SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 6
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่
ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ผู้สอนได้ดาเนินการ
จัดทาขึ้นเพื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ซึ่งผู้เรียน
สามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับขั้น
ศักยภาพและความสามารถของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะ
ความคิด สามารถดารงชีวิตในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน
เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้
ที่ถูกจัดทาอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยายขอบเขต
ของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย
ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน
และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุข
ในการดารงชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
คานา
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ก.
เรื่อง หน้า
คานา .................................................................................................................................
สารบัญ ..............................................................................................................................
คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องเล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน………………………………………………………………………………...
คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................
คาแนะนาสาหรับนักเรียน....................................................................................................
ขั้นตอนการใช้......................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................
ผลการเรียนรู้.......................................................................................................................
แบบทดสอบก่อนเรียน .......................................................................................................
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้....................................................................................
ชุดการเรียนรู้…….……………
บัตรเนื้อหา ................................................................................................................
บัตรกิจกรรม .............................................................................................................
บัตรเฉลย ...................................................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน .......................................................................................................
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ........................................................................
บรรณานุกรม .....................................................................................................................
ก
ข
1
2
3
4
5
6
7
10
12
12
30
33
36
39
43
สารบัญ
ข.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้
1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน
5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
6. เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
7. เล่มที่ 7 เรื่อง สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนที่
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่
ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม
4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย
5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาชี้แจง
1.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน
1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล
ให้พร้อมใช้
ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น
และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้
ของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาแนะนา
สาหรับครู
1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้
2. ขั้นการสอน
3. ขั้นสรุป
หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ
กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ
“BioWow เทคนิคการเรียนการสอน
ชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน 2.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ
ตั้งใจ ดังนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242
หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 6
เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ซึ่งสื่อวิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น
4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 เรื่องการเคลื่อนที่ของคน
6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้
7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80
หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทา
การประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาแนะนา
สาหรับ
นักเรียน
หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด
ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน
จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน
การสอนชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
3.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ :
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน
ขั้นตอน
การใช้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม
2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ
3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน
4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้
4.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี
รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ
เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
5.
มาตรฐาน
การเรียนรู้
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา
2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย
3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง
4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism)
6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์
มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก
7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
8. สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ
9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆ
และกลไกการทางานของกล้ามเนื้อ
10. อภิปรายการนาความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
6.
ผลการ
เรียนรู้
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาชี้แจง : ข้อสอบมีทั้งหมด 4 ข้อ 10 คะแนน
การสูบบุหรี่ทาลายกระดูกวัยรุ่นหญิง
นักวิจัยค้นพบว่า วัยรุ่นหญิงที่สูบบุหรี่จะสูญเสียแร่ธาตุจากกระดูกมากกว่าวัยรุ่นหญิงที่ไม่
สูบบุหรี่ โรคกระดุกพรุนคือการสูญเสียความหนาแน่นของมวลกระดูก เนื่องจากแร่แคลเซียม
ในกระดูกลดลง ปกติกระดูกของคนจะมีการสร้าง และการสลายอยู่ตลอดเวลา ในเด็กจะมีการ
สร้างมากกว่าการสลาย ทาให้กระดูกของเด็กมีการเจริญเติบโต และแข็งแรงกระดูกจะใหญ่ขึ้น
จนกระทั่งอายุ 30 ปี กระดูกจะเริ่มมีการสลายมากกว่าการสร้างทาให้เนื้อกระดูกเริ่มลดลง
โรคกระดูกพรุนนี้พบได้ในสตรีมากกว่าบุรุษ เพราะมวลกระดูกของสตรีมีน้อยกว่าของ
บุรุษ และเมื่อสตรีหมดประจาเดือนจะขาดฮอร์โมนอีสโตรเจนที่ช่วยทาให้แคลเซียมมาจับที่เนื้อ
กระดูกลดลง ทาให้กระดูกบางลง ๆ หลังหมดประจาเดือน
Lorah Dorn และเพื่อนร่วมงาน เชิญอาสาสมัครในการทดลอง 262 คน ที่มีสุขภาพดี
อายุระหว่าง 11-17 ปี ตอบคาถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการใช้ชีวิต 3 ปีย้อนหลัง
จากนั้นนาไปตรวจมวลกระดูก พบว่าวัยรุ่นหญิงที่สูบบุหรี่จะมีการเจริญของมวลกระดูก อย่างช้าๆ
และมวลกระดูกที่สะโพกลดลง ในขณะที่วัยรุ่นหญิงที่ไม่สูบบุหรี่จะมีการเพิ่มมวลกระดูก และยังมี
การพบว่า ในอายุ 19 ปี ที่สูบบุหรี่ทุกวันจะมีมวลกระดูกลดลงอย่างรวดเร็ว
Kenneth Ward นักจิตวิทยาสุขภาพคลีนิค เสนอแนวคิดว่าผลการวิจัยน่าจะให้ผล
เดียวกันในการวิจัยการสูบบุหรี่ของผู้หญิงในวัยทางานเพราะจากการศึกษางานวิจัยความหนาแน่น
ของกระดูกผู้ใหญ่พบว่า “การสูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่มความเสี่ยงของการแตกหักกระดูกสันหลังโดย
ร้อยละ 13 และกระดูกสะโพกหักร้อยละ 31”
(เขียนโดย Nathan Seppa วันที่ 5 ธันวาคม 2555 แหล่งข้อมูล
http://www.sciencenews.org/view/generic/id/346875/description/Smoking_hurts_te
en_girls_bones)
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคน
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
7.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง
1. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงมีแนวโน้มเสี่ยงต่อโรคข้อสะโพกเสื่อม
2. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงขัดขวางการสะสมแคลเซียมที่กระดูก
3. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงส่งผลต่อกระดูกมากกว่าวัยรุ่นชาย
4. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงมีผลต่อกระดูกสันหลัง
คะแนนเต็ม 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 1 คะแนน
ตอบผิดได้ 0 คะแนน
คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “เกี่ยวข้อง” หรือไม่เกี่ยวข้อง” และให้เหตุผลในการ
วิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล “เกี่ยวข้อง”หรือ“ไม่เกี่ยวข้อง”
ช่วงเวลาที่สูบบุหรี่ เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง
การเคลื่อนไหว เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง
วิตามินดี เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง
การสะสมแคลเซียม เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง
คะแนนเต็ม 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ต้องตอบถูกทั้ง 4 ข้อ จึงจะได้ 1 คะแนน
คาถามข้อที่ 3 “บุหรี่จะส่งผลต่อกระดูกบริเวณสะโพก” จากข้อความนี้ สามารถสรุปได้ว่า
บุหรี่มีผลต่ออาการข้อกระดูกสะโพกเสื่อมได้หรือไม่
1. ได้
2. ไม่ได้
3. ไม่แน่ใจ
8.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของร่างกาย
เหตุผล
1. เพราะอาการกระดูกหักอาจจะส่งผลต่อการเสื่อมของกระดูก
2. เพราะกระดูกพรุนเป็นปัจจัยหลักของอาการกระดูกเสื่อม
3. เพราะข้อกระดูกเสื่อมเกี่ยวข้องกับการสะสมแคลเซียม
4. เพราะการเสื่อมของข้อสะโพกเกี่ยวข้องอายุของกระดูกตามสภาพโครงสร้างของร่างกาย
5. เพราะกระดูกบางเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่คาดว่าจะส่งผลต่ออาการกระดูกเสื่อม
6. เพราะกระดูกพรุนเกิดขึ้นกับกระดูกแข็ง กระดูกเสื่อมเกิดขึ้นกับกระดูกอ่อน
คาถามข้อที่ 4 การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิง นอกจากจะส่งผลต่อภาวะกระดูกพรุนแล้ว หากยังมี
การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง ในที่สุดจะส่งผลต่อระบบกระดูกอย่างไร
เขียนคาตอบ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
9.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของร่างกาย
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ
ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู้
1. อภิปรายการนาความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
1.การเคลื่อนที่
ของคน
สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน คนใช้การ
เคลื่อนที่ที่อาศัยการทางานของระบบ
โครงกระดูก และระบบกล้ามเนื้อ
กระดูกแต่ละชิ้นเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อ
กล้ามเนื้อแต่ละคู่ที่ยึดติดกับกระดูก
ทางานร่วมกันในสภาวะตรงกันข้าม
(Antagonism)
ด้านความรู้ (K)
1. เข้าใจการดูแลร่างกาย
ก่อน ระหว่างและหลัง
การออกกาลังกาย
2. อภิปรายโรคต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับระบบกระดูก
กล้ามเนื้อและเอ็น
3
มาตรฐานการเรียนรู้
ตาราง
วิเคราะห์
10.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
ด้านทักษะและกระบวนการ
(P)
1. ออกแบบการแก้ปัญหา
และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ (A)
3.1 ความมีวินัย
3.2 ความสนใจใฝุรู้
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 11.
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคนบัตรเนื้อหา
นักเรียนคิดว่าอาการปวดกล้ามเนื้อ
มีสาเหตุมาจากอะไร และควรมีการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไรบ้าง
ภาพจาก
https://www.healthtap.com/topics/Why-do-
my-muscle-hurt-every-time-I-do-actives
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 12.
1 2
ระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก
(Musculoskeletal system) หมายถึง ระบบ
อวัยวะที่รวมเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น
กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นยึดข้อ เส้นประสาท และ
หลอดเลือดเลี้ยงเนื้อเยื่อกระดูก เยื่อหุ้มข้อ
กระดูกและข้อกระดูก หมอนกระดูกสันหลัง
และกระดูกโครงสร้างร่างกายภาวะผิดปกติ
ของกระดูกและกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มโรคที่มี
สาเหตุมาหลายปัจจัย จากท่าทางซ้าๆ หรือ
การออกแรงเกินกาลัง รวมทั้งท่าทางที่ฝืน
ธรรมชาติ ปัจจัยจากการทางานเป็นสาเหตุหนึ่ง
ที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ นอกจากนี้ยัง
มีสาเหตุอื่นๆ เช่น การทางานบ้าน ความ
ผิดปกติของโครงสร้างร่างกายที่มีอยู่เดิม ความ
เสื่อมตามอายุ หรือสภาวะทางจิตใจ เป็นต้น ซึ่ง
จะมีผลต่อความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูก
และกล้ามเนื้อได้เช่นกัน
3. 4.
• โรคออฟฟิศซินโดรม
การบาดเจ็บ
จากการทางาน
• ตะคริว
• การบาดเจ็บของ
กล้ามเนื้อ
• การบาดเจ็บข้อต่อ
และกระดูก
การอักเสบกล้ามเนื้อ
จากการเล่นกีฬา
• กระดูกพรุน
• กระดูกเสื่อม
โรคที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบโครงกระดูก
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 13.
การบาดเจ็บจากการทางานสามารถเกิดได้ 2 วิธีหลักๆ คือเกิดจากอุบัติเหตุมี
ลักษณะเฉพาะคือ มีเหตุการณ์เกิดที่ชัดเจน มีกลไกการเกิดที่ชัดเจน เช่น สะดุดล้ม
เครื่องจักรหนีบ ค้อนหล่นทับ การเกิดอุบัติเหตุนี้ก่อให้เกิดการบาดเจ็บโดยตรงต่อกระดูก
กล้ามเนื้อเอ็น หลอดเลือด หรือเส้นประสาทได้ นั่นคือ ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวในขณะที่
วิธีที่ 2 เป็นการบาดเจ็บจากการทางานในขณะที่ทางานอยู่ในท่าทางใดท่าทางหนึ่งนานๆ
หรือทางานในท่าหนึ่งๆ ซ้าๆ กันตลอดเวลา ซึ่งการบาดเจ็บในลักษณะนี้ จะไม่สามารถ
บอกเวลาหรือกลไกการเกิดได้อย่างชัดเจน จะรู้ตัวก็ต่อเมื่อมีอาการเกิดขึ้นแล้ว
ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้
เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายที่เกี่ยวข้อง
กับระบบการเคลื่อนที่ของคน
ภาพจาก
http://www.aushealthclub.com/jp/product/284961/arnicagel
การทางานกับการบาดเจ็บจากการทางาน
Office’s syndrome
การบาดเจ็บในรูปแบบที่ 1 สามารถเห็นได้
ชัดเจนและควรพบแพทย์ในการรักษา ส่วนวิธีการที่ 2
เป็นสิ่งที่เราสามารถปูองกันได้ เรารู้จักในชื่อ ออฟฟิศ
ซินโดรม
คาตอบคือ การทางานในลักษณะดังกล่าว กล้ามเนื้อ
ต้องทางานอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลต่อการบาดเจ็บของ
ตัวกล้ามเนื้อ และเส้นเอ็นโดยตรง หรือจาก การ
ไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกเนื่องจากกล้ามเนื้อเกร็ง
ทางานคงค้างอยู่ หรือแม้แต่เส้นประสาทถูกรั้งจากการ
ทางานของกล้ามเนื้อนั้นๆ ส่งผลทาให้เกิดการบาดเจ็บ
ต่อหลอดเลือดและเส้นประสาท และส่งผลย้อนกลับมา
ที่การทางานของกล้ามเนื้อแย่ลงได้
ภาพจาก
https://shutterstock.com สืบค้นเมื่อ
วันที่ 20 มีนาคม 2559
เล่มที่ 6 เรื่องวิทยาศาสตร์การกีฬาและการดูแลรักษาการบาดเจ็บเบื้องต้น 14.
ทาไมการทางานซ้าๆ กัน หรือทางานอยู่
ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ สามารถส่งผลต่อ
การบาดเจ็บได้
ภาพจาก
https://www.theodysseyonline.com/g
ot-text-neck
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
การปวดนิ้วและข้อมือ
ปัจจุบันเครื่องมือสื่อสารและอุปกรณ์ทางานต้องใช้
นิ้วจิ้ม-กด เพื่อพิมพ์แชท (Chat) จะทาให้เอ็นหรือข้อ
เกิดการอักเสบขึ้นบริเวณนิ้วหัวแม่มือนั่นเอง ซึ่งสาเหตุ
หลักๆ เกิดจากการใช้นิ้วหัวแม่มือกดไปยังปุุมเล็กๆ
บนอุปกรณ์ไอที ขนาดพกพามากเกินไป
ภาพจาก
http://www.nairaland.com/673047/b
eware-overuse-smart-phones-cause
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
อาการปวดหลัง
การนั่งท่าเดิมนานๆ จะทาให้เกิด
อาการปวดหลังได้อย่างไร ก่อนอื่นนั้นเรามา
ทบทวนโครงสร้างของหลังกันก่อน
1. กระดูกสันหลัง เป็นกระดูกแกนกลางที่
สาคัญของร่างกายในการรองรับน้าหนัก
ตัว กระดูกสันหลังมีลักษณะเป็นปล้องๆ
ตั้งแต่คอถึงเอว โดยจะเรียกตาแหน่งตาม
ตัวเลข ดังนี้
 ส่วนคอ (cervical spine) ประกอบ
ด้วยกระดูก 7 ชิ้น (เรียก C1-C7)
 ส่วนอก (thoracic spine)
ประกอบด้วยกระดูก 12 ชิ้น (เรียก T1-
T12)
 ส่วนเอว (lumbar spine)
ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิ้น (เรียก L1-L5)
ซึ่งเป็นส่วนที่พบอาการปวดบ่อยที่สุด
เนื่องจากเป็นส่วนที่รองรับน้าหนักของ
ร่างกายส่วนบน
 ส่วนกระเบนเหน็บ (sacral spine)
ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิ้น (เรียก S1-S5)
ซึ่งทั้งหมดจะรวมเป็นชิ้นเดียว เรียกว่า
กระดูกก้นกบ
ตาแหน่งที่กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นเชื่อมต่อ
กันเรียกว่า ข้อต่อกระดูกสันหลัง มี 2 ข้าง
คือซ้ายและขวา ช่วยให้กระดูกสันหลัง
สามารถเคลื่อนไหวได้
15.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะมีหมอน
รองกระดูกสันหลังคั่นอยู่ ภายในหมอน
รองกระดูกมีลักษณะคล้ายเจลลี ซึ่งถ้าหาก
หมอนรองกระดูกมีการฉีกขาดและส่วน
ชั้นในเคลื่อนออกมากดทับเส้นประสาท
ก็จะทาให้เกิดอาการปวดตามมาได้
2. กล้ามเนื้อหลัง ยึดติดอยู่กับกระดูกสัน
หลัง โดยมีเส้นเอ็นที่ยึดกระดูกแต่ละ
ชิ้นเข้าไว้ด้วยกัน
3. เส้นประสาทไขสันหลัง ในช่องโพรง
กระดูกสันหลังจะมีเส้นประสาทไขสัน
หลังจานวน 31 คู่ ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึกและสั่งงานไปยังอวัยวะต่างๆ
ของร่างกาย
ภาพจาก
https://www.bumrungrad.com/th/spi
ne-institute-surgery-bangkok-thailand-
best-jci/conditions/back-pain
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
ร่างกายคนเรามีระบบปูองกันภัย ที่พิเศษและแตกต่างจากเครื่องจักร นั่นคือ เมื่อมี
การบาดเจ็บเกิดขึ้น ร่างกายจะแสดงอาการออกมาในรูปแบบของอาการเจ็บ ซึ่งเป็น
สัญญาณเตือนว่าขณะนี้ อวัยวะหรือเนื้อเยื่อนั้นๆ ต้องการการดูแลรักษาและการพักผ่อน
สาเหตุของอาการปวดหลัง
อาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นท่าทางที่ไม่ถูกต้อง หรือพยาธิสภาพ
ของกระดูกสันหลังเอง โดยสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจาก
 ท่าทาง อิริยาบถ การเคลื่อนไหวร่างกาย และการใช้งานหลังที่ไม่ถูกต้องเป็น
เวลานาน เป็นสาเหตุการปวดหลังที่พบได้บ่อยในคนวัยทางานที่ต้องทางานกับ
คอมพิวเตอร์นานๆ (โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก) หากไม่ได้ใส่ใจกับท่านั่งที่
ถูกต้อง มักจะนั่งด้วยท่าทางแบบหลังงอ ไหล่ห่อ และก้มคอเข้าหา
จอคอมพิวเตอร์ การยกของหนักโดยใช้การก้มหลัง น้าหนักทั้งหมดจะผ่านไปที่
กระดูกสันหลังส่วนที่กาลังโค้งมากที่สุด
16.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
ภาพจาก
http://steamcommunity.com/sharedfiles/filedetails/
?id=329885610&searchtext=FPS
สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560
การป้องกันอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและอาการ office’s syndrome
17.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.seemoretech.com/2014/11/
right-position-of-sitting-while-using.html
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
การนั่งทางาน นั่งอ่านหนังสือและการ
ใช้อุปกรณ์สื่อสาร ควรมีท่านั่งที่ถูกต้อง
เพื่อปูองกันการปวดเมื่อยและอาการ
ออฟฟิศซินโดรม มาเรียนรู้ท่านั่ง เพื่อช่วย
กระจายแรงไม่ให้กดทับกล้ามเนื้อส่วนใด
ส่วนหนึ่งมากเกินไป มีท่านั่งที่ถูกต้อง
ดังต่อไปนี้
1. จอภาพอยู่ระดับสายตา
2. ข้อศอกตั้งฉากกับลาตัวและแปูนพิมพ์
อยู่ระดับเดียวกับมือ
3. นั่งเต็มเก้าอี้ มีพนักหรือหมอนรอง
ด้านหลัง
4. มีแผ่นรองใต้ข้อมือเพื่อลดการเกร็งมือ
และช่วยผ่อนคลายและควรเปลี่ยน
อิริยาบถ อย่างน้อย 5-10 นาที
ทุกๆ 1 ชั่วโมง
การยืดเส้นคลายกล้ามเนื้อ
ปรับปรุงภาพจาก
https://www.shutterstock.com/image-vector/
office-syndrome-health-care-concept-infographic-
339537737
สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
คุณหมออธิบายเรื่องออฟฟิศซินโดรม
ttps://www.youtube.com/watch
?v=s8VILe0Nhrw
ตะคริว (Muscle cramp) คือภาวะเกิดการหด
เกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรงทันทีโดยเราบังคับไม่ได้
ร่วมกับมีอาการปวดเจ็บกล้ามเนื้อมัดที่เกิดการหด
เกร็ง โดยในขณะเกิดอาการจะไม่สามารถใช้งาน
กล้ามเนื้อมัดนั้นได้ ตะคริวเกิดได้กับกล้ามเนื้อลาย
(Striated muscle, กล้ามเนื้อ แขน ขา และของ
เนื้อเยื่อภายนอกร่างกาย เช่น แผ่นหลัง และกระดูก
ซี่โครง แต่ถ้าเป็นกล้ามเนื้อของอวัยวะภายในจะเป็น
กล้ามเนื้อเรียบ, Smooth muscle) ทุกมัด แต่ที่พบ
บ่อยที่สุดคือ เกิดกับกล้ามเนื้อน่อง รองลงไป คือ
กล้ามเนื้อเท้า และกล้ามเนื้อต้นขา โดยโอกาสเกิด
กับกล้ามเนื้อข้างซ้ายและข้างขวาเท่ากัน
18.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การอักเสบกล้ามเนื้อจากการเล่นกีฬา
ปรับปรุงภาพจาก
http://gazettereview.com/2015/08/preventi
on-and-treatment-of-muscle-cramps/
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอะไรเป็นกลไกที่แท้จริง
ของการเกิดตะคริว แต่จากการศึกษาเชื่อว่าเกิดจาก
การหดเกร็งตัวชั่วคราวของมัดกล้ามเนื้อนั้นๆทั้งมัด
ทาให้เห็นเป็นก้อนหรือเป็นลูกจะมีอาการเจ็บปวดมาก
สาเหตุเกิดจากกล้ามเนื้อไม่แข็งแรงหรือไม่ได้รับการฝึก
อย่างเพียงพอ ใช้งานมากเกินไป ได้รับการกระแทก
อย่างรุนแรง จะทาให้เกิดเป็นตะคริวได้ นอกจากนี้การ
ที่ร่างกายขาดเกลือแร่บางชนิด เช่น แคลเซียม หรือใน
สภาพอากาศที่เย็นหรือการรัดผ้ายืดแน่นเกินไปเลือด
มาเลี้ยงกล้ามเนื้อน้อยจะยิ่งก่อให้เกิดตะคริวได้
เช่นเดียวกัน
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.medicalook.com/
Pain_relief/Muscle_cramp.html
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
การป้องกัน
19.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
แนวทางการรักษา
ในขณะที่กาลังเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวให้หยุดพักทันที
จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมัดนั้นให้เต็มที่ประมาณ 5-10 นาที เพื่อให้
กล้ามเนื้อมัดนั้นคลายตัว จึงนวดต่อด้วยน้ามันนวดที่ร้อนเบาๆ ห้ามจับ
บีบหรือขยา เพราะจะทาให้กล้ามเนื้อหดเกร็งเกิดตะคริวได้อีก หลังจาก
นั้นต้องบริหารกล้ามเนื้อมัดนั้นเป็นพิเศษ เพื่อให้แข็งแรงอยู่เสมอ
1. บริเวณกล้ามเนื้อทุกๆ ส่วนของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ
โดยเฉพาะกล้ามเนื้อขาซึ่งต้องออกแรงมากในการวิ่ง
3. บริหารกล้ามเนื้อที่เคยเป็นตะคริวให้แข็งแรงเป็นพิเศษ เพื่อจะได้มีความทนเพิ่มขึ้น
4. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาในสภาพอากาศที่หนาวเย็น
5. ดื่มน้าและเกลือแร่ให้เพียงพอ ทั้งก่อนการเล่นกีฬา ขณะเล่นกีฬาหรือหลังการเล่นกีฬา
เพื่อให้ความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายอยู่เสมอ
2. ฝึกซ้อมและค่อยๆ เพิ่มระยะทางการวิ่งเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงทน
ต่อการเกิดตะคริวได้
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.wristassuredgloves.com/2012/08/31/how-to-avoid-relieve-muscle-cramps/
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
20.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การอักเสบของกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อช้า
เกิดจากการที่กล้ามเนื้อโดนกระแทกด้วยของแข็ง
ทาให้หลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อฉีกขาดมี
เลือดออกคั่งอยู่ในกล้ามเนื้อ ถ้าเป็นมากหรือได้รับ
การรักษาไม่ถูกต้อง เลือดที่คั่งจะไปจับกันเป็นก้อน
เหนียว เกิดเป็นพังผืดทาให้กล้ามเนื้อทางานไม่ได้
เต็มที่และเกิดการเจ็บปวดได้ ภาพจาก
http://kidsnews.bectero.com/natcha-
the-explorer
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
เมื่อได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อจากการกระทบกระแทก ให้หยุดพักทันทีพร้อมกับ
ประคบน้าแข็ง ประมาณ 10-15 นาที เพื่อปูองกันไม่ให้เลือดออกหรือให้เลือดออกน้อยที่สุด
จากนั้นใช้ผ้ายืดพันทับกล้ามเนื้อมัดนั้น เพื่อจะได้มีแรงกดและหยุดการเคลื่อนไหวของ
กล้ามเนื้อมัดนั้น หลังจากนั้น 1-2 วัน ให้ประคบร้อนหรือนวดด้วยน้ามันนวดที่ร้อนเบาๆ
เพื่อให้เลือดที่ออกกระจายตัวและถูกดูดซึมกลับไปในที่สุด และปูองกันการยึดติดของพังผืด
ต่อไป
แนวทางการรักษา
ภาพจาก
http://kidsnews.bectero.com/natcha-the-explorer
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
21.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
เกิดจากการฉีกขาดของเอ็นที่ยึดข้อ การฉีกขาดอาจเป็นเพียงบางส่วนหรือฉีกขาดทั้งหมด
ถ้ารักษาไม่ดีอาจจะทาให้เอ็นยึดหรือติดไม่แข็งแรง หรือติดไม่ดี ผลที่ตามมาคือ เจ็บ ทาให้เกิด
ข้อเสื่อมในภายหลังและข้อคลอนได้
การบาดเจ็บจากการกีฬาที่พบบ่อย คือ ข้อเท้า ข้อเข่า เอ็นยึดข้อเท้าและข้อเข่ามีอยู่
ด้วยกันหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยเอ็นหลายผืนหลายมัด แต่ละมัดหรือผืน
ประกอบด้วยเส้นใยเล็กๆ เรียงตัวกอดกันแน่นในผืนหรือมัดตามความยาว เอ็นยึดข้อต่อมีขนาด
ใหญ่แตกต่างกันไปตามจานวนเส้นใย เส้นใยดังกล่าวมีคุณสมบัติ คือ สามารถยืดหดได้เล็กน้อย
และมีความเหนียวทนต่อแรงดึงและแรงบิดที่จากัด ถ้าแรงดึงหรือแรงบิดมากจนเกินไป ใยเส้น
เอ็นนั้นจะยืดขาดออกจากันในที่สุด
การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain)
ปรับปรุงภาพจาก
http://physioworks.com.au/injuries-conditions-1/sprained-ankle
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
22.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain)
ความรุนแรงของข้อเคล็ด ข้อแพลงแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
ระดับที่ 1
อาการ
มีการฉีกขาดของเอ็นเล็กน้อย หรือมีการยืดของเอ็นที่บริเวณข้อต่อนั้น
บริเวณที่มีการฉีกขาดจะไม่บวมหรือมีการบวมเล็กน้อย อยู่เฉยๆ จะไม่
เจ็บ มีการเสียวหรือปวดที่ข้อต่อนั้นน้อยมาก และเดินไม่กะเผลก
แนวการรักษา
ให้พักข้อต่อนั้นโดยยกให้สูงและประคบเย็นทันที ประมาณ 5-10 นาทีโดย
ใช้ผ้าชุบน้าเย็นหรือน้าแข็งทุบละเอียดที่บรรจุในกระเป๋ายาง ถุงพลาสติก
หรือห่อผ้า และพันผ้ายืดไว้ประมาณไม่เกิน 3 วันจะหายเป็นปกติ
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.iwalk-free.com/injury-resource-center/ankle-sprains/
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
ระดับที่ 2
อาการ
มีความรู้สึกเจ็บปวด มีการเสียวที่ข้อต่อนั้นเล็กน้อย เดินกระเผลก
สาหรับข้อเท้านั้น จะทาให้ไม่สามารถเขย่งปลายเท้าหรือยืนบนปลาย
นิ้วเท้าเวลาเดิน ถ้าทาให้มีการเคลื่อนไหวหรือหมุนบิดของข้อนั้น ก็จะ
เจ็บปวดมากเช่นกัน อาการบวมจะเกิดขึ้นในทันทีเนื่องจากมีการฉีกขาด
ของหลอดเลือดบริเวณนั้น ทาให้มีเลือดคั่งบริเวณใต้ผิวหนัง
23.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain)
แนวการรักษา
สิ่งที่ต้องทาทันทีคือ การพักและยกยกข้อต่อนั้นให้สูงไว้ จากนั้นประคบน้า
เย็นทันทีควรประคบหลายๆ ครั้ง ติดต่อกันแต่ละครั้งนานประมาณ 5-10
นาที พัก 2-3 นาที ระหว่างพักควรเฝูาดูอาการบวมบริเวณนั้น ถ้ามีอาการ
บวมคงที่ไม่เพิ่มขึ้นให้หยุดประคบเย็น จากนั้นพันข้อต่อนั้นด้วยพลาสเตอร์
หลายๆ ชั้น หรือเรียกว่าเฝือกอ่อนเพื่อยึดตรึงหรือล๊อกข้อต่อนั้นไว้ เพื่อลด
หรือปูองกันการเคลื่อนไหวบริเวณนั้น และให้เอ็นประสานกันและติดกัน
สนิท และควรพบแพทย์
ภาวะข้อเท้าแพลง
และการดูแลรักษา ยูทูปคุณหมออธิบายภาวะข้อเท้าแพลง
ตอนที่ 1,2 และ 3
https://www.youtube.com/watch?v
=40lYIchN7Hs
24.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain)
ความรุนแรงของข้อเคล็ด ข้อแพลงแบ่งเป็น 3 ระดับ (ต่อ)
ระดับที่ 3
แนวการรักษา
ควรพบแพทย์เพื่อทาการรักษา ซึ่งอาจต้องใส่เฝือกปูนพลาสเตอร์อย่างน้อย 4-6
สัปดาห์ การใส่เฝือกนี้สามารถเสริมส้นยางที่เฝือกเพื่อเดินลงน้าหนักได้ในกรณีที่
บาดเจ็บที่ข้อเท้า เมื่อครบ 4-6 สัปดาห์ ถอดเฝือกออกแล้ว จะต้องพันผ้าหรือสวมสนับ
ข้อเท้าหรือข้อเข่า เพื่อช่วยพยุงต่อไปอีกระยะหนึ่งจะกว่าจะใช้ข้อต่อนั้นได้ตามปกติ
จากนั้นเคลื่อนไหวและบริหารต่อเพื่อให้ข้อแข็งแรงแล้วจึงกลับไปเล่นกีฬาได้ตามปกติ
อาการ
ระดับที่ 3 มักจะมีการฉีกขาดของเยื่อบุข้อร่วมด้วยเสมอ ทาให้เลือดคั่งในข้อหรือซึมอยู่
ใต้ผิวหนัง จะเห็นข้อเท้าหรือข้อเข่านั้นบวมทั้งข้อ มักจะเกิดจากการพลิกอย่างรุนแรง
หรือในรายที่ได้รับบาดเจ็บเติมหรือภายหลังที่ข้อแพลงระดับที่ 2 ไม่ได้รับการรักษา
อย่างถูกต้องเพียงพอหรือรีบใช้งานเร็วเกินไป
ภาวะข้อเท้าแพลง
และการดูแลรักษา ยูทูปคุณหมออธิบายภาวะข้อเท้าแพลง
ตอนที่ 4 และ 5
https://www.youtube.com/watch?v
=40lYIchN7Hs
25.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
กระดูกพรุน (Osteoporosis) โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
หมายถึง โรคที่เกิดจากภาวะการ
สูญเสียมวลกระดูกทาให้มวลกระดูกมี
ความหนาแน่นน้อยลง เสี่ยงต่อ
กระดูกหัก กระดูกยุบหรือการคดงอ
ของกระดูก และเกิดอาการปวด
กระดูกเรื้อรัง โดยเฉพาะบริเวณ
กระดูกสันหลัง แขน ขา สะโพก เป็น
ต้น พบมากในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะสตรี
หลังหมดประจาเดือน
ภาวะที่เนื้อเยื่อกระดูกผุกร่อนไปจากเดิม เนื้อกระดูกที่ลดลงอาจถึงขั้นอันตราย เพราะไม่
สามารถรับน้าหนัก และเป็นโครงสร้างของร่างกายได้อย่างสมบูรณ์ โดยโครงร่างกระดูกซึ่งเคย
แข็งแรงจะเปลี่ยนเป็นโครงร่างที่ผุกร่อนสามารถแตก หักได้ตลอดเวลาที่มีสิ่งของหนักมา
กระทบเพียงเล็กน้อย
สาเหตุหลักเกิดจากการขาดแคลเซียมของร่างกาย ซึ่งปกติคนเราสามารถดูดซึมแคลเซียมใน
อาหารได้เพียงร้อยละ 30–40 เท่านั้น โดยอาศัยกลไกลจากวิตามินดี น้าย่อยจากกระเพาะ
อาหาร และน้าแล็กโทส เข้าช่วยในการดูดซึม ซึ่งแคลเซียมบางส่วนที่ถูกดูดซึมจะถูกขับออก
ทางปัสสาวะ และเหงื่อ มีผลต่อการขาดแคลเซียมมากขึ้นทั้งในเด็ก และผู้ใหญ่
ภาพชนิดของเซลล์กระดูก
https://www.boundless.com
ปกติ
กระดูก
พรุน
กระดูกมีการสร้างและสลายตลอดเวลา ในรูปแคลเซียมออกมาสู่เลือด ขณะเดียวกันก็มีการ
สร้างกระดูกใหม่โดยใช้แคลเซียมจากอาหารที่กินเข้าไป ทาให้ได้เนื้อกระดูกใหม่เกิดขึ้น โดย
ปกติเนื้อกระดูกเก่าในรูปของแคลเซียมจะถูกขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะและทางอุจจาระวัน
ละประมาณ ๖๐๐-๗๐๐ มิลลิกรัม เพื่อให้เกิดความสมดุล เราจะต้องกินแคลเซียมให้เพียงพอ
กับที่สูญเสียไป มิฉะนั้นร่างกายจะดึงแคลเซียมจากกระดูกมาตลอดเวลา มีผลทาให้กระดูกถูก
ทาลายมากกว่าการสร้างเนื้อกระดูกก็จะบางลงในที่สุด
26.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
รู้จักเซลล์กระดูกประกอบด้วย
ออสตีโคลาสท์ (Osteoclast)
เป็นเซลล์ที่ทาหน้าในการสลาย
เซลล์กระดูก จากการปล่อยสาร
คาร์บอนิคแอนไฮเดรสและ
แอซิดไฮโดรเลสจากเซลล์
ออสตีโอบาสท์
ออสตีโอบาสท์ (Osteoblast)
เป็นเซลล์กระดูกที่อยู่บริเวณไข
กระดูกมีหน้าที่สร้างสารพื้นฐาน
ของกระดูก เช่น แคลเซียม
และทาหน้าที่ในการควบคุม
การทางานของการสร้างและ
สลายเซลล์กระดูก
ออสตีโอชัยท์ (Ostecyte)
เป็นเซลล์ออสตีโอบาสท์ที่
ล้อมรอบด้วยสารพื้นฐานของ
กระดูกมีหน้าที่รักษา และคง
สภาพสารพื้นฐาน พร้อมทา
หน้าที่ควบคุมระดับของ
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
เซลล์กระดูก
กระดูกจัดเนื้อเยื่อพิเศษชนิดหนึ่ง มีหน้าที่ คือ
1. เป็นโครงสร้างของร่างกายสาหรับยึดเกาะของ
กล้ามเนื้อ และเอ็นยึดต่างๆ
2. กระดูกบริเวณอวัยวะบางส่วนมีส่วนช่วยเป็น
เกราะปูองกัน การกระทบกระแทกให้แก่ร่างกาย
เพื่อปูองกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น
3. โครงร่างกระดูกเป็นแกนหลักสาหรับการ
เคลื่อนไหวของอวัยวะ ไม่ว่าจะเป็นการดึง
การหดตัวของกล้ามเนื้อ
4. เนื้อเยื่อกระดูกเป็นแหล่งสังเคราะห์เซลล์
เม็ดเลือดชนิดต่างๆ
5. กระดูกเป็นที่สะสมแคลเซียมให้แก่ร่างกาย
ภาพชนิดของเซลล์กระดูก
https://www.boundless.com/biology/t
extbooks/boundless-biology-
textbook/the-musculoskeletal-system-
38/bone-216/cell-types-in-bones-816-
12058/images/the-four-types-of-bone-
27.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
การป้องกันโรคกระดูกพรุน
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.osteodigest.com/
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
มีวิธีใดบ้างที่จะดูแล
ให้ผมแข็งแรง
วาดโดย
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
1. ระวังไม่กินอาหารเค็มจัดหรือมีโซเดียมมาก เพราะ
เกลือโซเดียมที่มากเกินจะทาให้การดูดซึมของแคลเซียม
จากลาไส้ลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถนาแคลเซียมมา
ใช้ได้ และยังทาให้การสูญเสียแคลเซียมทางไตมากขึ้น
ด้วย
3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มจาพวก
เหล้า เบียร์ ชา กาแฟ
ช็อกโกแลต แอลกอฮอล์หรือ
กาเฟอีนในเครื่องดื่มเหล่านี้จะ
ไปขัดขวางการดูดซึมของ
แคลเซียม ทาให้ร่างกายขับ
แคลเซียมออกมามากขึ้น
เพราะฉะนั้นไม่ควรดื่มชา กาแฟ
เกินวันละ ๓ ถ้วย
2. ไม่ควรดื่มน้าอัดลมในปริมาณ
มาก เพราะในน้าอัดลมมี
ส่วนผสมที่ชื่อ "กรดฟอสฟอริก"
ที่ทาให้เกิดฟองฟูุ การดื่ม
น้าอัดลมมากทาให้ความสมดุล
ของแคลเซียมและฟอสฟอรัส
เสียไป (มีฟอสฟอรัสมากขึ้น)
ร่างกายจึงจาเป็นต้องสลาย
แคลเซียมออกจากคลังกระดูก
เพื่อปูองกันไม่ให้ฟอสฟอรัสใน
เลือดสูงเกินไปจนส่งผลอันตราย
ต่อชีวิต
4. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
แคลเซียมมีบทบาทสาคัญในการ
รักษาความสมดุลระหว่างค่า
ความเป็นกรด-ด่างของเลือด
การสูบบุหรี่ทาให้ร่างกายมีภาวะ
เป็นกรด ดังนั้น บุหรี่ทุกๆ มวน
จึงเป็นตัวที่ทาให้แคลเซียม
ละลายจากกระดูก นอกจากนี้
บุหรี่ยังทาให้ระดับฮอร์โมน
เอสโตรเจนในผู้หญิงต่ากว่าปกติ
ด้วย จึงยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อ
การเกิดกระดูกพรุน
28.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
กระดูกเสื่อม โรคกระดูกเสื่อม เป็นการเสื่อมของ
กระดูกอ่อนบริเวณข้อที่มีการ
เคลื่อนไหวมาก เช่น ข้อเท้า ข้อศอก
ข้อไหล่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือและ
ข้อนิ้วมือ ข้อเท้า โดยส่วนประกอบ
หลักของกระดูกอ่อนคือน้าและโปรตีน
ซึ่งทาให้กระดูกมีความยืดหยุ่น ทนต่อ
แรงกระแทกและแรงเสียดทานสี แต่
หากใช้นานๆก็จะเกิดการเสื่อมและ
สึกหรอได้
สาหรับหนุ่มสาวออฟฟิศก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกเสื่อมจากอาการบาดเจ็บ ได้
เช่นกัน ซึ่งโรคที่พบได้บ่อยอย่างเช่น กระดูกก้านคอเสื่อม มักพบในอาชีพที่ต้องก้มหน้านานๆ
อย่าง ทันตแพทย์จะมีโอกาสเป็นมากกว่าปกติ ส่วนพนักงานออฟฟิศจะเกิดโรคจากการนั่งผิดท่า
อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอดทั้งวัน หรือการปรับเก้าอี้สูงหรือต่าไม่ตรงกับระดับหน้าจอ ทาให้
ต้องก้มหรือแหงนคอตลอดเวลา ก็จะทาให้กระดูกก้านคอเสื่อม หรือกระดูกสันหลังเสื่อมได้
ส่วนสัญญาณบอกเหตุคือ มีอาการเจ็บปวดตามแนวกระดูกหรือคอเมื่อขยับร่างกาย และขยับ
ได้น้อยลง มีเสียงดังตามข้อต่างๆ เพื่อพลิกหรือขยับตัว
ปรับปรุงภาพจาก
http://www.homeorizon.com/homeopathy-
articles/degenerative-spine-disease/part1
โรคกระดูกเสื่อมเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ
กลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ส่วนใหญ่จะพบบ่อยคือ โรคกระดูกเสื่อมที่ข้อนิ้ว และข้อ
ปลายนิ้ว เมื่ออายุมากขึ้นจะเป็นโรคกระดูกข้อเข่าเสื่อม กระดูกจะมีลักษณะเป็นปม ซึ่งพบมาก
ในผู้หญิงเอเชีย ส่วนผู้หญิงฝั่งยุโรปจะปุวยเป็นโรคกระดูกข้อสะโพกเสื่อม
ส่วนสาเหตุที่สองเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการบาดเจ็บเพราะอุบัติเหตุ อย่างเช่น
โรคกระดูกข้อสันหลังเสื่อม การก้มเงยมาก ยกหรือถือของหนักต่อเนื่องและเป็นระยะเวลานาน
การป้องกันโรคกระดูกเสื่อม
ปรับปรุงภาพจาก
https://www.cedars-
sinai.edu/Patients/Health-
Conditions/Degenerative-Disc-Disease.aspx
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
1. การออกกาลังกายก็เป็น
แนวทางปูองกันให้เกิดโรค
กระดูกพรุน กระดูกคด
หรือผิดรูปได้น้อยลง แต่
สาหรับผู้ปุวยโรคกระดูก
เสื่อมสามารถออกกาลัง
กายได้ แต่ไม่ควรหักโหม
มากเกินไป อาจวิ่งจ๊อกกิ้ง
เบาๆ 4-5 วันต่อสัปดาห์
3. หลีกเลี่ยงสะพายกระเป๋าหนัก
หรือหิ้วของหนักข้างใดข้างหนึ่ง
ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อาจ
ทาให้เกิดการกดทับเส้นประสาท
บริเวณสะบัก ทาให้กล้ามเนื้อมี
อาการอักเสบ หรืออาจมีการชา
ของเส้นประสาท บริเวณแผ่น
หลังได้ จึงไม่ควรสะพายกระเป๋า
ข้างใดข้างหนึ่งเป็นเวลานาน
หากมีอาการปวดต้นคอ หรือชา
ปลายนิ้วมือ ควรพบแพทย์
2. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแคลอรี
สูง เพราะทาให้น้าหนักตัว
เพิ่มขึ้น ร่างกายต้องแบกรับ
น้าหนักเยอะ กระดูกสันหลังก็
รับน้าหนักเยอะตามไปด้วย ส่วน
การดื่มนมก็เป็นเรื่องดี เพราะ
สามารถเพิ่มแคลเซียมให้กับ
กระดูกได้ แต่ต้องระมัดระวัง
เรื่องคอเลสเตอรอลสูง
โดยเฉพาะผู้ที่ประวัติครอบครัว
มีไขมันในเลือดสูง สาหรับ
ผู้สูงอายุควรตรวจระดับไขมันใน
เลือดก่อนดื่มนมด้วย
มีวิธีใดบ้างที่จะ
ดูแลให้ผม
แข็งแรง
ภาพไขสันหลัง
วาดโดยกมลรัตน์ ฉิมพาลี
29.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาชี้แจง : อ่านข้อมูลที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม
โรคที่เกิดขึ้นบริเวณฝุามือคือโรค CTS ย่อมาจาก Carpal Tunnel Syndrome
หรือชื่อในภาษาไทยเรียกว่า “โรคพังผืดกดทับเส้นประสาท” เกิดจากเส้นประสาทมีเดียน
(Median Nerve) ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อบริเวณแขนและมือและรับความรู้สึก
บริเวณฝุามือ นิ้วโปูง นิ้วชี้ นิ้วกลาง จนถึงครึ่งหนึ่งของนิ้วนาง เส้นประสาทนี้จะส่งกระแส
ประสาทผ่านบริเวณต้นคอจนถึงปลายนิ้วมือ ซึ่งบริเวณข้อมือนั้นจะต้องลอดผ่านเอ็นที่คล้ายกับ
ช่องอุโมงค์ จึงเรียกว่า Carpal Tunnel เมื่อช่องนี้แคบลงจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น เกิดจากการ
หนาตัวขึ้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดเป็นเส้นใยเหนียว (Fibrous tissue) ที่มีหน้าที่ช่วยในการ
ยึดเกาะระหว่างเนื้อเยื่อต่างๆ (กล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ, กล้ามเนื้อกับกระดูก) ทาให้กดทับ
เส้นประสาทที่บริเวณอุโมงค์ เมื่อเส้นประสาทเกิดการติดขัดจะทาให้เกิดอาการชาหรือปวดร้าว
(อ้างอิงจาก : http://www.ninds.nih.gov/disorders/carpal_tunnel/detail_carpal
_tunnel.htm)
เส้นประสาทมีเดียน
กระดูกเรเดียส
กระดูก
อัลนา
เส้นเอ็น
ข้อมือ
บริเวณที่เส้นประสาท
ถูกกดทับเมื่อหนาตัวขึ้น
เรื่อง การดูแลและรักษา
ระบบการเคลื่อนที่ของคนบัตรกิจกรรม
30.
ปรับปรุงภาพจาก : http://theheartysoul.com/acupressure-for-carpal-tunnel/
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับโรคพังผืดกดทับเส้นประสาท
1. อาการเจ็บหรือชาที่บริเวณฝุามือ
2. อาการชาเกิดจากเลือดไปเลี้ยงปลายนิ้วไม่เพียงพอ
3. การวางมือในท่าเดิมเป็นเวลานานจะทาให้เอ็นเพิ่มมากขึ้น
4. ระดับความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับการบาดเจ็บของข้อกระดูก
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน
ตอบผิดได้ 0 คะแนน
คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” ที่เป็นสาเหตุของ
โรคพังผืดกดทับเส้นประสาท
การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ
ไม่ถูกต้อง”
1. การพิมพ์คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางลง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
3. ความเสื่อมของเท็นดอน ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
คะแนนเต็ม 3 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน
31.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
คาถามข้อที่ 3 การพิมพ์ข้อความหรือนิ้วจิ้ม/สไลด์หน้าจอเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดแรงกดที่
พังผืด ทาให้พังผืดหนานมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ความดันภายในข้อมือเพิ่มมากขึ้น
จากข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า “ช่องข้อมือที่แคบลง ทาให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณเส้นประสาท
ไม่ดี จึงทาให้เกิดการชา” ถูกต้องหรือไม่ เพราเหตุใด
1. ถูกต้อง
2. ไม่ถูกต้อง
3. ไม่แน่ใจ
เหตุผล
1. เพราะเมื่อหลอดเลือดแคบลง ความดันในการส่งเลือดจะเพิ่มขึ้น
2. เพราะความดันมากขึ้น ส่งผลให้กระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้น
3. เพราะอาการชาเกี่ยวข้องกับกระแสประสาทเท่านั้นไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเลือด
4. เพราะแรงกดช่วยเพิ่มการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
5. เพราะช่องข้อมือไม่สามารถที่จะลดลงหรือเพิ่มขึ้นได้
6. เพราะกระแสประสาทเคลื่อนที่ไปกับกระดูก แม้ช่องข้อมือจะลดลงแต่มวลของกระดูก
จะส่งกระแสประสาทได้เป็นปกติ
คะแนนเต็ม 3 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน
คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการปูองกันโรคพังผืดกดทับเส้นประสาทอย่างไร
เขียนคาตอบ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน
ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน
เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน
เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 32.
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 

What's hot (20)

แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
 

Viewers also liked

รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Viewers also liked (14)

รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 

Similar to 6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ krupornpana55
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 

Similar to 6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน (20)

7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
1
11
1
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Koy
KoyKoy
Koy
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 

6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน

  • 1. เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนถนนหักพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ผู้สอนได้ดาเนินการ จัดทาขึ้นเพื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ซึ่งผู้เรียน สามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับขั้น ศักยภาพและความสามารถของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะ ความคิด สามารถดารงชีวิตในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้ ที่ถูกจัดทาอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยายขอบเขต ของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุข ในการดารงชีวิต กมลรัตน์ ฉิมพาลี คานา เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ก.
  • 3. เรื่อง หน้า คานา ................................................................................................................................. สารบัญ .............................................................................................................................. คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องเล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน………………………………………………………………………………... คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................ คาแนะนาสาหรับนักเรียน.................................................................................................... ขั้นตอนการใช้...................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................ ผลการเรียนรู้....................................................................................................................... แบบทดสอบก่อนเรียน ....................................................................................................... ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้.................................................................................... ชุดการเรียนรู้…….…………… บัตรเนื้อหา ................................................................................................................ บัตรกิจกรรม ............................................................................................................. บัตรเฉลย ................................................................................................................... แบบทดสอบหลังเรียน ....................................................................................................... เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ........................................................................ บรรณานุกรม ..................................................................................................................... ก ข 1 2 3 4 5 6 7 10 12 12 30 33 36 39 43 สารบัญ ข.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 4. 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้ 1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน 5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 6. เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 7. เล่มที่ 7 เรื่อง สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนที่ 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่ ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม 4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย 5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน คาชี้แจง 1.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 5. 1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน 1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล ให้พร้อมใช้ ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่ เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน คาแนะนา สาหรับครู 1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้ 2. ขั้นการสอน 3. ขั้นสรุป หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียนการสอน ชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน 2.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ ตั้งใจ ดังนี้ 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งสื่อวิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น 4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 เรื่องการเคลื่อนที่ของคน 6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้ 7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80 หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทา การประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน คาแนะนา สาหรับ นักเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน การสอนชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ 3.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 7. ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน ขั้นตอน การใช้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ 3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน 4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 4.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 8. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5. มาตรฐาน การเรียนรู้ เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 9. 1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา 2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย 3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง 4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism) 6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก 7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน 8. สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ 9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆ และกลไกการทางานของกล้ามเนื้อ 10. อภิปรายการนาความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 6. ผลการ เรียนรู้ เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 10. คาชี้แจง : ข้อสอบมีทั้งหมด 4 ข้อ 10 คะแนน การสูบบุหรี่ทาลายกระดูกวัยรุ่นหญิง นักวิจัยค้นพบว่า วัยรุ่นหญิงที่สูบบุหรี่จะสูญเสียแร่ธาตุจากกระดูกมากกว่าวัยรุ่นหญิงที่ไม่ สูบบุหรี่ โรคกระดุกพรุนคือการสูญเสียความหนาแน่นของมวลกระดูก เนื่องจากแร่แคลเซียม ในกระดูกลดลง ปกติกระดูกของคนจะมีการสร้าง และการสลายอยู่ตลอดเวลา ในเด็กจะมีการ สร้างมากกว่าการสลาย ทาให้กระดูกของเด็กมีการเจริญเติบโต และแข็งแรงกระดูกจะใหญ่ขึ้น จนกระทั่งอายุ 30 ปี กระดูกจะเริ่มมีการสลายมากกว่าการสร้างทาให้เนื้อกระดูกเริ่มลดลง โรคกระดูกพรุนนี้พบได้ในสตรีมากกว่าบุรุษ เพราะมวลกระดูกของสตรีมีน้อยกว่าของ บุรุษ และเมื่อสตรีหมดประจาเดือนจะขาดฮอร์โมนอีสโตรเจนที่ช่วยทาให้แคลเซียมมาจับที่เนื้อ กระดูกลดลง ทาให้กระดูกบางลง ๆ หลังหมดประจาเดือน Lorah Dorn และเพื่อนร่วมงาน เชิญอาสาสมัครในการทดลอง 262 คน ที่มีสุขภาพดี อายุระหว่าง 11-17 ปี ตอบคาถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการใช้ชีวิต 3 ปีย้อนหลัง จากนั้นนาไปตรวจมวลกระดูก พบว่าวัยรุ่นหญิงที่สูบบุหรี่จะมีการเจริญของมวลกระดูก อย่างช้าๆ และมวลกระดูกที่สะโพกลดลง ในขณะที่วัยรุ่นหญิงที่ไม่สูบบุหรี่จะมีการเพิ่มมวลกระดูก และยังมี การพบว่า ในอายุ 19 ปี ที่สูบบุหรี่ทุกวันจะมีมวลกระดูกลดลงอย่างรวดเร็ว Kenneth Ward นักจิตวิทยาสุขภาพคลีนิค เสนอแนวคิดว่าผลการวิจัยน่าจะให้ผล เดียวกันในการวิจัยการสูบบุหรี่ของผู้หญิงในวัยทางานเพราะจากการศึกษางานวิจัยความหนาแน่น ของกระดูกผู้ใหญ่พบว่า “การสูบบุหรี่มีแนวโน้มเพิ่มความเสี่ยงของการแตกหักกระดูกสันหลังโดย ร้อยละ 13 และกระดูกสะโพกหักร้อยละ 31” (เขียนโดย Nathan Seppa วันที่ 5 ธันวาคม 2555 แหล่งข้อมูล http://www.sciencenews.org/view/generic/id/346875/description/Smoking_hurts_te en_girls_bones) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคน แบบทดสอบ ก่อนเรียน 7.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 11. คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง 1. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงมีแนวโน้มเสี่ยงต่อโรคข้อสะโพกเสื่อม 2. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงขัดขวางการสะสมแคลเซียมที่กระดูก 3. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงส่งผลต่อกระดูกมากกว่าวัยรุ่นชาย 4. การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงมีผลต่อกระดูกสันหลัง คะแนนเต็ม 1 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “เกี่ยวข้อง” หรือไม่เกี่ยวข้อง” และให้เหตุผลในการ วิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล “เกี่ยวข้อง”หรือ“ไม่เกี่ยวข้อง” ช่วงเวลาที่สูบบุหรี่ เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนไหว เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง วิตามินดี เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง การสะสมแคลเซียม เกี่ยวข้อง/ไม่เกี่ยวข้อง คะแนนเต็ม 1 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ต้องตอบถูกทั้ง 4 ข้อ จึงจะได้ 1 คะแนน คาถามข้อที่ 3 “บุหรี่จะส่งผลต่อกระดูกบริเวณสะโพก” จากข้อความนี้ สามารถสรุปได้ว่า บุหรี่มีผลต่ออาการข้อกระดูกสะโพกเสื่อมได้หรือไม่ 1. ได้ 2. ไม่ได้ 3. ไม่แน่ใจ 8.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของร่างกาย
  • 12. เหตุผล 1. เพราะอาการกระดูกหักอาจจะส่งผลต่อการเสื่อมของกระดูก 2. เพราะกระดูกพรุนเป็นปัจจัยหลักของอาการกระดูกเสื่อม 3. เพราะข้อกระดูกเสื่อมเกี่ยวข้องกับการสะสมแคลเซียม 4. เพราะการเสื่อมของข้อสะโพกเกี่ยวข้องอายุของกระดูกตามสภาพโครงสร้างของร่างกาย 5. เพราะกระดูกบางเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่คาดว่าจะส่งผลต่ออาการกระดูกเสื่อม 6. เพราะกระดูกพรุนเกิดขึ้นกับกระดูกแข็ง กระดูกเสื่อมเกิดขึ้นกับกระดูกอ่อน คาถามข้อที่ 4 การสูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิง นอกจากจะส่งผลต่อภาวะกระดูกพรุนแล้ว หากยังมี การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง ในที่สุดจะส่งผลต่อระบบกระดูกอย่างไร เขียนคาตอบ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 9.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของร่างกาย
  • 13. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้ 1. อภิปรายการนาความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1.การเคลื่อนที่ ของคน สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน คนใช้การ เคลื่อนที่ที่อาศัยการทางานของระบบ โครงกระดูก และระบบกล้ามเนื้อ กระดูกแต่ละชิ้นเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อ กล้ามเนื้อแต่ละคู่ที่ยึดติดกับกระดูก ทางานร่วมกันในสภาวะตรงกันข้าม (Antagonism) ด้านความรู้ (K) 1. เข้าใจการดูแลร่างกาย ก่อน ระหว่างและหลัง การออกกาลังกาย 2. อภิปรายโรคต่างๆที่ เกี่ยวข้องกับระบบกระดูก กล้ามเนื้อและเอ็น 3 มาตรฐานการเรียนรู้ ตาราง วิเคราะห์ 10.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 14. เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. ออกแบบการแก้ปัญหา และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความสนใจใฝุรู้ เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 11.
  • 15. เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคนบัตรเนื้อหา นักเรียนคิดว่าอาการปวดกล้ามเนื้อ มีสาเหตุมาจากอะไร และควรมีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไรบ้าง ภาพจาก https://www.healthtap.com/topics/Why-do- my-muscle-hurt-every-time-I-do-actives .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 12. 1 2 ระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก (Musculoskeletal system) หมายถึง ระบบ อวัยวะที่รวมเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นยึดข้อ เส้นประสาท และ หลอดเลือดเลี้ยงเนื้อเยื่อกระดูก เยื่อหุ้มข้อ กระดูกและข้อกระดูก หมอนกระดูกสันหลัง และกระดูกโครงสร้างร่างกายภาวะผิดปกติ ของกระดูกและกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มโรคที่มี สาเหตุมาหลายปัจจัย จากท่าทางซ้าๆ หรือ การออกแรงเกินกาลัง รวมทั้งท่าทางที่ฝืน ธรรมชาติ ปัจจัยจากการทางานเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ นอกจากนี้ยัง มีสาเหตุอื่นๆ เช่น การทางานบ้าน ความ ผิดปกติของโครงสร้างร่างกายที่มีอยู่เดิม ความ เสื่อมตามอายุ หรือสภาวะทางจิตใจ เป็นต้น ซึ่ง จะมีผลต่อความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูก และกล้ามเนื้อได้เช่นกัน 3. 4.
  • 16. • โรคออฟฟิศซินโดรม การบาดเจ็บ จากการทางาน • ตะคริว • การบาดเจ็บของ กล้ามเนื้อ • การบาดเจ็บข้อต่อ และกระดูก การอักเสบกล้ามเนื้อ จากการเล่นกีฬา • กระดูกพรุน • กระดูกเสื่อม โรคที่เกี่ยวข้องกับ ระบบโครงกระดูก เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 13. การบาดเจ็บจากการทางานสามารถเกิดได้ 2 วิธีหลักๆ คือเกิดจากอุบัติเหตุมี ลักษณะเฉพาะคือ มีเหตุการณ์เกิดที่ชัดเจน มีกลไกการเกิดที่ชัดเจน เช่น สะดุดล้ม เครื่องจักรหนีบ ค้อนหล่นทับ การเกิดอุบัติเหตุนี้ก่อให้เกิดการบาดเจ็บโดยตรงต่อกระดูก กล้ามเนื้อเอ็น หลอดเลือด หรือเส้นประสาทได้ นั่นคือ ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวในขณะที่ วิธีที่ 2 เป็นการบาดเจ็บจากการทางานในขณะที่ทางานอยู่ในท่าทางใดท่าทางหนึ่งนานๆ หรือทางานในท่าหนึ่งๆ ซ้าๆ กันตลอดเวลา ซึ่งการบาดเจ็บในลักษณะนี้ จะไม่สามารถ บอกเวลาหรือกลไกการเกิดได้อย่างชัดเจน จะรู้ตัวก็ต่อเมื่อมีอาการเกิดขึ้นแล้ว ในหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่างกายที่เกี่ยวข้อง กับระบบการเคลื่อนที่ของคน ภาพจาก http://www.aushealthclub.com/jp/product/284961/arnicagel การทางานกับการบาดเจ็บจากการทางาน
  • 17. Office’s syndrome การบาดเจ็บในรูปแบบที่ 1 สามารถเห็นได้ ชัดเจนและควรพบแพทย์ในการรักษา ส่วนวิธีการที่ 2 เป็นสิ่งที่เราสามารถปูองกันได้ เรารู้จักในชื่อ ออฟฟิศ ซินโดรม คาตอบคือ การทางานในลักษณะดังกล่าว กล้ามเนื้อ ต้องทางานอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลต่อการบาดเจ็บของ ตัวกล้ามเนื้อ และเส้นเอ็นโดยตรง หรือจาก การ ไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกเนื่องจากกล้ามเนื้อเกร็ง ทางานคงค้างอยู่ หรือแม้แต่เส้นประสาทถูกรั้งจากการ ทางานของกล้ามเนื้อนั้นๆ ส่งผลทาให้เกิดการบาดเจ็บ ต่อหลอดเลือดและเส้นประสาท และส่งผลย้อนกลับมา ที่การทางานของกล้ามเนื้อแย่ลงได้ ภาพจาก https://shutterstock.com สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม 2559 เล่มที่ 6 เรื่องวิทยาศาสตร์การกีฬาและการดูแลรักษาการบาดเจ็บเบื้องต้น 14. ทาไมการทางานซ้าๆ กัน หรือทางานอยู่ ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ สามารถส่งผลต่อ การบาดเจ็บได้ ภาพจาก https://www.theodysseyonline.com/g ot-text-neck สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559 การปวดนิ้วและข้อมือ ปัจจุบันเครื่องมือสื่อสารและอุปกรณ์ทางานต้องใช้ นิ้วจิ้ม-กด เพื่อพิมพ์แชท (Chat) จะทาให้เอ็นหรือข้อ เกิดการอักเสบขึ้นบริเวณนิ้วหัวแม่มือนั่นเอง ซึ่งสาเหตุ หลักๆ เกิดจากการใช้นิ้วหัวแม่มือกดไปยังปุุมเล็กๆ บนอุปกรณ์ไอที ขนาดพกพามากเกินไป ภาพจาก http://www.nairaland.com/673047/b eware-overuse-smart-phones-cause สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
  • 18. อาการปวดหลัง การนั่งท่าเดิมนานๆ จะทาให้เกิด อาการปวดหลังได้อย่างไร ก่อนอื่นนั้นเรามา ทบทวนโครงสร้างของหลังกันก่อน 1. กระดูกสันหลัง เป็นกระดูกแกนกลางที่ สาคัญของร่างกายในการรองรับน้าหนัก ตัว กระดูกสันหลังมีลักษณะเป็นปล้องๆ ตั้งแต่คอถึงเอว โดยจะเรียกตาแหน่งตาม ตัวเลข ดังนี้  ส่วนคอ (cervical spine) ประกอบ ด้วยกระดูก 7 ชิ้น (เรียก C1-C7)  ส่วนอก (thoracic spine) ประกอบด้วยกระดูก 12 ชิ้น (เรียก T1- T12)  ส่วนเอว (lumbar spine) ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิ้น (เรียก L1-L5) ซึ่งเป็นส่วนที่พบอาการปวดบ่อยที่สุด เนื่องจากเป็นส่วนที่รองรับน้าหนักของ ร่างกายส่วนบน  ส่วนกระเบนเหน็บ (sacral spine) ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิ้น (เรียก S1-S5) ซึ่งทั้งหมดจะรวมเป็นชิ้นเดียว เรียกว่า กระดูกก้นกบ ตาแหน่งที่กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นเชื่อมต่อ กันเรียกว่า ข้อต่อกระดูกสันหลัง มี 2 ข้าง คือซ้ายและขวา ช่วยให้กระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวได้ 15.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะมีหมอน รองกระดูกสันหลังคั่นอยู่ ภายในหมอน รองกระดูกมีลักษณะคล้ายเจลลี ซึ่งถ้าหาก หมอนรองกระดูกมีการฉีกขาดและส่วน ชั้นในเคลื่อนออกมากดทับเส้นประสาท ก็จะทาให้เกิดอาการปวดตามมาได้ 2. กล้ามเนื้อหลัง ยึดติดอยู่กับกระดูกสัน หลัง โดยมีเส้นเอ็นที่ยึดกระดูกแต่ละ ชิ้นเข้าไว้ด้วยกัน 3. เส้นประสาทไขสันหลัง ในช่องโพรง กระดูกสันหลังจะมีเส้นประสาทไขสัน หลังจานวน 31 คู่ ทาหน้าที่รับ ความรู้สึกและสั่งงานไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ภาพจาก https://www.bumrungrad.com/th/spi ne-institute-surgery-bangkok-thailand- best-jci/conditions/back-pain สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559
  • 19. ร่างกายคนเรามีระบบปูองกันภัย ที่พิเศษและแตกต่างจากเครื่องจักร นั่นคือ เมื่อมี การบาดเจ็บเกิดขึ้น ร่างกายจะแสดงอาการออกมาในรูปแบบของอาการเจ็บ ซึ่งเป็น สัญญาณเตือนว่าขณะนี้ อวัยวะหรือเนื้อเยื่อนั้นๆ ต้องการการดูแลรักษาและการพักผ่อน สาเหตุของอาการปวดหลัง อาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นท่าทางที่ไม่ถูกต้อง หรือพยาธิสภาพ ของกระดูกสันหลังเอง โดยสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจาก  ท่าทาง อิริยาบถ การเคลื่อนไหวร่างกาย และการใช้งานหลังที่ไม่ถูกต้องเป็น เวลานาน เป็นสาเหตุการปวดหลังที่พบได้บ่อยในคนวัยทางานที่ต้องทางานกับ คอมพิวเตอร์นานๆ (โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก) หากไม่ได้ใส่ใจกับท่านั่งที่ ถูกต้อง มักจะนั่งด้วยท่าทางแบบหลังงอ ไหล่ห่อ และก้มคอเข้าหา จอคอมพิวเตอร์ การยกของหนักโดยใช้การก้มหลัง น้าหนักทั้งหมดจะผ่านไปที่ กระดูกสันหลังส่วนที่กาลังโค้งมากที่สุด 16.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ภาพจาก http://steamcommunity.com/sharedfiles/filedetails/ ?id=329885610&searchtext=FPS สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560
  • 20. การป้องกันอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและอาการ office’s syndrome 17.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน ปรับปรุงภาพจาก http://www.seemoretech.com/2014/11/ right-position-of-sitting-while-using.html สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559 การนั่งทางาน นั่งอ่านหนังสือและการ ใช้อุปกรณ์สื่อสาร ควรมีท่านั่งที่ถูกต้อง เพื่อปูองกันการปวดเมื่อยและอาการ ออฟฟิศซินโดรม มาเรียนรู้ท่านั่ง เพื่อช่วย กระจายแรงไม่ให้กดทับกล้ามเนื้อส่วนใด ส่วนหนึ่งมากเกินไป มีท่านั่งที่ถูกต้อง ดังต่อไปนี้ 1. จอภาพอยู่ระดับสายตา 2. ข้อศอกตั้งฉากกับลาตัวและแปูนพิมพ์ อยู่ระดับเดียวกับมือ 3. นั่งเต็มเก้าอี้ มีพนักหรือหมอนรอง ด้านหลัง 4. มีแผ่นรองใต้ข้อมือเพื่อลดการเกร็งมือ และช่วยผ่อนคลายและควรเปลี่ยน อิริยาบถ อย่างน้อย 5-10 นาที ทุกๆ 1 ชั่วโมง การยืดเส้นคลายกล้ามเนื้อ ปรับปรุงภาพจาก https://www.shutterstock.com/image-vector/ office-syndrome-health-care-concept-infographic- 339537737 สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2559 คุณหมออธิบายเรื่องออฟฟิศซินโดรม ttps://www.youtube.com/watch ?v=s8VILe0Nhrw
  • 21. ตะคริว (Muscle cramp) คือภาวะเกิดการหด เกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรงทันทีโดยเราบังคับไม่ได้ ร่วมกับมีอาการปวดเจ็บกล้ามเนื้อมัดที่เกิดการหด เกร็ง โดยในขณะเกิดอาการจะไม่สามารถใช้งาน กล้ามเนื้อมัดนั้นได้ ตะคริวเกิดได้กับกล้ามเนื้อลาย (Striated muscle, กล้ามเนื้อ แขน ขา และของ เนื้อเยื่อภายนอกร่างกาย เช่น แผ่นหลัง และกระดูก ซี่โครง แต่ถ้าเป็นกล้ามเนื้อของอวัยวะภายในจะเป็น กล้ามเนื้อเรียบ, Smooth muscle) ทุกมัด แต่ที่พบ บ่อยที่สุดคือ เกิดกับกล้ามเนื้อน่อง รองลงไป คือ กล้ามเนื้อเท้า และกล้ามเนื้อต้นขา โดยโอกาสเกิด กับกล้ามเนื้อข้างซ้ายและข้างขวาเท่ากัน 18.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การอักเสบกล้ามเนื้อจากการเล่นกีฬา ปรับปรุงภาพจาก http://gazettereview.com/2015/08/preventi on-and-treatment-of-muscle-cramps/ สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอะไรเป็นกลไกที่แท้จริง ของการเกิดตะคริว แต่จากการศึกษาเชื่อว่าเกิดจาก การหดเกร็งตัวชั่วคราวของมัดกล้ามเนื้อนั้นๆทั้งมัด ทาให้เห็นเป็นก้อนหรือเป็นลูกจะมีอาการเจ็บปวดมาก สาเหตุเกิดจากกล้ามเนื้อไม่แข็งแรงหรือไม่ได้รับการฝึก อย่างเพียงพอ ใช้งานมากเกินไป ได้รับการกระแทก อย่างรุนแรง จะทาให้เกิดเป็นตะคริวได้ นอกจากนี้การ ที่ร่างกายขาดเกลือแร่บางชนิด เช่น แคลเซียม หรือใน สภาพอากาศที่เย็นหรือการรัดผ้ายืดแน่นเกินไปเลือด มาเลี้ยงกล้ามเนื้อน้อยจะยิ่งก่อให้เกิดตะคริวได้ เช่นเดียวกัน ปรับปรุงภาพจาก http://www.medicalook.com/ Pain_relief/Muscle_cramp.html สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
  • 22. การป้องกัน 19.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน แนวทางการรักษา ในขณะที่กาลังเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวให้หยุดพักทันที จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมัดนั้นให้เต็มที่ประมาณ 5-10 นาที เพื่อให้ กล้ามเนื้อมัดนั้นคลายตัว จึงนวดต่อด้วยน้ามันนวดที่ร้อนเบาๆ ห้ามจับ บีบหรือขยา เพราะจะทาให้กล้ามเนื้อหดเกร็งเกิดตะคริวได้อีก หลังจาก นั้นต้องบริหารกล้ามเนื้อมัดนั้นเป็นพิเศษ เพื่อให้แข็งแรงอยู่เสมอ 1. บริเวณกล้ามเนื้อทุกๆ ส่วนของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อขาซึ่งต้องออกแรงมากในการวิ่ง 3. บริหารกล้ามเนื้อที่เคยเป็นตะคริวให้แข็งแรงเป็นพิเศษ เพื่อจะได้มีความทนเพิ่มขึ้น 4. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาในสภาพอากาศที่หนาวเย็น 5. ดื่มน้าและเกลือแร่ให้เพียงพอ ทั้งก่อนการเล่นกีฬา ขณะเล่นกีฬาหรือหลังการเล่นกีฬา เพื่อให้ความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายอยู่เสมอ 2. ฝึกซ้อมและค่อยๆ เพิ่มระยะทางการวิ่งเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงทน ต่อการเกิดตะคริวได้ ปรับปรุงภาพจาก http://www.wristassuredgloves.com/2012/08/31/how-to-avoid-relieve-muscle-cramps/ สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
  • 23. 20.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การอักเสบของกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อช้า เกิดจากการที่กล้ามเนื้อโดนกระแทกด้วยของแข็ง ทาให้หลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อฉีกขาดมี เลือดออกคั่งอยู่ในกล้ามเนื้อ ถ้าเป็นมากหรือได้รับ การรักษาไม่ถูกต้อง เลือดที่คั่งจะไปจับกันเป็นก้อน เหนียว เกิดเป็นพังผืดทาให้กล้ามเนื้อทางานไม่ได้ เต็มที่และเกิดการเจ็บปวดได้ ภาพจาก http://kidsnews.bectero.com/natcha- the-explorer สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 เมื่อได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อจากการกระทบกระแทก ให้หยุดพักทันทีพร้อมกับ ประคบน้าแข็ง ประมาณ 10-15 นาที เพื่อปูองกันไม่ให้เลือดออกหรือให้เลือดออกน้อยที่สุด จากนั้นใช้ผ้ายืดพันทับกล้ามเนื้อมัดนั้น เพื่อจะได้มีแรงกดและหยุดการเคลื่อนไหวของ กล้ามเนื้อมัดนั้น หลังจากนั้น 1-2 วัน ให้ประคบร้อนหรือนวดด้วยน้ามันนวดที่ร้อนเบาๆ เพื่อให้เลือดที่ออกกระจายตัวและถูกดูดซึมกลับไปในที่สุด และปูองกันการยึดติดของพังผืด ต่อไป แนวทางการรักษา ภาพจาก http://kidsnews.bectero.com/natcha-the-explorer สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
  • 24. 21.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน เกิดจากการฉีกขาดของเอ็นที่ยึดข้อ การฉีกขาดอาจเป็นเพียงบางส่วนหรือฉีกขาดทั้งหมด ถ้ารักษาไม่ดีอาจจะทาให้เอ็นยึดหรือติดไม่แข็งแรง หรือติดไม่ดี ผลที่ตามมาคือ เจ็บ ทาให้เกิด ข้อเสื่อมในภายหลังและข้อคลอนได้ การบาดเจ็บจากการกีฬาที่พบบ่อย คือ ข้อเท้า ข้อเข่า เอ็นยึดข้อเท้าและข้อเข่ามีอยู่ ด้วยกันหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยเอ็นหลายผืนหลายมัด แต่ละมัดหรือผืน ประกอบด้วยเส้นใยเล็กๆ เรียงตัวกอดกันแน่นในผืนหรือมัดตามความยาว เอ็นยึดข้อต่อมีขนาด ใหญ่แตกต่างกันไปตามจานวนเส้นใย เส้นใยดังกล่าวมีคุณสมบัติ คือ สามารถยืดหดได้เล็กน้อย และมีความเหนียวทนต่อแรงดึงและแรงบิดที่จากัด ถ้าแรงดึงหรือแรงบิดมากจนเกินไป ใยเส้น เอ็นนั้นจะยืดขาดออกจากันในที่สุด การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain) ปรับปรุงภาพจาก http://physioworks.com.au/injuries-conditions-1/sprained-ankle สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
  • 25. 22.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain) ความรุนแรงของข้อเคล็ด ข้อแพลงแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 อาการ มีการฉีกขาดของเอ็นเล็กน้อย หรือมีการยืดของเอ็นที่บริเวณข้อต่อนั้น บริเวณที่มีการฉีกขาดจะไม่บวมหรือมีการบวมเล็กน้อย อยู่เฉยๆ จะไม่ เจ็บ มีการเสียวหรือปวดที่ข้อต่อนั้นน้อยมาก และเดินไม่กะเผลก แนวการรักษา ให้พักข้อต่อนั้นโดยยกให้สูงและประคบเย็นทันที ประมาณ 5-10 นาทีโดย ใช้ผ้าชุบน้าเย็นหรือน้าแข็งทุบละเอียดที่บรรจุในกระเป๋ายาง ถุงพลาสติก หรือห่อผ้า และพันผ้ายืดไว้ประมาณไม่เกิน 3 วันจะหายเป็นปกติ ปรับปรุงภาพจาก http://www.iwalk-free.com/injury-resource-center/ankle-sprains/ สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559
  • 26. ระดับที่ 2 อาการ มีความรู้สึกเจ็บปวด มีการเสียวที่ข้อต่อนั้นเล็กน้อย เดินกระเผลก สาหรับข้อเท้านั้น จะทาให้ไม่สามารถเขย่งปลายเท้าหรือยืนบนปลาย นิ้วเท้าเวลาเดิน ถ้าทาให้มีการเคลื่อนไหวหรือหมุนบิดของข้อนั้น ก็จะ เจ็บปวดมากเช่นกัน อาการบวมจะเกิดขึ้นในทันทีเนื่องจากมีการฉีกขาด ของหลอดเลือดบริเวณนั้น ทาให้มีเลือดคั่งบริเวณใต้ผิวหนัง 23.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain) แนวการรักษา สิ่งที่ต้องทาทันทีคือ การพักและยกยกข้อต่อนั้นให้สูงไว้ จากนั้นประคบน้า เย็นทันทีควรประคบหลายๆ ครั้ง ติดต่อกันแต่ละครั้งนานประมาณ 5-10 นาที พัก 2-3 นาที ระหว่างพักควรเฝูาดูอาการบวมบริเวณนั้น ถ้ามีอาการ บวมคงที่ไม่เพิ่มขึ้นให้หยุดประคบเย็น จากนั้นพันข้อต่อนั้นด้วยพลาสเตอร์ หลายๆ ชั้น หรือเรียกว่าเฝือกอ่อนเพื่อยึดตรึงหรือล๊อกข้อต่อนั้นไว้ เพื่อลด หรือปูองกันการเคลื่อนไหวบริเวณนั้น และให้เอ็นประสานกันและติดกัน สนิท และควรพบแพทย์ ภาวะข้อเท้าแพลง และการดูแลรักษา ยูทูปคุณหมออธิบายภาวะข้อเท้าแพลง ตอนที่ 1,2 และ 3 https://www.youtube.com/watch?v =40lYIchN7Hs
  • 27. 24.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ: ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (Sprain) ความรุนแรงของข้อเคล็ด ข้อแพลงแบ่งเป็น 3 ระดับ (ต่อ) ระดับที่ 3 แนวการรักษา ควรพบแพทย์เพื่อทาการรักษา ซึ่งอาจต้องใส่เฝือกปูนพลาสเตอร์อย่างน้อย 4-6 สัปดาห์ การใส่เฝือกนี้สามารถเสริมส้นยางที่เฝือกเพื่อเดินลงน้าหนักได้ในกรณีที่ บาดเจ็บที่ข้อเท้า เมื่อครบ 4-6 สัปดาห์ ถอดเฝือกออกแล้ว จะต้องพันผ้าหรือสวมสนับ ข้อเท้าหรือข้อเข่า เพื่อช่วยพยุงต่อไปอีกระยะหนึ่งจะกว่าจะใช้ข้อต่อนั้นได้ตามปกติ จากนั้นเคลื่อนไหวและบริหารต่อเพื่อให้ข้อแข็งแรงแล้วจึงกลับไปเล่นกีฬาได้ตามปกติ อาการ ระดับที่ 3 มักจะมีการฉีกขาดของเยื่อบุข้อร่วมด้วยเสมอ ทาให้เลือดคั่งในข้อหรือซึมอยู่ ใต้ผิวหนัง จะเห็นข้อเท้าหรือข้อเข่านั้นบวมทั้งข้อ มักจะเกิดจากการพลิกอย่างรุนแรง หรือในรายที่ได้รับบาดเจ็บเติมหรือภายหลังที่ข้อแพลงระดับที่ 2 ไม่ได้รับการรักษา อย่างถูกต้องเพียงพอหรือรีบใช้งานเร็วเกินไป ภาวะข้อเท้าแพลง และการดูแลรักษา ยูทูปคุณหมออธิบายภาวะข้อเท้าแพลง ตอนที่ 4 และ 5 https://www.youtube.com/watch?v =40lYIchN7Hs
  • 28. 25.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน กระดูกพรุน (Osteoporosis) โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) หมายถึง โรคที่เกิดจากภาวะการ สูญเสียมวลกระดูกทาให้มวลกระดูกมี ความหนาแน่นน้อยลง เสี่ยงต่อ กระดูกหัก กระดูกยุบหรือการคดงอ ของกระดูก และเกิดอาการปวด กระดูกเรื้อรัง โดยเฉพาะบริเวณ กระดูกสันหลัง แขน ขา สะโพก เป็น ต้น พบมากในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะสตรี หลังหมดประจาเดือน ภาวะที่เนื้อเยื่อกระดูกผุกร่อนไปจากเดิม เนื้อกระดูกที่ลดลงอาจถึงขั้นอันตราย เพราะไม่ สามารถรับน้าหนัก และเป็นโครงสร้างของร่างกายได้อย่างสมบูรณ์ โดยโครงร่างกระดูกซึ่งเคย แข็งแรงจะเปลี่ยนเป็นโครงร่างที่ผุกร่อนสามารถแตก หักได้ตลอดเวลาที่มีสิ่งของหนักมา กระทบเพียงเล็กน้อย สาเหตุหลักเกิดจากการขาดแคลเซียมของร่างกาย ซึ่งปกติคนเราสามารถดูดซึมแคลเซียมใน อาหารได้เพียงร้อยละ 30–40 เท่านั้น โดยอาศัยกลไกลจากวิตามินดี น้าย่อยจากกระเพาะ อาหาร และน้าแล็กโทส เข้าช่วยในการดูดซึม ซึ่งแคลเซียมบางส่วนที่ถูกดูดซึมจะถูกขับออก ทางปัสสาวะ และเหงื่อ มีผลต่อการขาดแคลเซียมมากขึ้นทั้งในเด็ก และผู้ใหญ่ ภาพชนิดของเซลล์กระดูก https://www.boundless.com ปกติ กระดูก พรุน กระดูกมีการสร้างและสลายตลอดเวลา ในรูปแคลเซียมออกมาสู่เลือด ขณะเดียวกันก็มีการ สร้างกระดูกใหม่โดยใช้แคลเซียมจากอาหารที่กินเข้าไป ทาให้ได้เนื้อกระดูกใหม่เกิดขึ้น โดย ปกติเนื้อกระดูกเก่าในรูปของแคลเซียมจะถูกขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะและทางอุจจาระวัน ละประมาณ ๖๐๐-๗๐๐ มิลลิกรัม เพื่อให้เกิดความสมดุล เราจะต้องกินแคลเซียมให้เพียงพอ กับที่สูญเสียไป มิฉะนั้นร่างกายจะดึงแคลเซียมจากกระดูกมาตลอดเวลา มีผลทาให้กระดูกถูก ทาลายมากกว่าการสร้างเนื้อกระดูกก็จะบางลงในที่สุด
  • 29. 26.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน รู้จักเซลล์กระดูกประกอบด้วย ออสตีโคลาสท์ (Osteoclast) เป็นเซลล์ที่ทาหน้าในการสลาย เซลล์กระดูก จากการปล่อยสาร คาร์บอนิคแอนไฮเดรสและ แอซิดไฮโดรเลสจากเซลล์ ออสตีโอบาสท์ ออสตีโอบาสท์ (Osteoblast) เป็นเซลล์กระดูกที่อยู่บริเวณไข กระดูกมีหน้าที่สร้างสารพื้นฐาน ของกระดูก เช่น แคลเซียม และทาหน้าที่ในการควบคุม การทางานของการสร้างและ สลายเซลล์กระดูก ออสตีโอชัยท์ (Ostecyte) เป็นเซลล์ออสตีโอบาสท์ที่ ล้อมรอบด้วยสารพื้นฐานของ กระดูกมีหน้าที่รักษา และคง สภาพสารพื้นฐาน พร้อมทา หน้าที่ควบคุมระดับของ แคลเซียมและฟอสฟอรัส เซลล์กระดูก กระดูกจัดเนื้อเยื่อพิเศษชนิดหนึ่ง มีหน้าที่ คือ 1. เป็นโครงสร้างของร่างกายสาหรับยึดเกาะของ กล้ามเนื้อ และเอ็นยึดต่างๆ 2. กระดูกบริเวณอวัยวะบางส่วนมีส่วนช่วยเป็น เกราะปูองกัน การกระทบกระแทกให้แก่ร่างกาย เพื่อปูองกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น 3. โครงร่างกระดูกเป็นแกนหลักสาหรับการ เคลื่อนไหวของอวัยวะ ไม่ว่าจะเป็นการดึง การหดตัวของกล้ามเนื้อ 4. เนื้อเยื่อกระดูกเป็นแหล่งสังเคราะห์เซลล์ เม็ดเลือดชนิดต่างๆ 5. กระดูกเป็นที่สะสมแคลเซียมให้แก่ร่างกาย ภาพชนิดของเซลล์กระดูก https://www.boundless.com/biology/t extbooks/boundless-biology- textbook/the-musculoskeletal-system- 38/bone-216/cell-types-in-bones-816- 12058/images/the-four-types-of-bone-
  • 30. 27.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน การป้องกันโรคกระดูกพรุน ปรับปรุงภาพจาก http://www.osteodigest.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 มีวิธีใดบ้างที่จะดูแล ให้ผมแข็งแรง วาดโดย กมลรัตน์ ฉิมพาลี 1. ระวังไม่กินอาหารเค็มจัดหรือมีโซเดียมมาก เพราะ เกลือโซเดียมที่มากเกินจะทาให้การดูดซึมของแคลเซียม จากลาไส้ลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถนาแคลเซียมมา ใช้ได้ และยังทาให้การสูญเสียแคลเซียมทางไตมากขึ้น ด้วย 3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มจาพวก เหล้า เบียร์ ชา กาแฟ ช็อกโกแลต แอลกอฮอล์หรือ กาเฟอีนในเครื่องดื่มเหล่านี้จะ ไปขัดขวางการดูดซึมของ แคลเซียม ทาให้ร่างกายขับ แคลเซียมออกมามากขึ้น เพราะฉะนั้นไม่ควรดื่มชา กาแฟ เกินวันละ ๓ ถ้วย 2. ไม่ควรดื่มน้าอัดลมในปริมาณ มาก เพราะในน้าอัดลมมี ส่วนผสมที่ชื่อ "กรดฟอสฟอริก" ที่ทาให้เกิดฟองฟูุ การดื่ม น้าอัดลมมากทาให้ความสมดุล ของแคลเซียมและฟอสฟอรัส เสียไป (มีฟอสฟอรัสมากขึ้น) ร่างกายจึงจาเป็นต้องสลาย แคลเซียมออกจากคลังกระดูก เพื่อปูองกันไม่ให้ฟอสฟอรัสใน เลือดสูงเกินไปจนส่งผลอันตราย ต่อชีวิต 4. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ แคลเซียมมีบทบาทสาคัญในการ รักษาความสมดุลระหว่างค่า ความเป็นกรด-ด่างของเลือด การสูบบุหรี่ทาให้ร่างกายมีภาวะ เป็นกรด ดังนั้น บุหรี่ทุกๆ มวน จึงเป็นตัวที่ทาให้แคลเซียม ละลายจากกระดูก นอกจากนี้ บุหรี่ยังทาให้ระดับฮอร์โมน เอสโตรเจนในผู้หญิงต่ากว่าปกติ ด้วย จึงยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อ การเกิดกระดูกพรุน
  • 31. 28.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน กระดูกเสื่อม โรคกระดูกเสื่อม เป็นการเสื่อมของ กระดูกอ่อนบริเวณข้อที่มีการ เคลื่อนไหวมาก เช่น ข้อเท้า ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือและ ข้อนิ้วมือ ข้อเท้า โดยส่วนประกอบ หลักของกระดูกอ่อนคือน้าและโปรตีน ซึ่งทาให้กระดูกมีความยืดหยุ่น ทนต่อ แรงกระแทกและแรงเสียดทานสี แต่ หากใช้นานๆก็จะเกิดการเสื่อมและ สึกหรอได้ สาหรับหนุ่มสาวออฟฟิศก็มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกเสื่อมจากอาการบาดเจ็บ ได้ เช่นกัน ซึ่งโรคที่พบได้บ่อยอย่างเช่น กระดูกก้านคอเสื่อม มักพบในอาชีพที่ต้องก้มหน้านานๆ อย่าง ทันตแพทย์จะมีโอกาสเป็นมากกว่าปกติ ส่วนพนักงานออฟฟิศจะเกิดโรคจากการนั่งผิดท่า อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอดทั้งวัน หรือการปรับเก้าอี้สูงหรือต่าไม่ตรงกับระดับหน้าจอ ทาให้ ต้องก้มหรือแหงนคอตลอดเวลา ก็จะทาให้กระดูกก้านคอเสื่อม หรือกระดูกสันหลังเสื่อมได้ ส่วนสัญญาณบอกเหตุคือ มีอาการเจ็บปวดตามแนวกระดูกหรือคอเมื่อขยับร่างกาย และขยับ ได้น้อยลง มีเสียงดังตามข้อต่างๆ เพื่อพลิกหรือขยับตัว ปรับปรุงภาพจาก http://www.homeorizon.com/homeopathy- articles/degenerative-spine-disease/part1 โรคกระดูกเสื่อมเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ กลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ส่วนใหญ่จะพบบ่อยคือ โรคกระดูกเสื่อมที่ข้อนิ้ว และข้อ ปลายนิ้ว เมื่ออายุมากขึ้นจะเป็นโรคกระดูกข้อเข่าเสื่อม กระดูกจะมีลักษณะเป็นปม ซึ่งพบมาก ในผู้หญิงเอเชีย ส่วนผู้หญิงฝั่งยุโรปจะปุวยเป็นโรคกระดูกข้อสะโพกเสื่อม ส่วนสาเหตุที่สองเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการบาดเจ็บเพราะอุบัติเหตุ อย่างเช่น โรคกระดูกข้อสันหลังเสื่อม การก้มเงยมาก ยกหรือถือของหนักต่อเนื่องและเป็นระยะเวลานาน
  • 32. การป้องกันโรคกระดูกเสื่อม ปรับปรุงภาพจาก https://www.cedars- sinai.edu/Patients/Health- Conditions/Degenerative-Disc-Disease.aspx สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 1. การออกกาลังกายก็เป็น แนวทางปูองกันให้เกิดโรค กระดูกพรุน กระดูกคด หรือผิดรูปได้น้อยลง แต่ สาหรับผู้ปุวยโรคกระดูก เสื่อมสามารถออกกาลัง กายได้ แต่ไม่ควรหักโหม มากเกินไป อาจวิ่งจ๊อกกิ้ง เบาๆ 4-5 วันต่อสัปดาห์ 3. หลีกเลี่ยงสะพายกระเป๋าหนัก หรือหิ้วของหนักข้างใดข้างหนึ่ง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อาจ ทาให้เกิดการกดทับเส้นประสาท บริเวณสะบัก ทาให้กล้ามเนื้อมี อาการอักเสบ หรืออาจมีการชา ของเส้นประสาท บริเวณแผ่น หลังได้ จึงไม่ควรสะพายกระเป๋า ข้างใดข้างหนึ่งเป็นเวลานาน หากมีอาการปวดต้นคอ หรือชา ปลายนิ้วมือ ควรพบแพทย์ 2. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแคลอรี สูง เพราะทาให้น้าหนักตัว เพิ่มขึ้น ร่างกายต้องแบกรับ น้าหนักเยอะ กระดูกสันหลังก็ รับน้าหนักเยอะตามไปด้วย ส่วน การดื่มนมก็เป็นเรื่องดี เพราะ สามารถเพิ่มแคลเซียมให้กับ กระดูกได้ แต่ต้องระมัดระวัง เรื่องคอเลสเตอรอลสูง โดยเฉพาะผู้ที่ประวัติครอบครัว มีไขมันในเลือดสูง สาหรับ ผู้สูงอายุควรตรวจระดับไขมันใน เลือดก่อนดื่มนมด้วย มีวิธีใดบ้างที่จะ ดูแลให้ผม แข็งแรง ภาพไขสันหลัง วาดโดยกมลรัตน์ ฉิมพาลี 29.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 33. คาชี้แจง : อ่านข้อมูลที่กาหนดให้แล้วตอบคาถาม โรคที่เกิดขึ้นบริเวณฝุามือคือโรค CTS ย่อมาจาก Carpal Tunnel Syndrome หรือชื่อในภาษาไทยเรียกว่า “โรคพังผืดกดทับเส้นประสาท” เกิดจากเส้นประสาทมีเดียน (Median Nerve) ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อบริเวณแขนและมือและรับความรู้สึก บริเวณฝุามือ นิ้วโปูง นิ้วชี้ นิ้วกลาง จนถึงครึ่งหนึ่งของนิ้วนาง เส้นประสาทนี้จะส่งกระแส ประสาทผ่านบริเวณต้นคอจนถึงปลายนิ้วมือ ซึ่งบริเวณข้อมือนั้นจะต้องลอดผ่านเอ็นที่คล้ายกับ ช่องอุโมงค์ จึงเรียกว่า Carpal Tunnel เมื่อช่องนี้แคบลงจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น เกิดจากการ หนาตัวขึ้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดเป็นเส้นใยเหนียว (Fibrous tissue) ที่มีหน้าที่ช่วยในการ ยึดเกาะระหว่างเนื้อเยื่อต่างๆ (กล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ, กล้ามเนื้อกับกระดูก) ทาให้กดทับ เส้นประสาทที่บริเวณอุโมงค์ เมื่อเส้นประสาทเกิดการติดขัดจะทาให้เกิดอาการชาหรือปวดร้าว (อ้างอิงจาก : http://www.ninds.nih.gov/disorders/carpal_tunnel/detail_carpal _tunnel.htm) เส้นประสาทมีเดียน กระดูกเรเดียส กระดูก อัลนา เส้นเอ็น ข้อมือ บริเวณที่เส้นประสาท ถูกกดทับเมื่อหนาตัวขึ้น เรื่อง การดูแลและรักษา ระบบการเคลื่อนที่ของคนบัตรกิจกรรม 30. ปรับปรุงภาพจาก : http://theheartysoul.com/acupressure-for-carpal-tunnel/ สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 34. คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับโรคพังผืดกดทับเส้นประสาท 1. อาการเจ็บหรือชาที่บริเวณฝุามือ 2. อาการชาเกิดจากเลือดไปเลี้ยงปลายนิ้วไม่เพียงพอ 3. การวางมือในท่าเดิมเป็นเวลานานจะทาให้เอ็นเพิ่มมากขึ้น 4. ระดับความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับการบาดเจ็บของข้อกระดูก คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” ที่เป็นสาเหตุของ โรคพังผืดกดทับเส้นประสาท การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ ไม่ถูกต้อง” 1. การพิมพ์คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางลง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 3. ความเสื่อมของเท็นดอน ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน 31.เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน
  • 35. คาถามข้อที่ 3 การพิมพ์ข้อความหรือนิ้วจิ้ม/สไลด์หน้าจอเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดแรงกดที่ พังผืด ทาให้พังผืดหนานมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ความดันภายในข้อมือเพิ่มมากขึ้น จากข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า “ช่องข้อมือที่แคบลง ทาให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณเส้นประสาท ไม่ดี จึงทาให้เกิดการชา” ถูกต้องหรือไม่ เพราเหตุใด 1. ถูกต้อง 2. ไม่ถูกต้อง 3. ไม่แน่ใจ เหตุผล 1. เพราะเมื่อหลอดเลือดแคบลง ความดันในการส่งเลือดจะเพิ่มขึ้น 2. เพราะความดันมากขึ้น ส่งผลให้กระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้น 3. เพราะอาการชาเกี่ยวข้องกับกระแสประสาทเท่านั้นไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเลือด 4. เพราะแรงกดช่วยเพิ่มการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท 5. เพราะช่องข้อมือไม่สามารถที่จะลดลงหรือเพิ่มขึ้นได้ 6. เพราะกระแสประสาทเคลื่อนที่ไปกับกระดูก แม้ช่องข้อมือจะลดลงแต่มวลของกระดูก จะส่งกระแสประสาทได้เป็นปกติ คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการปูองกันโรคพังผืดกดทับเส้นประสาทอย่างไร เขียนคาตอบ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน เล่มที่ 6 เรื่อง การดูแลและรักษาระบบการเคลื่อนที่ของคน 32.