ป แบบที ่ แ น่ น อน สามารถอธิ บ ายและตรวจ
           สอบได้ ภายใต้ ข ้ อ มู ล และเครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี อ ยู ่ ใ นช่ ว ง
           เวลานั ้ น ๆ เข้ า ใจว่ า วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สั ง คม
           และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ค วามเกี ่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น

                      ตั ว ชี ้ ว ั ด                     นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร/ทำ า
                                                                   อะไรได้
๑.         ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำาคัญ
             ้
  ในการสำารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ
  ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
                                                           จะนำ า ไปแทรกใน
๒.         สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และ
  วางแผนการสำารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
                                                          สาระที ่ ๑ – ๗        ใน
๓.         เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจสอบทั้งเชิง        การจั ด กิ จ กรรมการ
  ปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย             เรี ย นรู ้ เพื ่ อ
  โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม                      พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด
๔.รวบรวมข้อมูล จัดกระทำาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์
  พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
  สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำารวจ
  ตรวจสอบ
๖.สร้างแบบจำาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดง
  ผลของการสำารวจตรวจสอบ
๗.         สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจตรวจสอบ ใน
  เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
  สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
  กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่น
  เข้าใจ
๘.         บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสำารวจ
  ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
  ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ         เปลี่ยนแปลง
  ความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่ม
  ขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
๙.         จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย
  เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือ
16


ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2Niwat Yod
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (19)

Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 

Similar to การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 

Similar to การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2 (20)

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 

More from korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabuskorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Frog.ถนัด
Frog.ถนัดFrog.ถนัด
Frog.ถนัดkorakate
 

More from korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 
Frog.ถนัด
Frog.ถนัดFrog.ถนัด
Frog.ถนัด
 

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2

  • 1. 1 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๒ สาระที ่ ๑ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ กระบวนการดำ า รงชี ว ิ ต มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้ า ใจหน่ ว ยพื ้ น ฐานของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความ สั ม พั น ธ์ ข องโครงสร้ า ง และหน้ า ที ่ ข องระบบต่ า งๆ ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ที ่ ท ำ า งานสั ม พั น ธ์ ก ั น มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป ใช้ ใ นการดำ า รงชี ว ิ ต ของตนเองและดู แ ลสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. อธิบาย ๑. ระบบย่อยอาหาร ระบบ สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา โครงสร้างและการ หมุนเวียนเลือด ระบบ รวบรวม จัดกระทำา วิเคราะห์ ทำางานของระบบ หายใจ ระบบขับถ่าย แสดงผล บันทึก เขียนรายงาน ระบบสืบพันธุ์ และระบบ และอิบายโครงสร้างและการ ย่อยอาหาร ระบบ ประสาทของมนุษย์ ใน ทำางานของระบบต่างๆ ในร่าง หมุนเวียนเลือด แต่ละระบบ ประกอบด้วย กายมนาย์และสัตว์โดยใช้ ระบบหายใจ อวัยวะหลายชนิดที่ทำางาน แผนภาพหรือไดอะแกรม ระบบขับถ่าย อย่างเป็นระบบ ระบบสืบพันธุ์ ของ ๒. ระบบย่อยอาหาร ระบบ มนุษย์และสัตว์ หมุนเวียนเลือด ระบบ รวมทั้งระบบ หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบ ประสาทของมนุษย์ สืบพันธุ์ของสัตว์ ประกอบ ด้วยอวัยวะหลายชนิดที่ ทำางานอย่างเป็นระบบ ๒. อธิบายความ ระบบย่อยอาหาร ระบบ สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน สัมพันธ์ของ หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ และลงมือศึกษา รวบรวม จัด ระบบต่างๆ ของ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ กระทำา วิเคราะห์ แสดงผล มนุษย์และนำา ของมนุษย์ในแต่ละระบบมีการ บันทึก อธิบายความสัมพันธ์ ความรู้ไปใช้ ทำางานที่สัมพันธ์กันทำาให้ ระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ ประโยชน์ มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ได้อย่าง สร้างคำาถามใม่ ค้นคว้าเพิ่ม ปกติ ถ้าระบบใดระบบหนึ่ง เติมและนำาความรู้ไปใช้ดูแล ทำางานผิดปกติ ย่อมส่งผลกระ ตนเอง ทบต่อระบบอื่นๆ ดังนั้นจึงต้อง มีการดูแลรักษาสุขภาพ ๓.สังเกตและ นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร ตังคำาถาม วางแผน สังเกต ้ อธิบาย แสง อุณหภูมิ และการ ทดลองการตอบสนองต่อสิ่ง พฤติกรรมของ สัมผัสจัดเป็นสิ่งเร้าภายนอก เร้าของมนุษย์และสัตว์ มนุษย์และสัตว์ที่ ส่วนการเปลี่ยนแปลงระดับสาร รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล ตอบสนองต่อสิ่ง ในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน จัด สรุปผลการทดลอง อธิบาย
  • 2. 2 เร้าภายนอกและ เป็นสิ่งเร้าภายใน ซึ่งทั้งสิ่งเร้า พฤติกรรมการตอบสนองต่อ ภายใน ภายนอกและสิ่งเร้าภายในมีผล สิ่งเร้าของมนุษย์และสัตว์ ต่อมนุษย์และสัตว์ ทำาให้แสดง พฤติกรรมต่างๆ ออกมา
  • 3. 3 ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๔.อธิบายหลักการ ๑.เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา และผลของการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อทำาให้สิ่งมี รวบรวม จัดกระทำา ใช้เทคโนโลยี ชีวิตหรือองค์ประกอบของ วิเคราะห์ แสดงผล บันทึกเขียน ชีวภาพในการ สิ่งมีชีวิตมีสมบัติตาม รายงายและอธิบายหลักการ ขยายพันธุ์ ต้องการ และผลของการใช้เทคโนโลยี ปรับปรุงพันธุ์ ๒. การผสมเทียม การ ชีวภาพพร้อมจัดบอร์ด/ป้าย และเพิ่มผลผลิต ถ่ายฝากตัวอ่อน นิทรรศการ ของสัตว์และนำา การโคลน เป็นการใช้ ความรู้ไปใช้ เทคโนโลยีชีวภาพในการ ประโยชน์ ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของสัตว์ ๕.ทดลองวิเคราะห์ ๑.แป้งนำ้าตาล ไขมัน โปรตีน ตั้งคำาถาม ออกแบบวิธีการ และอธิบายสาร วิตามินเป็นสารอาหารและ ศึกษาทดลอง ทำาการสำารวจ อาหารในอาหารมี สามารถทดสอบได้ ตรวจสอบทดลองการทดสอบ ปริมาณพลังงาน ๒. การบริโภคอาหาร สารอาหารในอาหารและการ และสัดส่วนที่ จำาเป็นต้องให้ได้สารอาหาร วิเคราะห์ปริมาณสารอาหารที่ เหมาะสมกับเพศ ที่ครบถ้วนในสัดส่วนที่ ให้พลังงานเก็บรวบรวมข้อมูล และวัย เหมาะสมกับเพศและวัยและ บันทึกวิเคราะห์ สรุปผล เขียน ได้รับปริมาณพลังงานที่ รายงาน นำาเสนอและอธิบาย เพียงพอกับความต้องการ สารอาหารในอาหารที่ให้ ของร่างกาย พลังงาน ตั้งคำาถามใหม่และ ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ในการนำาความรู้ไปใช้โยชน์ ๖. อภิปรายผล สารเสพติดแต่ละประเภทมีผล สังเกต ตั้งคำาถามวางแผน ของสารเสพติดต่อ ต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ศึกษา และทำาการรวบรวม ระบบต่างๆ ของ ทำาให้ระบบเหล่านั้นทำาหน้าที่ ข้อมูล จัดกระทำา วิเคราะห์ ร่างกาย และ ผิดปกติ ดังนั้นจึงต้องหลีกเลี่ยง แสดงผล บันทึก อภิปรายผล แนวทางในการ การใช้สาร เสพติด และหา ของสารเสพติดมีผลต่อร่างกาย ป้องกันตนเองจาก แนวทางในการป้องกันตนเอง และแนวทางป้องกันและนำา สารเสพติด จาก สารเสพติด เสนอในรูปของคำาขวัญ ป้าย รณรงค์หรือแสดงบทบาท สมมติ
  • 4. 4
  • 5. 5 สาระที ่ ๓ สารและสมบั ต ิ ข องสาร มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้ า ใจสมบั ต ิ ข องสาร ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งสมบั ต ิ ข องสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี ่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ ส ื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ นำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑.สำารวจและ ๑. ธาตุเป็นสารบริสุทธิ์ที่ ตั้งคำาถาม วางแผนการ อธิบายองค์ ประกอบด้วยอะตอม ชนิด สำารวจ สืบค้น รวบรวมข้อมูล ประกอบ สมบัติ เดียวกัน และไม่สามารถ เลือกวิธีการสำารวจและลงมือ ของธาตุและ แยกสลายเป็นสารอื่นได้อีก สำารวจรวบรวมข้อมูล บันทึก สารประกอบ โดยวิธีการทางเคมี ข้อมูล วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ๒.สารประกอบเป็นสาร และจำาแนกสารเป็นธาตุและ บริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุ สารประกอบ และอธิบายองค์ ตังแต่สองธาตุขึ้นไป รวม ้ ประกอบและสมบัติของธาตุและ ตัวกันด้วย อัตราส่วนโดย สารประกอบ นำาเสนอผลด้วย มวลคงที่ และมีสมบัติแตก แผนผังชนิดของสารโดยใช้ ต่างจากสมบัติเดิม ของ องค์ประกอบของสารเป็น ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ เกณฑ์ ๒. สืบค้น นั ก เรี ย นอะไร นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้ ข้อมูลและเปรียบ ธาตุโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุ ตังคำาถาม วางแผนการ ้ เทียบสมบัติของ อโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี สำารวจข้อมูลเลือกวิธีสืบค้น ธาตุโลหะ ธาตุ มีสมบัติบางประการคล้ายกัน ข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ อโลหะ ธาตุกึ่ง และแตกต่างกัน- การเลือกใช้ เปรียบเทียบ สมบัติของธาตุ โลหะและธาตุ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต จากธาตุและ นำาเสนอในผังมโนทัศน์ กัมมันตรังสีและ สารประกอบได้ถูกต้อง เหมาะ จำาแนกธาตุตามสมบัติและนำา นำาความรู้ไปใช้ สม ปลอดภัย และยั่งยืน ความรู้ไปใช้ในการ เลือกใช้ ประโยชน์ วัสดุอุปกรณ์อย่างมีเหตุผล นำา เสนอผลงาน ๓. ทดลอง นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้ และอธิบายหลัก การกรอง การตกผลึก การ สังเกต ทดลอง รวบรวม การแยกสารด้ ว ย สกัด การกลั่นและโครมาโต ข้อมูลเกี่ยวกับการแยกสาร วิธีการกรองการ กราฟี เป็นวิธีการแยกสารที่มี ด้วยวิธีการต่าง ๆ วิเคราะห์และ ตกผลึก การสกัด หลักการแตกต่างกัน และ สรุปหลักการแยกสารของ การกลั่น และโค สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ใน แต่ละวิธีดวยแผนภาพหรือ ้ รมาโทกราฟี และ ชีวิตประจำาวัน แผนผัง นำาความรู้ไปใช้ในการ
  • 6. 6 นำาความรู้ไปใช้ แยกสารที่กำาหนดให้และนำา ประโยชน์ ความรู้ไปใช้ในการแยกสารที่ มีผลต่อภาวะของสิ่งแวดล้อม โดยการทำาโครงงาน
  • 7. 7 สาระที ่ ๓ สารและสมบั ต ิ ข องสาร มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้ า ใจหลั ก การและธรรมชาติ ข องการ เปลี ่ ย นแปลงสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การ เกิ ด ปฏิ ก ิ ร ิ ย า มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละ จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ และนำ า ความรู ้ ไปใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. ทดลองและ นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้ อธิบายการ ๑. เมื่อสารเกิดปฏิกริยา ตั้งคำาถาม วางแผนการ เปลี่ยนแปลง เคมีจะมี พลังงานเข้ามา ทดลอง เลือกวิธีทดลองและ สมบัติ มวล และ เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นการ ทำาการทดลอง รวบรวมข้อมูล พลังงานเมื่อสาร ดูดพลังงาน ความร้อนหรือ วิเคราะห์ นำาเสนอและอธิบาย เกิดปฏิกิริยาเคมี คายพลังงาน ความร้อน พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา รวมทั้งอธิบาย ๒. อุณหภูมิ ความเข้มข้น เคมีอย่างมีเหตุผล อธิบาย ปัจจัยที่มีผลต่อ ธรรมชาติของสาร และตัว ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด การเกิดปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยามีผลต่อการ เกิด ปฏิกิริยาเคมีโดยใช้แผนผัง เคมี ปฏิกิริยาเคมีของสาร และการนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในสถานะการณ์ใหมื ที่พบในชีวิตประจำาวัน ๒. ทดลอง อธิบาย นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร นั ก เรี ย นทำ า อะไรได้ และเขียน ๑.สมการเคมีใช้เขียนแสดง ตั้งคำาถาม วางแผนการ สมการเคมีของ การเกิดปฏิกิริยาเคมีของ ทดลอง เลือกวิธีการทดลอง ปฏิกริยาของสาร สารตั้งต้นและสาร และทำาการทดลองการเกิดปฏิ ต่างๆ และนำา ผลิตภัณฑ์ กริยาเคมีของสารต่าง ๆ ความรู้ไปใช้ ๒. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ นำา ประโยชน์ ออกซิเจน โลหะกับนำ้า เสนอ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมและ โลหะกรด กรดกับเบส และ เขียนสมการเคมีของสารต่าง ๆ กรดกับคาร์บอเนต ที่เกิดปฏิกริยาเคมี นำาความรู้ ๓. การเลือกใช้วัสดุและ ไปใช้ในการเลือกใช้วัสดุและ สารรอบตัวในชีวิตประจำา สารรอบตัวในชีวิตประจำาวัน วันควรเลือกอย่างเหมาะสม ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย และปลอดภัย โดยคำานึงถึง ปฏิกิริยา ที่เกิดขึ้น ๓. สืบค้นข้อมูล สารเคมีและปฏิกิริยาเคมีมี ตั้งคำาถาม วางแผนการ และอภิปรายผล ทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมี สำารวจ สืบค้นข้อมูล เลือกวิธี ของสารเคมี ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ทั้งทาง การและทำาการสืบค้นข้อมูล ปฏิกิริยาเคมีต่อ ตรงและทางอ้อม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป สิ่งมีชีวิตและสิ่ง นำาเสนอและอภิปราย ผลของ แวดล้อม สารเคมี ปฏิกิริยาเคมี ต่อสิ่งมี ชีวิตและสิ่งแวดล้อม นำาความรู้ ไปใช้ในการทำาการศึกษา
  • 8. 8 สถานะการณ์ใหม่และส่งเสริม ความตระหนักถึงผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๔. สืบค้นข้อมูล ๑. การใช้สารเคมีด้วยความ วางแผนวิธีการสืบค้นข้อมูล และอธิบายการ ระมัดระวังจะช่วย ป้องกันไม่ เลือกวิธีการและทำาการสืบค้น ใช้สารเคมีอย่าง ให้เกิด อันตรายต่อตนเอง รวบรวมข้อมูลการใช้สารเคมี ถูกต้อง ปลอดภัย และผู้อื่น โดยใช้ให้ถูกต้อง อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และวิธี วิธีป้องกันและ ปลอดภัย การป้องกัน แก้ไขอันตรายที่ แก้ไขอันตรายที่ และคุ้มค่า เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี เกิดขึ้นจากการ ๒. ผู้ใช้สารเคมีควรรู้จัก วิเคราะห์จัดกระทำาข้อมูล นำา ใช้สารเคมี สัญลักษณ์เตือนภัยบนฉลาก เสนอข้อมูลโดยวิธีการต่าง ๆ และรู้วิธีแก้ไขและการ นำาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับ ใหม่ และนำาเสนอตัวอย่างการ อันตรายจากสารเคมี ใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้ า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ค ุ ณ ธรรม ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. ทดลองละ แรงเป็นปริมาณเว็กเตอร์ เมื่อ ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน ้ อธิบายการหาแรง มีแรงหลายแรงในระนาบ ออกแบบวิธีการทดลอง เลือกวิธี ลัพ์ของแรงใน เดียวกันกระทำาต่อวัตถุเดียวกัน และทำาการทดลองเกี่ยวกับการ ระนาบเดียวกันที่ สามารถหาแรงลัพธ์โดยใช้หลัก หาแรงลัพ์ของแรงในระนาบ กระทำาต่อวัตถุ การรวมเว็กเตอร์ เดียวกันที่กระทำาต่อวัตถุ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป นำาเสนอผลการทดลองในรูป ของรายงานและสื่อต่าง ๆ ๒. อธิบายแรง เมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ ตั้งคำาถามวางแผนการสำารวจ ลัพธ์ที่กระทำาต่อ กระทำาต่อวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุนั้น ตรวจสอบ แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อ วัตถุทหยุดนิ่งหรือ ี่ วัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ วัตถุเคลื่อนที่ด้วย จะหยุดนิ่งตลอดไป แต่ถ้าวัตถุ ด้วยความเร็วคงตัว ทำาการ ความเร็วคงตัว เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวก็จะ สำารวจตรวจสอบเก็บรวบรวม เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ ตลอดไป และนำาเสนอผลสรุปผลการ สำารวจตรวจสอบ
  • 9. 9 สาระที ่ ๕ พลั ง งาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ การดำ า รงชี ว ิ ต การเปลี ่ ย นรู ป พลั ง งาน ปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ระหว่ า งสารและพลั ง งาน ผลของการใช้ พ ลั ง งานต่ อ ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวนการ สื บ เสาะ หาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละ นำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ประโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. ทดลองและ แสงตกกระทบผิวของวัตถุ ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน ้ อธิบายการสะท้อน หรือตัวกลาง อีกตัวกลางหนึ่ง วางแผนการทดลองละสืบค้น ของแสงการหักเห แสงจะเปลี่ยนทิศทางการ ข้อมูลเกี่ยวกับสะท้อนของแสง ของแสง และนำา เคลื่อนที่โดยการสะท้อนของ การหักเหของแสง และนำาความ ความรู้ไปใช้ แสงหรือการหักเหของแสง ซึ่ง รู้ไปใช้ประโยชน์ ทดลอง ประโยชน์ สามารถนำาความรู้ไปใช้ รวบรวมข้อมูล บันทึก ข้อมูล ประโยชน์เกี่ยวกับแว่นตา วิเคราะห์สรุปและนำาเสนอผลใน กระจกทัศนอุปกรณ์ และเส้นใย รูปของรายงาน และตั้งคำาถาม นำาแสง ใหม่เพื่อทำาโครงงานสิ่ง ประดิษฐ์ที่นำาความรู้เรื่องการ สะท้อนและการหักเหของแสง ไปใช้ประโยชน์ รายงานและนำา
  • 10. 10 เสนอผลงานโครงงาน ๒. อธิบายผลของ ๑. นัยต์ตาของคนเราเป็นอวัย ตังคำาถาม ตั้งสมมติฐาน ้ ความสว่าง ะใช้มองดูสิ่งต่าง ๆ นัยน์ตามี วางแผนการสืบค้นข้อมูล ที่มีต่อมนุษย์และ องค์ประกอบสำาคัญหลายอย่าง ทำาการสืบค้นข้อมูล เก็บ สิ่งมีชีวิต อื่น ๆ ๒. ความสว่างมีผลต่อนัยตาขอ รวบรวมข้อมูล บันทึกผล งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ จึงนำา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป จัดทำา ความรู้นี้มาช่วยในการจัดความ รายงานและนำาเสนออธิบายผล สว่างให้เหมาะสมกับการ ของความสว่างที่มีต่อมนุษย์ ทำางานและการดำารงชีวิต และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ๓. ทดลองและ เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุ ตั้งคำาถาม ตังสมมติฐาน ้ อธิบายการดูด จะดูดกลืนแสงสีบางสีไว้ และ วางแผนออกแบบการทดลอง กลืนแสง สี สะท้อนแสงสีที่เหลือออกมา และการสืบค้นข้อมุลเกี่ยวกับ การมองเห็นสีของ ทำาให้เรามองเห็นวัตถุเป็นสีต่าง การดูดกลืนแสง สี และการมอง วัตถุ และ นำา ๆ ซึ่งมนุษย์นำาความรู้เรื่องการ เห็นสีของวัตถุและการนำาความ ความรู้ไปใช้ ดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของ รู้ไปใช้ประดยชน์ ทดลอง ประโยชน์ วัตถุไปใช้ประโยชน์ในการถ่าย สืบค้น รวบรวมข้มุล บันทึกข้อ รูปและการแสดง มุล วิเคราะห์ จัดกระทำาข้อมูล สรุป เขียนรายงานและนำาเสนอ ผลการทดลองและการสืบค้น ข้อมูล สาระที ่ ๖ กระบวนการเปลี ่ ย นแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้ า ใจกระบวนการต่ า ง ๆ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น บนผิ ว โลกและภายในโลก ความสั ม พั น ธ์ ข องกระบวนการ ต่ า ง ๆ ที ่ ม ี ผ ลต่ อ การเปลี ่ ย นแปลงภู ม ิ อ ากาศ ภู ม ิ ป ระเทศ และสั ณ ฐานของโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์
  • 11. 11 ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. สำารวจ ดินมีลักษณะและสมบัติแตก ตังคำาถาม วางแผนสำารวจ ้ ทดลองและอธิบาย ต่างกัน ตามวัตถุต้น ตรวจสอบและ ทดลอง รวบรวม ลักษณะของชั้น กำาเนิดดิน ลักษณะภูมิอากาศ ข้อมูล บันทึกผลวิเคราะห์ศึกา หน้าตัดดิน สมบัติ ภูมิประเทศสิ่งมีชีวิต และระยะ ความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งเรียรู้ ของดิน และ เวลาในการเกิด ชั้นหน้าตัดดิน อภิปราย สรุปและ อธิบาย กระบวนการเกิด แต่ละชั้นแต่ละพื้นที่ ก็มีสมบัติ ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน สมบัติ ดิน ลักษณะและองค์ประกอบแตก ของดินและกระบวนการเกิดดิน ต่างกัน นำาเสนอด้วยรายงาน ๒. สำารวจ ๑. ดินแต่ละบริเวณมีลักษณะ ตังคำาถาม วางแผนการ ้ วิเคราะห์ และ และสมบัติแตกต่างกัน สำารวจตรวจสอบและทำาการ อธิบายการใช้ การนำาไปใช้ประโยชน์จึง สำารวจ สังเกตสืบค้น รวบรวม ประโยชน์และ ต่างกัน ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ ปรับปรุงคุณภาพ ๒. การปรับปรุงคุณภาพของ ดินและวิธีการปรับปรุงคุณภาพ ของดิน ดิน ปรับตามสภาพของดิน ดิน วิเคราะห์ อภิปราย จัดทำา เพื่อให้เหมาะสมต่อการใช้ รายงาน นำาเสนอ แผนภาพการ ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ของดินในท้องถิ่น และโครงการอนุรักษ์และ ปรับปรุงคุณภาพของดิน ๓. ทดลอง ดิน เกิดจากกระบวนการ ตั้งคำาถาม วางแผนการ เลียนแบบ เพื่อ เปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาทั้ง สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ อธิบาย บนและใต้ผิวโลก หินจึงมี สืบค้น ทดลอง เลียนแบบ สังเกต กระบวนการเกิด ลักษณะ องค์ประกอบแตกต่าง รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป และลักษณะองค์ กันทั้งด้านกายภาพและเคมี อธิบายกระบวนการเกิด และ ประกอบของหิน ลักษณะองค์ประกอบของหิน ด้วยสมุดภาพ ๔ ทดสอบและสังเกต หิน แบ่งเป็น ๓ประเภทคือ ตั้งคำาถาม วางแผนการ องค์ประกอบและ หินอัคนี หินตะกอน และ สำารวจตรวจสอล ทำาการสำารวจ สมบัติของหิน เพื่อ หินแปร หินแต่ละชนิดนำาไปใช้ สืบค้น สังเกต การทดลอง จำาแนกประเภท ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ทดสอบ องค์ประกอบและสมบัติ ของหิน และนำา ของหิน รวบรวมข้อมูล ความรู้ไปใช้ วิเคราะห์ จำาแนกประเภทของ ประโยชน์ หิน การใช้ประโยชน์จากหิน ชนิดต่างๆ นำาเสนอ ด้วยสมุด ความรู้เรื่องหิน
  • 12. 12 ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๕. ตรวจสอบ ๑. เมื่อภาวะแวดล้อม ตั้งคำาถาม วางแผนการ และอธิบาย ธรรมชาติที่อยู่ภายใต้อุณหภูมิ สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ ลักษณะทาง และความดันที่เหมาะสม ธาตุ ตรวจสอบ ทดลอง สืบค้น กายภาพของแร่ และสารประกอบจะตกผลึก รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ระบุ และการนำาไปใช้ เป็นแร่ที่มีลักษณะและสมบัติ ชนิดของแร่ตวอย่าง อภิปราย ั ประโยชน์ ต่างกัน ซึ่งต้องใช้วิธีการตรวจ และ อธิบายลักษณะ และสมบัติ สอบสมบัติแต่ละอย่างแตกต่าง ทางกายภาพของแร่ และการนำา กันไป ไปใช้ประโยชน์ นำาเสนอข้อมูล ๒. แร่ที่สำารวจพบใน ประเทศไทยมีหลายชนิด แต่ละชนิดตรวจสอบได้ทาง กายภาพได้จากรูปผลึก ความถ่วงจำาเพาะ ความแข็ง ความวาว แนวแตกเรียบ สี และผงของแร่ และนำาไปใช้ ประโยชน์ต่างกัน เช่น ใช้ทำา เครื่องประดับ ใช้ในด้าน อุตสาหกรรม ๖. สืบค้นและอธิบาย ปิโตรเลียม ถ่านหิน และ ตังคำาถาม วางแผน สำารวจ ้ กระบวนการเกิด หินนำ้ามัน เป็นเชื่อเพลิง วางแผนการทำาการสืบค้น ลักษณะและสมบัติ ธรรมชาติที่เกิดจาก รวบรวมข้อมูลบันทึก วิเคราะห์ ของปิโตรเลียม กระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง และ อธิบายกระบวนการเกิด ถ่านหิน หินนำ้ามัน ธรณีวิทยา แต่ละชนิดมี ลักษณะและสมบัติของ และการนำาไปใช้ ลักษณะ สมบัติ และการนำาไป ปิโตรเลียม ถ่านหิน หินนำ้ามัน ประโยชน์ ใช้ประโยชน์แตกต่างกัน และการนำาไปใช่ นำาเสนอโดย การจัดนิทรรศการ ๗. สำารวจและ ๑. แหล่งนำ้าบนโลกมีทั้งนำ้าจืด ตังคำาถาม วางแผนการ ้ อธิบายลักษณะ และนำ้าเค็ม แหล่งนำ้าจืดมีทั้งบน สำารวจตรวจสอบ ทำาการสำารวจ แหล่งนำ้าธรรมชาติ ดิน ใต้ดิน และในบรรยากาศ ตรวจสอบ สืบค้น สังเกต การใช้ประโยชน์ ๒. การใช้ประโยชน์จากแหล่ง รวบรวมข้อมูล บันทึกวิเคราะห์ และการอนุรักษ์ นำ้าต้องมีการวางแผน และการ อภิปรายและอธิบายลักษณะ แหล่งนำ้าในท้อง อนุรักษ์ การป้องกัน แหล่งนำ้าธรรมชาติ การใช้ ถิ่น การแก้ไข และผลกระทบด้วย ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง หรือชิ้นงานให้ผู้อื่น วิธีการ นำ้าในท้องถิ่น นำาเสนอด้วย เข้าใจ ที่เหมาะสม แผนภาพหรือ power point และนำาความรู้ไปใช้เขียน โครงการเสนอแนะการใช้แหล่ง นำ้าในท้องถิ่นให้ได้ประโยชน์ สูงที่สุด
  • 13. 13 ๘. ทดลอง เลียน ๑. แหล่งนำ้าบนดินมีหลาย ตังคำาถาม วางแผนการสำารวจ ้ แบบและอธิบาย ลักษณะ ขึนอยู่กับลักษณะ ้ ตรวจสอบ ทำาการสำารวจ สืบค้น การเกิดแหล่งนำ้า ภูมิประเทศ ลักษณะทางนำ้า ทดลอง เลียนแบบรวบรวม บนดิน แหล่งนำ้า และความเร็วของกระแสนำ้าใน ข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย การ ใต้ดิน แต่ละฤดูกาล เกิดแหล่งนำ้าบนดินและแหล่งนำ้า ๒. นำ้าบนดินบางส่วนไหลซึม ใต้ดิน นำาเสนอรายงาน นำาคาม ไปเก็บกักไว้ รู้ไปใช้ในการโต้วาที ในชั้นดินและหิน หรือเก็บไว้ ในระหว่างช่องว่างเม็ดตะกอน ดิน เรียกว่านำ้าในดิน ส่วนที่ ไหลลงไปจนถูกกักเก็บไว้ตาม รอยแตกของหินหรือตามรู พรุนเรียกว่า นำ้าบาดาล ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๙. ทดลอง การผุพัง อยู่กับที่ การก ตั้งคำาถาม วางแผนการ เลียนแบบและ ร่อน การพัดพา การทับถม สำารวจตรวจสอบ อธิบาย และการตกผลึกเป็นกระบวน ทำาการสำารวจ ตรวจสอบ ศึกษา กระบวนการผุพัง การสำาคัญที่ทำาให้พื้นผิวโลก สังเกต ทดลองเลียนแบบ อยู่กับที่ การกร่อน เปลี่ยนแปลงเป็นภูมิลักษณ์ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย การพัดพา การ ต่างๆ โดยมีลม นำ้า ธารนำ้า กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การก ทับถม การ แข็งและแรงโน้มถ่วงของโลก ร่อน การพัดพา การทับถม การ ตกผลึก และผล เป็นตัวสำาคัญ ตกผลึก และผลของกระบวนการ ของกระบวนการ เหล่านั้น นำาเสนอด้วย รายงาน ดังกล่าว การสืบค้น สำารวจและการ ทดลองและ ภาพจากการสำารวจ ๑๐.สืบค้น สร้างแบบ โครงสร้างโลกประกอบ ตังคำาถาม วางแผนการสำารวจ ้ จำาลองและอธิบาย ด้วยชั้นเปลืองโลกชั้น เนื้อ ตรวจสอบ ทำาการสำารวจ สืบค้น โครงสร้างและ โลก และชั้นแก่นโลก รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย องค์ประกอบของ โครงสร้างแต่ละชั้นจะมี สร้างแบบจำาลองโครงสร้างโลก โลก ลักษณะและส่วนประกอบต่าง นำาเสนอ กัน
  • 14. 14
  • 15. 15 สาระที ่ ๘ ธรรมชาติ ข องวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู ้ การแก้ ปั ญ หา รู ้ ว ่ า ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ส่ ว น ใหญ่ ม ี ร ู ป แบบที ่ แ น่ น อน สามารถอธิ บ ายและตรวจ สอบได้ ภายใต้ ข ้ อ มู ล และเครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี อ ยู ่ ใ นช่ ว ง เวลานั ้ น ๆ เข้ า ใจว่ า วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สั ง คม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ค วามเกี ่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น ตั ว ชี ้ ว ั ด นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร/ทำ า อะไรได้ ๑. ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำาคัญ ้ ในการสำารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ จะนำ า ไปแทรกใน ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และ วางแผนการสำารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี สาระที ่ ๑ – ๗ ใน ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจสอบทั้งเชิง การจั ด กิ จ กรรมการ ปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย เรี ย นรู ้ เพื ่ อ โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ๔.รวบรวมข้อมูล จัดกระทำาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๕.วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์ พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำารวจ ตรวจสอบ ๖.สร้างแบบจำาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดง ผลของการสำารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจตรวจสอบ ใน เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่น เข้าใจ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสำารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่ม ขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือ