SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
รหัสวิชา ว21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที3 สารละลายกรดและเบส มัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ค่า pH กับความเป็นกรด-เบสของสาร เวลา 4 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ม า ต ร ฐ า น ว 3. 1 เ ข้ า ใ จ ส ม บั ติ ข อ ง ส า ร
ความสัมพัน ธ์ระ ห ว่าง สมบัติของสารกับโครง สร้างและ แรง ยึดเห นี่ ยวระห ว่างอนุ ภ าค
มีก ร ะ บ ว น ก าร สื บ เส าะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต วิท ย าศ าส ต ร์ สื่ อ ส าร สิ่ ง ที่ เรี ย น รู้
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ม า ต ร ฐ า น ว 8.1
ใช้กระบวน การทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้การแก้ปั ญห า
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อม
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
2. ตัวชี้วัด
ว.3.1 ม.1/3 ม.1./4 ตรวจสอบค่า pHของสารละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 8. 1 ม.1-3/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็น หรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ
หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
ว 8. 1 ม.1-3/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
ว 8. 1 ม.1-3/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
ว 8 . 1 ม . 1-3/ 8 บั น ทึ ก แ ล ะ อ ธิ บ า ย ผ ล ก า ร สั ง เ ก ต
การสารวจตรวจสอบค้น คว้าเพิ่ มเติมจากแห ล่ง ความรู้ต่าง ๆ ใ ห้ได้ข้อมูลที่เชื่ อถือได้
และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1.นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH
กับสมบัติความเป็นกรดเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ได้
2. นักเรียนสามารถทดลองและจาแนกสารละลายที่เป็นกรด-เบสด้วยอินดิเคเตอร์ได้
3. นักเรียนสามารถออกแบบและจัดทาโครงงานอินดิเคเตอร์จากพืชได้
4. นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
5. นักเรียนมีความสามรถในการสื่อสาร การคิด และการใช้ทักษะชีวิต
4.สาระการเรียนรู้
1. ด้านความรู้
- สมบัติของสารละลายเบส
- ความเป็นกรดและเบสของสารละลายสามารถบ่งบอกได้จากค่า pHสารละลายที่มีค่า pH
น้อยกว่า 7 มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pHเท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH
มากกว่า 7 มีสมบัติเป็ นเบส สารที่พบในชีวิตประจาวันมีความเป็นกรดและเบสต่างกัน และมีค่า pH
เฉพาะตัวซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยใช้อินดิเคเตอร์สาหรับกรดและเบส เช่น อินดิเคเตอร์แบบกระดาษ
สารละลาย เช่น เมทิลเรด ฟีนอล์ฟทาลีน หรือยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบสารละลาย และ pHมิเตอร์
ซึ่งเป็นเครื่องมือที่บอกค่า pH อย่างชัดเจน หรือสารสกัดจากพืชบางชนิด เช่น ดอกอัญชัน กะหล่าปลีม่วง
2.ทักษะ/กระบวนการ
- กระบวนการกลุ่ม
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. ด้านสมรรถนะของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร (ทักษะการพูด อ่าน เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์)
3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (ทักษะด้านการทางานร่วมกับผู้อื่น)
6. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1) มีวินัย
2) ใฝ่เรียนรู้
3) มุ่งมั่นในการทางาน
7. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) บูรณาการการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ขั้นที่1 ขั้นสร้างความสนใจ(engagement)
1.1 ครูทบทวนเรื่องการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารด้วยกระดาษลิตมัสแล้วถามนักเรียนว่า
นอกจากกระดาษลิตมัสแล้ว เราสามารถใช้สารใดในการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารได้อีกบ้าง
1.2 ครูนาอินดิเคเตอร์แบบกระดาษ สารละลาย เช่น เมทิลเรด ฟีนอล์ฟทาลีน และ pHมิเตอร์
ขึ้นมาวางบนโต๊ะให้นักเรียนดู จากนั้นครูใช้คาถามกับนักเรียนว่า นักเรียนรู้จักอุปกรณ์เหล่านี้หรือไม่
และนักเรียนทราบหรือไม่ว่าอุปกรณ์เหล่านี้มีไว้ทาอะไร โดยครูอาจจะยกอุปกรณ์ที่ละชิ้นให้นักเรียนดู
(นักเรียนตอบตามประสบการณ์เดิม ซึ่งนักเรียนบางคนอาจรู้จักและบางคนอาจไม่รู้จัก)
1.3 ครูอธิบายความห มายของอิน ดิเคเตอร์ และ ยกตัวอย่างอินดิเคเตอร์ชนิ ดต่าง ๆ
ว่ า จ ะ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สี เ มื่ อ ค่ า pH เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป
และแต่ละชนิดก็จะมีช่วงของการเปลี่ยนแปลงสีที่แตกต่างกัน
ขั้นที่2ขั้นสารวจและค้นหา(exploration)
2 .1 นั ก เ รี ย น ศึ ก ษ า เรื่ อ ง อิ น ดิ เ ค เ ต อ ร์ แ ล ะ ค่า pH ใ น ห นั ง สื อ เรี ย น
โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว
2.2 นักเรียนแบ่งกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมแบบฝึกหัด การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ และ pHของสาร
2.3ครูอธิบายการสังเกตการเปลี่ยนสี และการเทียบสีของอินดิเคเตอร์ เพื่อตรวจสอบค่าpHของสาร
โดยครู ส าธิ ตการการทด ลอง และ ตรวจส อบ ค่า pH ให้ นั กเรี ยน ดู พ ร้อ มอธิ บ ายเส ริ ม
ความเป็ นกรดและเบสของสารละลายสามารถบ่งบอกได้จากค่า pHสารละลายที่มีค่า pHน้อยกว่า 7
มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pH เท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7
มีสมบัติเป็นเบส
2.4 นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการทดลอง โดยทาการทดลองตอนที่ 1 ใช้อินดิเคเตอร์แบบกระดาษ
ตอนที่ 2สารละลาย เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟีนอล์ฟทาลีน และตอนที่ 3ใช้pH มิเตอร์
2.5 นักเรียนบันทึกสรุปผลและอภิปรายกันภายในกลุ่ม
ขั้นที่3อธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาส่งตัวแทนออกมาเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
3.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้คาถามต่อไปนี้
- อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดมีสีใดก่อนการปฏิบัติกิจกรรม
- ผลจากกิจกรรมสามารถแบ่งสารละลายออกเป็นกี่กลุ่ม ลักษณะใด
- ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบสารละลายและแบบกระดาษบอกค่า pHเท่าใดบ้าง
- ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นกรด
- ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นเบส
- ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นกลาง
- เปรียบเทียบการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิดในสารละลายกรด สารละลายเบส
และสารละลายที่เป็นกลางต่างกันอย่างไร
3.3 นั ก เรี ยน แล ะ ค รู ร่วมกัน ส รุ ป ผล การป ฏิ บัติกิจกรรม โด ยใ ห้ ได้ข้อ ส รุ ปว่า
อินดิเคเตอร์สามารถบอกค่า pH ของสารได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงสีเมื่อค่า pHเปลี่ยนแปลง เมทิลเรด
โบ รโ มไ ท มอล บ ลู ฟี น อ ล์ ฟ ท าลี น จ ะ บ อก ได้เป็ น แ ค่ช่วง ค่า pH ขอ ง ส ารเท่านั้ น
แต่ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์และ pHมิเตอร์สามารถบอกค่า pH ได้ละเอียดมากกว่า และสารละลายที่มีค่า pH
น้อยกว่า 7 มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pHเท่ากับ 7มีสมบัติเป็ นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH
มากกว่า 7 มีสมบัติเป็นเบส
3.4 ครูบรรยายเพิ่มเรื่อง การตรวจสอบค่าความเป็นกรด-เบส โดยใช้สื่อ Power point
ขั้นที่4ขยายความรู้ (elaboration)
4. 1 ครูตั้งคาถามเพิ่มเติมเราสามารถผลิตอินดิเคเตอร์จากพืชได้หรือไม่อย่างไร นักเรียนสืบค้น
พืชที่สามารถนามาสกัดเป็นอินดิเคเตอร์ เช่น กะหล่าปีม่วง ดอกเฟื่องฟ้า ดอกอัญชัน
4.2 นั ก เรี ย น ก ลุ่มเดิ ม ค้น ค ว้าแ ล ะ จัด ท าโ ค ร ง ง าน อิ น ดิ เค เต อ ร์ จา ก พื ช
และการนาความรูไปใช้ประโยชน์ จัดทาเป็นรูปเล่มและนาเสนอผลงาน ตามเวลาที่ครูกาหนดภายใน 2
สัปดาห์
ขั้นที่5ประเมิน (evaluation)
ครูประเมินผลของนักเรียน ดังนี้
5.1 สังเกตพฤติกรรม ความรู้ความเข้าใจจากการตอบคาถามของนักเรียน การทาการทดลอง
5.2 ตรวจใบงาน
5.3 ประเมินจากการรูปเล่มและนาเสนอโครงงาน
8. การบูรณากับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8.1 ความพอประมาณ
- คานึงถึงศักยภาพในการทากิจกรรมที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ต่อตนเอง
- การใช้ประโยชน์จากพืชในท้องถิ่น มาใช้เป็นสื่อในด้านการเรียนการสอน
8.2 ความมีเหตุผล
- ใช้กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล
8.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
- การเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
- หมั่นฝึกทาแบบฝึกหัดให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
8.4 ความรู้
- มีความรู้ความเข้าในในเรื่อง ค่า pH กับความเป็นกรด-เบสของสาร
8.5 คุณธรรม
- มีความสื่อสัตย์ รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ตั้งใจเรียน และทางานร่วมกันเป็นทีม
9. การบูรณาการ ((ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ,ค่านิยม๑๒ประการ,โรงเรียนวิถีพุทธ,3R
×7Cโรงเรียนมาตรฐานสากล )
9.1 ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
การบูรณาการกับกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การออกแบบสิ่งของและใช้ผลผลิตจากธรรมชาติ
9.2 หลักสูตรอาเซียน
วิเคราะห์ถึงดอกไม้ประจาชาติของประเทศอาเซียนที่สามารถนามาใช้เป็นอินดิเคเตอร์
ธรรมชาติ
9.3 ค่านิยม 12 ประการ
ข้อที่ 4 ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม
- การเรียนด้วยตนเองจากการสืบค้นหนังสือเรียนอื่นๆ และจากอินเทอร์เน็ต
ข้อที่ 9 มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา
- ครูสอนเรื่องการมีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทา ในกิจกรรมการเรียนการสอน
9.4 โรงเรียนวิถีพุทธ
1. คุณธรรมที่สอดแทรก
- คุณธรรมในเรื่องมีจิตสาธารณะ
โดยครูให้นักเรียนที่เข้าใจในเนื้อหาอธิบายให้กับเพื่อนที่ยังไม่เข้าใจ
- คุณธรรมในเรื่องความมีวินัย
ค รู ก า ห น ด ข้ อ ต ก ล ง ใ น ก า ร เ รี ย น ร่ ว ม กัน กั บ นั ก เ รี ย น
แ ล้ ว ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ต า ม ข้ อ ต ก ล ง ที่ ตั้ ง ไ ว้
และครูจะเน้นในงานที่มอบหมายให้นักเรียนทาจะต้องมีความตรงต่อเวลาส่งตามกาหนด
9.5 3R × 7C
การจัดการเรียนรู้สอดแทรกทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21
จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกันการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1.นักเรียนสื่อสารกับครู ตอบคาถามจากการยกตัวอย่างในห้องเรียน แบบฝึ กหัด
ตามห ลัก3R ได้แก่ Reading ( อ่าน ออก ), ( W ) Riting (เขียน ได้) และ ( A ) Rithmetics (
คิดเลขเป็น )
2. นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้จากกิจกรรม ดังนี้
- Criticalthinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ปัญหา)
- Collaboration, teamwork & leadership (ทั ก ษ ะ ด้ า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ
การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา)
9.6 โรงเรียนมาตรฐานสากล
นักเรียน ทาโครงงาน ผ่านการค้น คว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง
อินดิเคเตอร์จากพืช
10. การประเมินผลรวบยอด
ประเมินโดยรูปแบบ Assessment of learning โดยมีองค์ประกอบดังนี้
10.1 ความรู้
ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเ
มิน
ผู้ประเมิ
น
แบบฝึกหัด
การเปลี่ยนสีของอินดิเ
คเตอร์ และค่า pH
ของสาร
ตรวจ แบบฝึกหัด
การเปลี่ยนสีของอินดิเ
คเตอร์ และค่า
pHของสาร
แบบฝึกหัด
การเปลี่ยนสีของอินดิเ
คเตอร์ และค่า
pHของสาร
ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 60
ครูผู้สอ
น
10.2 ทักษะกระบวนการ
ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประ
เมิน
ผู้ประเ
มิน
โครงงาน
อินดิเคเตอร์จา
กพืช
สังเกตพฤติกรรม
การคิดและทากิจ
กรรม
แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิ
ทยาศาสตร์
ได้ระดับคุณภา
พ 3,2,1
ครูผู้สอ
น
10.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ภาระ/ชิ้น
งาน
วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ปร
ะเมิน
ผู้ประเ
มิน
รับผิดชอ
บ
เอาใจใส่
ทางาน
เสร็จทันต
สังเกต/ประเมินคุณลักษณะอันพึ
งประสงค์
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึ
งประสงค์ ได้ระดับคุณภ
าพ 3,2,1
ครูผู้สอ
น
าม
เวลา
10.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ป
ระเมิน
ผู้ประเ
มิน
การออกแบบจัดทา
โครงงาน
อินดิเคเตอร์จากพืช
สังเกต/ประเมินสมรรถนะสา
คัญของผู้เรียน
แบบประเมินสมรรถนะสา
คัญของผู้เรียน
ได้ระดับคุณ
ภาพ 3,2,1
ครูผู้ส
อน
11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้
11.1 ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
11.2 อินดิเคเตอร์แบบสารละลาย เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟีนอล์ฟทาลีน
11.3 pHมิเตอร์
11.4 อุปกรณ์วิทยาศาสตร์
11.5 หนังสือ/เอกสาร
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1บริษัท
สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1 สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
11.6. อินเตอร์เน็ต
- http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=73728
- http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/acid-
http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&file=showcontent&cid
บันทึกหลังการสอน
1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรุงแก้ไข
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ชื่อ .................................................................……..
(………………………………………)
วันที่ .......... เดือน ................................... พ.ศ. .............

More Related Content

What's hot

ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 

What's hot (20)

กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 

Viewers also liked

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20sutinkripet
 
ความเข้มเสียง
ความเข้มเสียงความเข้มเสียง
ความเข้มเสียงuntika
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1Khwan Jomkhwan
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 

Viewers also liked (20)

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
P80319121248
P80319121248P80319121248
P80319121248
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
 
ความเข้มเสียง
ความเข้มเสียงความเข้มเสียง
ความเข้มเสียง
 
Acid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdfAcid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdf
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการsomthawin
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
1
11
1
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
7 E
7 E7 E
7 E
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการ
 

แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 รหัสวิชา ว21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที3 สารละลายกรดและเบส มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ค่า pH กับความเป็นกรด-เบสของสาร เวลา 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ม า ต ร ฐ า น ว 3. 1 เ ข้ า ใ จ ส ม บั ติ ข อ ง ส า ร ความสัมพัน ธ์ระ ห ว่าง สมบัติของสารกับโครง สร้างและ แรง ยึดเห นี่ ยวระห ว่างอนุ ภ าค มีก ร ะ บ ว น ก าร สื บ เส าะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต วิท ย าศ าส ต ร์ สื่ อ ส าร สิ่ ง ที่ เรี ย น รู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ม า ต ร ฐ า น ว 8.1 ใช้กระบวน การทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้การแก้ปั ญห า รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน 2. ตัวชี้วัด ว.3.1 ม.1/3 ม.1./4 ตรวจสอบค่า pHของสารละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 8. 1 ม.1-3/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็น หรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8. 1 ม.1-3/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ว 8. 1 ม.1-3/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8 . 1 ม . 1-3/ 8 บั น ทึ ก แ ล ะ อ ธิ บ า ย ผ ล ก า ร สั ง เ ก ต การสารวจตรวจสอบค้น คว้าเพิ่ มเติมจากแห ล่ง ความรู้ต่าง ๆ ใ ห้ได้ข้อมูลที่เชื่ อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรดเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ได้ 2. นักเรียนสามารถทดลองและจาแนกสารละลายที่เป็นกรด-เบสด้วยอินดิเคเตอร์ได้ 3. นักเรียนสามารถออกแบบและจัดทาโครงงานอินดิเคเตอร์จากพืชได้ 4. นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
  • 3. 4.สาระการเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ - สมบัติของสารละลายเบส - ความเป็นกรดและเบสของสารละลายสามารถบ่งบอกได้จากค่า pHสารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7 มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pHเท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็ นเบส สารที่พบในชีวิตประจาวันมีความเป็นกรดและเบสต่างกัน และมีค่า pH เฉพาะตัวซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยใช้อินดิเคเตอร์สาหรับกรดและเบส เช่น อินดิเคเตอร์แบบกระดาษ สารละลาย เช่น เมทิลเรด ฟีนอล์ฟทาลีน หรือยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบสารละลาย และ pHมิเตอร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่บอกค่า pH อย่างชัดเจน หรือสารสกัดจากพืชบางชนิด เช่น ดอกอัญชัน กะหล่าปลีม่วง 2.ทักษะ/กระบวนการ - กระบวนการกลุ่ม - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ด้านสมรรถนะของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร (ทักษะการพูด อ่าน เขียน) 2) ความสามารถในการคิด (ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์) 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (ทักษะด้านการทางานร่วมกับผู้อื่น) 6. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1) มีวินัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุ่งมั่นในการทางาน 7. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) บูรณาการการเรียนรู้แบบร่วมมือ ขั้นที่1 ขั้นสร้างความสนใจ(engagement) 1.1 ครูทบทวนเรื่องการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารด้วยกระดาษลิตมัสแล้วถามนักเรียนว่า นอกจากกระดาษลิตมัสแล้ว เราสามารถใช้สารใดในการทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารได้อีกบ้าง 1.2 ครูนาอินดิเคเตอร์แบบกระดาษ สารละลาย เช่น เมทิลเรด ฟีนอล์ฟทาลีน และ pHมิเตอร์ ขึ้นมาวางบนโต๊ะให้นักเรียนดู จากนั้นครูใช้คาถามกับนักเรียนว่า นักเรียนรู้จักอุปกรณ์เหล่านี้หรือไม่
  • 4. และนักเรียนทราบหรือไม่ว่าอุปกรณ์เหล่านี้มีไว้ทาอะไร โดยครูอาจจะยกอุปกรณ์ที่ละชิ้นให้นักเรียนดู (นักเรียนตอบตามประสบการณ์เดิม ซึ่งนักเรียนบางคนอาจรู้จักและบางคนอาจไม่รู้จัก) 1.3 ครูอธิบายความห มายของอิน ดิเคเตอร์ และ ยกตัวอย่างอินดิเคเตอร์ชนิ ดต่าง ๆ ว่ า จ ะ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สี เ มื่ อ ค่ า pH เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป และแต่ละชนิดก็จะมีช่วงของการเปลี่ยนแปลงสีที่แตกต่างกัน ขั้นที่2ขั้นสารวจและค้นหา(exploration) 2 .1 นั ก เ รี ย น ศึ ก ษ า เรื่ อ ง อิ น ดิ เ ค เ ต อ ร์ แ ล ะ ค่า pH ใ น ห นั ง สื อ เรี ย น โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว 2.2 นักเรียนแบ่งกลุ่มและปฏิบัติกิจกรรมแบบฝึกหัด การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ และ pHของสาร 2.3ครูอธิบายการสังเกตการเปลี่ยนสี และการเทียบสีของอินดิเคเตอร์ เพื่อตรวจสอบค่าpHของสาร โดยครู ส าธิ ตการการทด ลอง และ ตรวจส อบ ค่า pH ให้ นั กเรี ยน ดู พ ร้อ มอธิ บ ายเส ริ ม ความเป็ นกรดและเบสของสารละลายสามารถบ่งบอกได้จากค่า pHสารละลายที่มีค่า pHน้อยกว่า 7 มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pH เท่ากับ 7 มีสมบัติเป็นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็นเบส 2.4 นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการทดลอง โดยทาการทดลองตอนที่ 1 ใช้อินดิเคเตอร์แบบกระดาษ ตอนที่ 2สารละลาย เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟีนอล์ฟทาลีน และตอนที่ 3ใช้pH มิเตอร์ 2.5 นักเรียนบันทึกสรุปผลและอภิปรายกันภายในกลุ่ม ขั้นที่3อธิบายและลงข้อสรุป (explanation) 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาส่งตัวแทนออกมาเสนอผลจากการปฏิบัติกิจกรรม 3.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรมโดยใช้คาถามต่อไปนี้ - อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดมีสีใดก่อนการปฏิบัติกิจกรรม - ผลจากกิจกรรมสามารถแบ่งสารละลายออกเป็นกี่กลุ่ม ลักษณะใด - ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบสารละลายและแบบกระดาษบอกค่า pHเท่าใดบ้าง - ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นกรด - ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นเบส - ค่า pH เท่าไรที่บอกว่าสารละลายนั้นเป็นกลาง - เปรียบเทียบการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิดในสารละลายกรด สารละลายเบส และสารละลายที่เป็นกลางต่างกันอย่างไร 3.3 นั ก เรี ยน แล ะ ค รู ร่วมกัน ส รุ ป ผล การป ฏิ บัติกิจกรรม โด ยใ ห้ ได้ข้อ ส รุ ปว่า อินดิเคเตอร์สามารถบอกค่า pH ของสารได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงสีเมื่อค่า pHเปลี่ยนแปลง เมทิลเรด โบ รโ มไ ท มอล บ ลู ฟี น อ ล์ ฟ ท าลี น จ ะ บ อก ได้เป็ น แ ค่ช่วง ค่า pH ขอ ง ส ารเท่านั้ น
  • 5. แต่ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์และ pHมิเตอร์สามารถบอกค่า pH ได้ละเอียดมากกว่า และสารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7 มีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่มีค่า pHเท่ากับ 7มีสมบัติเป็ นกลาง และสารละลายที่มีค่า pH มากกว่า 7 มีสมบัติเป็นเบส 3.4 ครูบรรยายเพิ่มเรื่อง การตรวจสอบค่าความเป็นกรด-เบส โดยใช้สื่อ Power point ขั้นที่4ขยายความรู้ (elaboration) 4. 1 ครูตั้งคาถามเพิ่มเติมเราสามารถผลิตอินดิเคเตอร์จากพืชได้หรือไม่อย่างไร นักเรียนสืบค้น พืชที่สามารถนามาสกัดเป็นอินดิเคเตอร์ เช่น กะหล่าปีม่วง ดอกเฟื่องฟ้า ดอกอัญชัน 4.2 นั ก เรี ย น ก ลุ่มเดิ ม ค้น ค ว้าแ ล ะ จัด ท าโ ค ร ง ง าน อิ น ดิ เค เต อ ร์ จา ก พื ช และการนาความรูไปใช้ประโยชน์ จัดทาเป็นรูปเล่มและนาเสนอผลงาน ตามเวลาที่ครูกาหนดภายใน 2 สัปดาห์ ขั้นที่5ประเมิน (evaluation) ครูประเมินผลของนักเรียน ดังนี้ 5.1 สังเกตพฤติกรรม ความรู้ความเข้าใจจากการตอบคาถามของนักเรียน การทาการทดลอง 5.2 ตรวจใบงาน 5.3 ประเมินจากการรูปเล่มและนาเสนอโครงงาน 8. การบูรณากับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.1 ความพอประมาณ - คานึงถึงศักยภาพในการทากิจกรรมที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ต่อตนเอง - การใช้ประโยชน์จากพืชในท้องถิ่น มาใช้เป็นสื่อในด้านการเรียนการสอน 8.2 ความมีเหตุผล - ใช้กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล 8.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดี - การเรียนรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ - หมั่นฝึกทาแบบฝึกหัดให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 8.4 ความรู้ - มีความรู้ความเข้าในในเรื่อง ค่า pH กับความเป็นกรด-เบสของสาร 8.5 คุณธรรม - มีความสื่อสัตย์ รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ตั้งใจเรียน และทางานร่วมกันเป็นทีม
  • 6. 9. การบูรณาการ ((ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ,ค่านิยม๑๒ประการ,โรงเรียนวิถีพุทธ,3R ×7Cโรงเรียนมาตรฐานสากล ) 9.1 ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ การบูรณาการกับกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี การออกแบบสิ่งของและใช้ผลผลิตจากธรรมชาติ 9.2 หลักสูตรอาเซียน วิเคราะห์ถึงดอกไม้ประจาชาติของประเทศอาเซียนที่สามารถนามาใช้เป็นอินดิเคเตอร์ ธรรมชาติ 9.3 ค่านิยม 12 ประการ ข้อที่ 4 ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม - การเรียนด้วยตนเองจากการสืบค้นหนังสือเรียนอื่นๆ และจากอินเทอร์เน็ต ข้อที่ 9 มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา - ครูสอนเรื่องการมีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทา ในกิจกรรมการเรียนการสอน 9.4 โรงเรียนวิถีพุทธ 1. คุณธรรมที่สอดแทรก - คุณธรรมในเรื่องมีจิตสาธารณะ โดยครูให้นักเรียนที่เข้าใจในเนื้อหาอธิบายให้กับเพื่อนที่ยังไม่เข้าใจ - คุณธรรมในเรื่องความมีวินัย ค รู ก า ห น ด ข้ อ ต ก ล ง ใ น ก า ร เ รี ย น ร่ ว ม กัน กั บ นั ก เ รี ย น แ ล้ ว ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ต า ม ข้ อ ต ก ล ง ที่ ตั้ ง ไ ว้ และครูจะเน้นในงานที่มอบหมายให้นักเรียนทาจะต้องมีความตรงต่อเวลาส่งตามกาหนด 9.5 3R × 7C การจัดการเรียนรู้สอดแทรกทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกันการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1.นักเรียนสื่อสารกับครู ตอบคาถามจากการยกตัวอย่างในห้องเรียน แบบฝึ กหัด ตามห ลัก3R ได้แก่ Reading ( อ่าน ออก ), ( W ) Riting (เขียน ได้) และ ( A ) Rithmetics ( คิดเลขเป็น ) 2. นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้จากกิจกรรม ดังนี้
  • 7. - Criticalthinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) - Collaboration, teamwork & leadership (ทั ก ษ ะ ด้ า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) 9.6 โรงเรียนมาตรฐานสากล นักเรียน ทาโครงงาน ผ่านการค้น คว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง อินดิเคเตอร์จากพืช 10. การประเมินผลรวบยอด ประเมินโดยรูปแบบ Assessment of learning โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 10.1 ความรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเ มิน ผู้ประเมิ น แบบฝึกหัด การเปลี่ยนสีของอินดิเ คเตอร์ และค่า pH ของสาร ตรวจ แบบฝึกหัด การเปลี่ยนสีของอินดิเ คเตอร์ และค่า pHของสาร แบบฝึกหัด การเปลี่ยนสีของอินดิเ คเตอร์ และค่า pHของสาร ผ่านเกณฑ์ร้อย ละ 60 ครูผู้สอ น 10.2 ทักษะกระบวนการ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประ เมิน ผู้ประเ มิน โครงงาน อินดิเคเตอร์จา กพืช สังเกตพฤติกรรม การคิดและทากิจ กรรม แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ ได้ระดับคุณภา พ 3,2,1 ครูผู้สอ น 10.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาระ/ชิ้น งาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ปร ะเมิน ผู้ประเ มิน รับผิดชอ บ เอาใจใส่ ทางาน เสร็จทันต สังเกต/ประเมินคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ ได้ระดับคุณภ าพ 3,2,1 ครูผู้สอ น
  • 8. าม เวลา 10.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ภาระ/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ป ระเมิน ผู้ประเ มิน การออกแบบจัดทา โครงงาน อินดิเคเตอร์จากพืช สังเกต/ประเมินสมรรถนะสา คัญของผู้เรียน แบบประเมินสมรรถนะสา คัญของผู้เรียน ได้ระดับคุณ ภาพ 3,2,1 ครูผู้ส อน 11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 11.1 ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 11.2 อินดิเคเตอร์แบบสารละลาย เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟีนอล์ฟทาลีน 11.3 pHมิเตอร์ 11.4 อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 11.5 หนังสือ/เอกสาร หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1 สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11.6. อินเตอร์เน็ต - http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=73728 - http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/acid- http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&file=showcontent&cid
  • 9. บันทึกหลังการสอน 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรคที่พบ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรุงแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ชื่อ .................................................................…….. (………………………………………) วันที่ .......... เดือน ................................... พ.ศ. .............