SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เล่มที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ภาพหน้าปกปรับปรุงจาก
พารามีเซียม http://study.com/academy/lesson/3-methods-of-protist-locomotion.html
ยูกลีนา http://www.buzzle.com/articles/euglena-movement.html
อะมีบา https:davidwangblog.wordpress.com/structure-and-functions/
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่
ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ผู้สอนได้ดาเนินการจัดทาขึ้นเพื่อ
ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา
รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ
ปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับขั้น ศักยภาพและความสามารถ
ของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะความคิด สามารถดารงชีวิต
ในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน
เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้
ที่ถูกจัดวางอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังมีการเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยาย
ขอบเขตของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย
ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน
และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุขในการ
ดารงชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
คานา
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ก.
เรื่อง หน้า
คานา ................................................................................................................................
สารบัญ .............................................................................................................................
คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต.........................................
คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................
คาแนะนาสาหรับนักเรียน....................................................................................................
ขั้นตอนการใช้......................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................
ผลการเรียนรู้.......................................................................................................................
แบบทดสอบก่อนเรียน ......................................................................................................
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้...................................................................................
ชุดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว...........................................
บัตรเนื้อหา ................................................................................................................
บัตรกิจกรรม .............................................................................................................
บัตรเฉลย ...................................................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน .......................................................................................................
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน .......................................................................
บรรณานุกรม ....................................................................................................................
ภาคผนวก .........................................................................................................................
ก
ข
1
2
3
4
5
6
7
9
11
12
26
34
35
37
38
39
สารบัญ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ข.
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้
1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน
5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับการเคลื่อนที่ของข้อต่อและกล้ามเนื้อมือ
6. เล่มที่ 6 เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬากับการเคลื่อนที่
7. เล่มที่ 7 เรื่อง กิจกรรมการสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการ
เคลื่อนที่
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่
ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม
4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย
5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
คาชี้แจง
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 1.
1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน
1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล
ให้พร้อมใช้
ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น
และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
คาแนะนา
สาหรับครู
1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้
2. ขั้นการสอน
3. ขั้นสรุป
หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ
กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ
“BioWow เทคนิคการเรียนการสอน
ชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ
ตั้งใจ ดังนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242
หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการ
เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งสื่อ
วิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น
4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้
7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80 หาก
นักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทาการ
ประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตาม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
คาแนะนา
สาหรับ
นักเรียน
หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด
ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน
จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน
การสอนชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3.
ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ :
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว นักเรียนควรปฏิบัติ
ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ขั้นตอน
การใช้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ
3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน
4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้
4.
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี
รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ
เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
มาตรฐาน
การเรียนรู้
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 5.
1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา
2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย
3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง
4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสัหลัง
5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism)
6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มี
กระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบกรวมทั้งคน
7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
8.สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ
9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆและ
กลไกการทางานของกล้ามเนื้อ
ผลการ
เรียนรู้
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6.
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีข้อสอบ 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียน  ลงในกระดาษคาตอบ
1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับไมโครทิวบูล
1. มีทั้งหมด 20 หลอด
2. มีไขมัน ชื่อไดนีน ทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะ
3. ถ้าไดนีนอาร์มถูกตัดจะทาให้แฟลกเจลลัมเคลื่อนไหวไม่ได้
4. พบในการเคลื่อนที่แบบ Amoeboid movement
2. การเคลื่อนไหวแบบอมีบาเกิดขึ้นได้จากการทางานขององค์ประกอบใด
1. พลาสมาและเจล
2. แอกทินและไมอซิน
3. มีโซเกลียและเอนโดเกลีย
4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม
3. อะมีบา = เท้าเทียม , ยูกลีนา =____, พารามีเซียม = _____
1. แฟลเจลลัม, ซิเลีย
2. ซิเลีย, แฟลเจลลัม
3. ไมโครทิวบูล, ไดนีนอาร์ม
4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม
4. ไคนีโทโซม มีความสาคัญอย่างไร
1. ช่วยในการค้าจุนร่างกาย
2. ถ้าถูกทาลายไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
3. ถ้าถูกทาลายทาให้สิ่งมีชีวิตอาจตายได้
4. ช่วยในการจับยึดเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้รอบทิศทาง
5. การเคลื่อนที่แบบamoeboid movement นอกจากพบในอะมีบาแล้วยังพบได้ในเซลล์พวกใด
1. เซลล์เม็ดเลือดแดง 2. เซลล์เม็ดเลือดขาว 3. พารามีเซียม 4. ไวรัส
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 7.
6. flagella นอกจากจะพบในพวกยูกลีนาแล้วยังพบได้ในเซลล์ชนิดต่างๆ ยกเว้นข้อใด
1. เซลล์แบคทีเรีย 2. เซลล์สืบพันธุ์พืชชั้นต่า
3. เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์ 4. เซลล์เซนทริโอ
7. โครงสร้างใดมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ amoeboid movement และการทางานของเซลล์
กล้ามเนื้อ
1. myofibril 2. microtubule 3. microfilament 4. microfiber
8. การจัดเรียงตัวของmicrotubulesในciliaและflagellaเป็นแบบใด
1. 9+0 2. 9+1 3. 9+2 4. 9+3
9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ซิเลียมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน
2. ซิเลียมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน
3. แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม ซิเลียเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน
4. ซิเลียเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน
จงพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้
จากการสังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นักเรียนพบการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3
ชนิด ดังภาพ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3
10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าชนิดที่ 3 แต่ช้ากว่าชนิดที่ 1
2. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 จะเคลื่อนที่ตามทิศเหนือและใต้
3. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 2 ใช้กลไกการเปลี่ยนระหว่างของเหลวและเจลในการควบคุมทิศทาง
4. โครงสร้างการเคลื่อนที่ของชนิดที่ 1 เป็นไมโครฟิลาเมน ส่วนชนิดที่ 3 เป็นไมโครทิวบูล
“ไม่มีสิ่งใดยากเกินความตั้งใจและความพยายาม”
8.เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ
ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา
2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับ
ซิเลีย
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
1.การเคลื่อนที่
ของสิ่งมีชีวิต-
เซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวอาศัย การเคลื่อนที่โดย
การไหลของไซโตพลาสซึม
(cytoplasm) และการใช้
ออแกเนลล์ เช่น แฟลกเจลลัม
(flagellum) และ ซิเลีย (cilia)
ด้านความรู้ (K)
1. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้เท้าเทียม
ของอะมีบา
2. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลียของ
พารามีเซียม
3. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้
แฟลเจลลัมของยูกลีนา
4. เปรียบเทียบโครงสร้างและการ
ทางานของเท้าเทียม ซิเลียและ
แฟลเจลลัม
3
มาตรฐานการเรียนรู้
ตาราง
วิเคราะห์
9.เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. ออกแบบโมเดล/การทดลอง/
การวิเคราะห์หลักฐานเพื่อสร้าง
คาอธิบายทางวิทยาศาสตร์
2. อภิปรายการเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจากวิธีการ
สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
การใช้หลักฐานและตีความจาก
หลักฐาน
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
3.1 ความมีวินัย
3.2 ความสนใจใฝ่รู้
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 10.
อุปกรณ์ที่ต้องใข้
1.ถุงพลาสติก 2. เศษกระดาษ
3. ถาด
วิธีการทดลอง
1. นาเศษกระดาษมาวางในถาด
2. สวมถุงพลาสติกที่มือ
3. จับเศษกระดาษในถาด
4. สังเกตการเคลื่อนที่ของถุงพลาสติก
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ 1
อะมีบา...ท้าให้ลอง
บันทึกสิ่งที่สังเกต
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
กรณีที่นักเรียนไม่มีอุปกรณ์
สามารถไปดูคลิปเรื่อง A tour of Biology
classroom ได้ตั้งแต่นาทีที่ 0.32
(https://www.youtube.com/watch?v=
pAop1ytuGgI&index=4&list=PLTEmdJ
NFmjRxrEpnfcKfGYLZ-FSDW6SJd)
สร้างคลิปโดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 11.
บทนา
การเคลื่อนที่เป็นการย้ายจากบริเวณหนึ่งไปอีก
บริเวณหนึ่ง ซึ่งมักจะพบในอาณาจักรมอนเนอรา
บางชนิด อาณาจักรโปรติสตาและอาณาจักรสัตว์
การเคลื่อนที่จึงถือหนึ่งในคุณลักษะของสิ่งมีชีวิต
วิธีการเคลื่อนที่นั้นจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของร่างกาย
เช่น สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอาศัยโครงร่างค้าจุนของเซลล์
(Cytoskeleton) ช่วยในการเคลื่อนที่ ส่วนคนและสัตว์
มีกระดูกสันหลังเคลื่อนที่โดยอาศัยการทางานร่วมกัน
ของโครงกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อต่อ นอกจากนี้
การเคลื่อนที่ยังมีปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่
เข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วย
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
นักเรียนคงจาได้ว่าภายในไซโทพลาซึม มีไซโทสเกเลตอนทาหน้าที่เป็นโครงร่างค้าจุนให้เซลล์คงรูปร่าง
อยู่ได้ และทาให้เกิดการเคลื่อนไหวภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีไซโทสเกเลตอนเป็นโครงร่างค้าจุน
เช่นกันโครงสร้างค้าจุนนี้ช่วยในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ได้อย่างไร
(http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/art
icle-2011394/Amazing-photos-capture-split-
second-movements-animals-leaping-flying--
single-frame.html)
ภาพการเคลื่อนที่ของนก
คาถามนา : สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
มีการเคลื่อนที่เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 12.
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
โพรทิสต์ (protist) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista)
มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์ พวกโพรทิสต์หลายเซลล์ ไม่มีระบบเนื้อเยื่อและระบบ
โครงกระดูกจึงมีการเคลื่อนไหวแตกต่างกัน ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา เช่น ยูกลีนา
อะมีบา พารามีเซียม วอติเซลลา ทริปพาโนโซมา (สาเหตุโรคเหงาหลับ) ไตรโคโมแนส (สาเหตุที่
ทาให้ช่องคลอดอักเสบ) และพลาสโมเดียม (สาเหตุโรไข้มาลาเรีย)
ภาพตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา
ปรับปรุงภาพจากที่มา https://livingkrb.wikispaces.com/Kingdom+Protista
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
อาศัยโครงร่างค้าจุนภายในเซลล์เพื่อให้เซลล์
คงรูปร่าง เรียก โครงสร้างเหล่านี้ว่า ไซโทสเก
เลตอน (Cytoskeleton) เป็นโครงสร้าง
ภายในเซลล์ ประกอบด้วยเส้นใยที่ประสานกัน
เป็นร่างแห แทรกตัวอยู่ภายใน cytoplasm
ทาหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษารูปทรง
หรือเปลี่ยนรูปทรง และทาให้เกิดการ
เคลื่อนไหวภายใน cytoplasm และการ
เคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
ภาพไซโทสเกเลตอน
ที่มา http://www.daviddarling.info/
encyclopedia/C/cytoskeleton.html
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 13.
ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton) ประกอบด้วย
1. ไมโครทูบูล (Microtubule) เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย tubulin protein ชนิด
alpha-tubulin และ Bata-tubulin ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 นาโนเมตร
2. ไมโครฟิลาเมนท์ (Microfilament) เป็นเส้นใยทึบ 2 สายพันกันเป็นเกลียว ประกอบด้วย
Actin Protein
3. อินเตอร์มีเดทฟิลาเมนท์ ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อยโปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-12 นาโนเมตร ประกอบด้วยโปรตีนหลายชนิด แล้วแต่ชนิดของเซลล์ เช่น
keratin
ภาพเปรียบเทียบ ไซโทสเกเลตอนทั้ง 3 ชนิด
ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/movement/move.html
สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2559
ไมโครทิวบูล
ไมโครฟิลาเมนท์
อินเตอร์มีเดทฟิลาเมนท์
ยูกลีนา พานักเรียนคิด
นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างขนาดเล็กของไซโทสเกลเลตอนได้อย่างไร
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 14.
1. การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม
ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) หมายถึง ส่วนของโพรโทพลาซึมภายในเซลล์ทั้งหมด การ
เคลื่อนไหวโดยใช้ไซโทพลาซึมนี้จะเคลื่อนไหวโดยการยืดส่วนของไซโทพลาซึม ออกจากเซลล์ เช่น
การเคลื่อนไหวของราเมือก อะมีบา เป็นต้น การเคลื่อนไหวของอะมีบา ซึ่งเป็นโพรทิสต์ที่อาศัย
การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นไซโทพลาซึม
ชั้นนอก มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และ เอนโดพลาซึม (endoplasm)
เป็นไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล (sol) ภายในไซโทพลาซึมมีไมโคร
ฟิลาเมนต์ (microfilament) เป็นเส้นใยโปรตีน แอกทิน (actin) และไมโอซิน (Myosin) เป็น
โครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึมไหลไป- มาภายในเซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็น
ขาเทียม (pseudopodium) ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่าการเคลื่อนไหวแบบอะมีบา
(amoeboid movement) การเคลื่อนไหวแบบนี้พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย ดังภาพ
ภาพการเคลื่อนที่โดยใช้ไซโทพลาสซึม
ปรับปรุงภาพจาก https://global.britannica.com
/topic/pseudopodial-locomotion
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
ภาพการวิเคราะห์อนุภาคของภาพถ่าย
การเคลื่อนที่ของอะมีบา
ที่มา http://journals.plos.org/
plosone/article?id=10.1371/
journal.pone.0070317
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวแบ่งเป็นการเคลื่อนไหว
โดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม
ของไซโทพลาสซึมและการเคลื่อนไหวการเคลื่อนไหวโดยใช้ซีเลียและแฟลกเจลลัม
15.
ภาพการโอบล้อมอาหารโดยใช้เท้าเทียมของอะมีบา
ที่มา http://slideplayer.com/slide/770502/
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
นักเรียนสามารถศึกษาการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวจากคลิปได้
https://www.youtube.com/watch?v=4C9O8TkiyAA
ช่อง YouTube การเรียนรู้ชีววิทยา จัดทาโดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ยูกลีนา หาคาตอบ
นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาไซดทสเกเลตอน
เนื่องจากเป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 16.
พารามีเซียมชวนคิด
นักเรียนคิดว่านักวิทยาศาสตร์ใช้หลักฐานอะไรในการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ
อะมีบา
ครูปุ้มไบโออธิบายเพิ่มเติม
การสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐาน
แนวคิด ทฤษฎี กฎและองค์ความรู้ต่างๆ ในการวิเคราะห์การเคลื่อนที่
ของอะมีบา นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการศึกษาที่หลากหลาย เช่น การ
วิเคราะห์อนุภาคของภาพถ่าย (Particle Image Velocity : PIV)
การศึกษาโดยใช้ยาไซโตวาลาซินบี (Cytochalasin b) ซึ่งเป็นสารยับยั้ง
การทางานของไมโครฟิลาเมนทาให้อะมีบาไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
นอกจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์แล้ว นักเรียนต้องศึกษาวิธีการที่ได้มา
ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยนะคะ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 17.
2. การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลีย
การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลียซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกมาจาก
เซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไปได้
1) แฟลเจลลัม (flagellum) มีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายหนวดยาวกว่า ซีเลีย
แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด เช่น ยูกลีนา (euglena)
วอลวอกซ์ (volvox) เป็นต้น
ภาพแฟลเจลลัมและโครงสร้างภายในของยูกลีนา
ที่มา http://www.photomacrography.net
/forum/viewtopic.php?t=28044&sid=11395db89d7d9a50d8c3fd78098f43d7
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
นักเรียนสามารถดูการเคลื่อนที่ของยูกลีนาได้ที่
https://www.youtube.com/watch?v=fI7nEWUjk3A
ยูกลีนา พานักเรียนคิด
แฟลเจลลัมมีกลไกการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 18.
กลไกควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม
ภาพกลไกการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม
ที่มา http://www.tutorvista.com/content/biology/
biology-iii/cell-organization/nonmembranous-cell-organelles.php
สืบค้นวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
จากภาพแสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่แบบคลื่นจะทาให้ยูกลีนาเคลื่อนถอยหลัง
แต่การสะบัดแฟลเจลลัมจะช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
2) ซีเลีย (cilia) มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ ยื่นยาวออกจากเซลล์ของพืช หรือ สัตว์เซลล์
เดียว หรือเซลล์สืบพันธุ์ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ภายในน้าหรือของเหลว พบใน
พารามีเซียม (paramecium) พลานาเรีย (planaria)เป็นต้น
ภาพแสดงซีเลียและโครงสร้างภายในของพารามีเซียม
ที่มา http://www.mahkotasains.com/2016/07/
ciri-klasifikasi-dan-peranan-protista.html
สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559
นักเรียนสามารถดูการเคลื่อนที่ของ
พารามีเซียมได้ที่
https://www.youtube.com/
watch?v=fI7nEWUjk3A
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 19.
ภาพกลไกการเคลื่อนที่ของซิเลีย
ปรับปรุงจาก http://www.microbiologyinfo.com/differences-between-cilia-and-flagella/
และ http://www.tutorvista.com/content/biology/biology-iii/
cell-organization/nonmembranous-cell-organelles.php
สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559
พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซีเลียไปทางด้านหลัง ทาให้ตัวของพารามีเซียม
เคลื่อนที่ไปข้างหน้า จากการโบกพัดของซีเลีย ทาให้ตัวพารามีเซียมหมุนไปด้วยเนื่องจากไม่มี
อวัยวะคอยปรับสมดุล (หางเสือ) และอีกอย่างหนึ่งเนื่องจากซีเลียที่ร่องปาก ซึ่งมีจานวนมากกว่า
โบกพัดแรงกว่าบริเวณอื่น จึงทาให้หมุน
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม มีลักษณะหมุนไปหมุนมา และเคลื่อนหนีวัตถุ
ที่มา https://www2.estrellamountain.edu/faculty/farabee/
biobk/BioBookDiversity_3.html
วันที่ 9 กรกฎาคม 2559
ทิศทางการเคลื่อนที่
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 20.
จากการศึกษาโครงสร้างของแฟลเจลลัมและซีเลียตัดตามขวางพบว่ามีโครงสร้างเหมือนกัน
คือ ประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทูบูล (microtubules) เป็นหลอดแกนตรงกลาง 2
หลอด ล้อมรอบด้วยหลอดเล็ก ๆ อีก9 คู่ ทั้งหมดจะถูกหุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ ที่ติดต่อเป็นเนื้อเดียวกับ
เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 2 ที่โคนของซีเลียและแฟลเจลลัม มีเบซัลบอดี ( basal
body)หรือ ไคนีโตโซม (kinetosome) อยู่ด้วย เบซัลบอดี มีไมโครทิวบูล เช่นกันแต่การเรียงตัว
ต่างกัน โดยที่หลอดตรงกลาง 2 หลอดไม่มี มีแต่หลอดรอบนอก 9 ชุด เรียกการเรียงตัวแบบนี้ว่า 9
+ 0 ถ้าหากตัดเบซัลบอดีออก พบว่าแฟลเจลลัมและซีเลียเส้นนั้น จะหยุดลง จึงเชื่อกันว่าเบซัลบอ
ดี เป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลเจลลัม
ภาพโครงสร้างลักษณะภาคตัดขวางของไมโครทูบูล
ที่มา http://www.slideshare.net/ArielChristopher/04-lecture-ppt-cell-structure-and-function
สืบค้นวันที่ 8 กรกฎาคม 2559
พารามีเซียมและยูกลีนา พานักเรียนคิด
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบกลไกการเคลื่อนที่ของแฟลคเจลลัม
และซิเลียได้หรือไม่ อย่างไร
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 21.
ภาพแสดงการเคลื่อนไหวของซีเลียและการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม
ที่มา https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Flagellum-beating.svg
สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559
ลักษณะที่พิจารณา ซิเลีย แฟลคเจลลัม
1. รูปร่าง เป็นเส้นขนสั้นๆ ล้อมรอบเยื่อหุ้ม
เซลล์จานวนมาก แต่ละเส้นมี
ความยาวประมาณ 5-10 ไมครอน
เป็นเส้นยาว ยื่นออกจากเยื่อ
หุ้มเซลล์ ส่วนใหญ่มีเพียง 1-2
เส้นแต่ละเส้นมีความยาว
ประมาณ 150 ไมครอน
2. กลไกการเคลื่อนที่
(Beating)
ซิเลียเคลื่อนที่เชื่อมโยงกัน แฟลคเจลลัมเคลื่อนที่ไม่
เชื่อมโยงกัน
3. แรงในการเคลื่อนที่
(Motion)
หมุนรอบตัว เคลื่อนที่คล้าย
มอเตอร์ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
เคลื่อนที่ค้ลายคลื่น ช้ากว่า
ซิเลีย
4. ชนิดของเซลล์ เซลลฺยูคาริโอต เซลล์ยูคาริโอและโปรคาริโอต
ครูปุ้มไบโออธิบายเพิ่มเติม เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง
ระหว่างแฟลคเจลลัมและซิเลียดังตารางด้านล่างค่ะ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 22.
คาศัพท์-ความหมาย ตัวอย่าง
Ecto, Exo (Greek)
Out-side = ด้านนอก ข้างนอก
Ectoplasm หมายถึง ไซโทพลาสซึม
ชั้นนอก
En(Greek) - in = ใน
Endo(Latin)-within
(in or into the interior : inside)
= ข้างใน
เอนโดพลาสซึม (Endoplasm)
เป็นไซโทพลาสซึมชั้นใน
pseudopodium (Greek)
= a specified thing = สิ่งเฉพาะ
pseudopodium แยกศัพท์ pseudo
แปลว่า เทียม podium แปลว่า แท่นที่ยืน
บรรยาย รวมกันหมายถึง เท้าเทียม
Microtubule= minute tubules in
eukaryotic
Microtubule แยกศัพท์ Micro
เล็กมาก tubule= หลอด
หลอดเล็กๆลักษณะที่เป็นหลอดเรียงกันใน
โครงสร้างค้าจุน
รากศัพท์
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
Tips
23.
สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่
อะมีบา การเคลื่อนที่ แบบอมีบา
(Amoeboid movement)
เอ็กโทพลาสซึม(Ectoplasm) เป็นไซโทพลาสซึมชั้นนอก
ที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวเรียกว่า เจล เอนโดพลาสซึม
(Endoplasm) เป็นไซโทพลาสซึมชั้นในที่มีลักษณะ
ค่อนข้างเหลว เหลวเรียกว่าโซล การรวมและแยกของ
โปรตีนแอกตินซึ่งเป็นส่วนประกอบของไมโครฟิลาเมน
(เป็นออร์แกเนลล์ที่ช่วยให้เซลล์กล้ามเนื้อมีการเคลื่อนที่ได้)
ให้เปลี่ยนกลับไปมาระหว่าง เจลและโชลโปรติน
ทาให้เกิด ซูโดโปเดียม เรียกว่า
คาสาคัญ คือ “เอ็กใช้เจล เหลวคือโซล ซูโดเดิน”
ไมโครฟิลาเมน
พารามีเซียม
พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยอาศัยซิเลีย
คาสาคัญ คือ พารามีเซียม เซียม ใช้ ชิเลีย
ซิเลีย
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
กระตุ้นความจาTips
24.
สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่
ยูกลีนา
ยูกลีนาเคลื่อนที่โดยการโบกพัดแฟลกเจลลัม
คาสาคัญ คือ ยูกลีนาใช้แฟลกเจลลา (แฟลกเจลลัม)
โครงสร้างไมโครทิบูล โครงสร้างไมโครทิบูล เป็นโครงสร้างค้าจุนในซิเลียและ
แฟลกเจลลัม ประกอบด้วยโปรตีนไดนีน และไดนีนอาร์ม
ทาหน้าที่เป็นแขนเกาะไมโครทูบูลเรียงตัวกันเป็นวง 9 คู่
ล้อมรอบไมโครทูบูลที่ไม่มีคู่สองหลอดอยู่ตรงกลาง
โครงสร้าง 9+2 บริเวณที่ยึดซิเลียและแฟลกเจลลัมติดกับ
โครงสร้างภายในเรียกว่า เบซัลบอดี(basal body) หรือ
ไคนีโทโซม ถ้าบริเวณนี้ถูกตัดออกจะทาให้ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวได้
คาสาคัญ คือ 9+2 ไดนีน พัดโบกโค้งงอ
เบซัลบอดี(ไคนีโทโซม) บ่มี
ก็บ่เดิน(ไม่เคลื่อนไหว)
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 25.
ตอนที่ 1 : ตอบคาถามและเขียนบรรยายภาพว่าสิ่งมีชีวิตในภาพใช้ออร์แกเนลล์ใด
ในการเคลื่อนที่ พร้อมวาดภาพประกอบคาอธิบายการเคลื่อนที่
ตัวอย่าง
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
โครงสร้างของแฟลเจลลัมค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด
ตรงแกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่าไดนีนอาร์มทา
หน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้แฟลเจลลัมโค้งงอและสามารถโบกพัดได้
ยูกลีนา
แฟลเจลลัม
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เสริมความรู้เรื่องการเคลื่อนที่
ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
แบบฝึกหัด
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ยูกลีนา
ใช้แฟลเจลลัมในการเคลื่อนที่
A. slime mold
B. an amoeba
C. a euglena
D. a diatom
E. a paramecium
26.
1. พิจาณาภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ..........................................................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ...........................................................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
A. slime mold
B. an amoeba
C. a euglena
D. a diatom
E. a paramecium
26.เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 27.
2. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ..........................................................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ...........................................................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 28.
3. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ..........................................................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ...........................................................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 29.
ตอนที่ 2 : จงจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันโดยนาอักษรย่อหน้าข้อความด้านหลังมาเติมลงใน
ช่องว่างความด้านหน้าให้ถูกต้อง
1. A. สารมีลักษณะเป็นเจล …………. โครงสร้างพื้นฐานของซิเลียและแฟคเจลลัม
2. B. ไดนีนอาร์ม …………. โครงสร้างไมโครทิวบูล
3. C. เบซัลบอดีถูกทาลาย …………. การเคลื่อนที๋โดยการไหลของไซโตพลาซึม
4. D. 9+2 …………. เอกโทพลาสซึม
5. E. ของเหลว …………. เอนโพลาสซึม
6. F. ไดนีน …………. การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว
7. G. ซิเลียและแฟลคเจลลัม …………. ออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว
8. H. Amoeboid
movement
…………. แฟลคเจลัมและซิเลียไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
9. I. ไซโทสเกเลตอน …………. โครงสร้างที่ทาให้แฟลคเจลลัมและซิเลียโบกพัด
และโค้งงอ
10. J. ซูโดโพเดียม …………. โครงสร้างค้าจุนร่าง
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 30.
ภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ...................ยูกลีนา..........................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ..........แฟลคเจลลัม...........................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
โครงสร้างของแฟลเจลลัมค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด
ตรงแกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่า
ไดนีนอาร์มทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้แฟลเจลลัมโค้งงอและสามารถ
โบกพัดได้
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
A. slime mold
B. an amoeba
C. a euglena
D. a diatom
E. a paramecium
แนว
คาตอบ
31.
2. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ .............พารามีเซียม........................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ..........ซิเลีย.................................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
โครงสร้างของซิเลียค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด ตรง
แกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่าไดนีน
อาร์มทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้ซิเลียโค้งงอและสามารถโบกพัดได้
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 32.
3. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ................อะมีบา............................................................................
ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ................เท้าเทียม...........................................................
คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม
การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm)
เป็นไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และ เอน
โดพลาซึม (endoplasm) เป็นไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล
(sol) ภายในไซโทพลาซึมมีไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament) เป็นเส้นใยโปรตีน แอกทิน
(actin) และไมโอซิน (Myosin) เป็นโครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึมไหลไป- มาภายใน
เซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็น ขาเทียม (pseudopodium)
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 33.
1. สารมีลักษณะเป็นเจล ……F……. โครงสร้างพื้นฐานของซิเลียและแฟคเจลลัม
2. ซิเลียและแฟลคเจลลัม ……D……. โครงสร้างไมโครทิวบูล
3. เบซัลบอดีถูกทาลาย ……J……. การเคลื่อนที๋โดยการไหลของไซโตพลาซึม
4. 9+2 ……D……. เอกโทพลาสซึม
5. ของเหลว ……E….…. เอนโพลาสซึม
6. ไดนีน ……H….…. การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว
7. ไดนีนอาร์ม ……B….…. ออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
8. Amoeboid movement ……C….…. แฟลคเจลัมและซิเลียไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
9. ไซโทสเกเลตอน ……G……. โครงสร้างที่ทาให้แฟลคเจลลัมและซิเลียโบกพัด
และโค้งงอ
10. ซูโดโพเดียม ……I……. โครงสร้างค้าจุนร่าง
เฉลย
แบบฝึกหัด
ตอนที่ 2
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 34.
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีข้อสอบ 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียน  ลงในกระดาษคาตอบ
1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับไมโครทิวบูล
1. มีทั้งหมด 20 หลอด
2. มีไขมัน ชื่อไดนีน ทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะ
3. ถ้าไดนีนอาร์มถูกตัดจะทาให้แฟลกเจลลัมเคลื่อนไหวไม่ได้
4. พบในการเคลื่อนที่แบบ Amoeboid movement
2. การเคลื่อนไหวแบบอมีบาเกิดขึ้นได้จากการทางานขององค์ประกอบใด
1. พลาสมาและเจล
2. แอกทินและไมอซิน
3. มีโซเกลียและเอนโดเกลีย
4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม
3. อะมีบา = เท้าเทียม , ยูกลีนา =____, พารามีเซียม = _____
1. แฟลเจลลัม, ซิเลีย
2. ซิเลีย, แฟลเจลลัม
3. ไมโครทิวบูล, ไดนีนอาร์ม
4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม
4. ไคนีโทโซม มีความสาคัญอย่างไร
1. ช่วยในการค้าจุนร่างกาย
2. ถ้าถูกทาลายไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
3. ถ้าถูกทาลายทาให้สิ่งมีชีวิตอาจตายได้
4. ช่วยในการจับยึดเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้รอบทิศทาง
5. การเคลื่อนที่แบบ amoeboid movement นอกจากพบในอะมีบาแล้วยังพบได้ในเซลล์พวกใด
1. เซลล์เม็ดเลือดแดง
2. เซลล์เม็ดเลือดขาว
3. พารามีเซียม
4. ไวรัส
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
แบบทดสอบ
หลังเรียน
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 35.
6. flagella นอกจากจะพบในพวกยูกลีนาแล้วยังพบได้ในเซลล์ชนิดต่างๆ ยกเว้นข้อใด
1. เซลล์แบคทีเรีย
2. เซลล์สืบพันธุ์พืชชั้นต่า
3. เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์
4. เซลล์เซนทริโอ
7. โครงสร้างใดมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ amoeboid movement และการทางานของเซลล์
กล้ามเนื้อ
1. myofibril 2. microtubule 3. microfilament 4. microfiber
8. การจัดเรียงตัวของmicrotubulesในciliaและflagellaเป็นแบบใด
1. 9+0 2. 9+1 3. 9+2 4. 9+3
9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ส่วนซิเลียมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1
อัน
2. ซิเลียมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ส่วน แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1
อัน
3. แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม ซิเลียเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน
4. ซิเลียเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน
จงพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้
จากการสังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นักเรียนพบการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3
ชนิด ดังภาพ
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3
10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าชนิดที่ 3 แต่ช้ากว่าชนิดที่ 1
2. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 จะเคลื่อนที่ตามทิศเหนือและใต้
3. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 2 ใช้กลไกการเปลี่ยนระหว่างของเหลวและเจลในการควบคุมทิศทาง
4. โครงสร้างการเคลื่อนที่ของชนิดที่ 1 เป็นไมโครฟิลาเมน ส่วนชนิดที่ 3 เป็นไมโครทิวบูล
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 36.
ก่อนเรียน หลังเรียน
1. 1 1. 1
2. 4 2. 4
3. 1 3. 1
4. 2 4. 2
5. 2 5. 2
6. 4 6. 4
7. 3 7. 3
8. 3 8. 3
9. 2 9. 2
10. 3 10. 3
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เฉลย
แบบทดสอบ
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 37.
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์,
2545.
กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด, 2558.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา
เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา
เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค, 2554.
Reece, J. B., & Campbell, N. A. Campbell biology. (11th ed.). Boston:
Benjamin Cummings Pearson, 2011.
บรรณานุกรม
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 38.
ออกแบบโมเดลการเคลื่อนที่ของยูกลีนาและโครงสร้างแฟลคเจลลัม
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียมและโครงสร้างซิเลีย
การเคลื่อนที่ของอะมีบาและโครงสร้างเท้าเทียม
ถ่ายภาพโดย นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
ภาคผนวก
เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 39.

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Viewers also liked

กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Viewers also liked (17)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีรายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
รายงานการนำเสนอผลงานทางวิชาการลอนดอน โดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารWilawon Jatinei
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (20)

6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
Sar 60 wichai li
Sar 60 wichai liSar 60 wichai li
Sar 60 wichai li
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

  • 1. เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เล่มที่ 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนถนนหักพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ผู้สอนได้ดาเนินการจัดทาขึ้นเพื่อ ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ ปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับขั้น ศักยภาพและความสามารถ ของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะความคิด สามารถดารงชีวิต ในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้ ที่ถูกจัดวางอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังมีการเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยาย ขอบเขตของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุขในการ ดารงชีวิต กมลรัตน์ ฉิมพาลี คานา เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ก.
  • 4. เรื่อง หน้า คานา ................................................................................................................................ สารบัญ ............................................................................................................................. คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต......................................... คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................ คาแนะนาสาหรับนักเรียน.................................................................................................... ขั้นตอนการใช้...................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................ ผลการเรียนรู้....................................................................................................................... แบบทดสอบก่อนเรียน ...................................................................................................... ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้................................................................................... ชุดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว........................................... บัตรเนื้อหา ................................................................................................................ บัตรกิจกรรม ............................................................................................................. บัตรเฉลย ................................................................................................................... แบบทดสอบหลังเรียน ....................................................................................................... เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ....................................................................... บรรณานุกรม .................................................................................................................... ภาคผนวก ......................................................................................................................... ก ข 1 2 3 4 5 6 7 9 11 12 26 34 35 37 38 39 สารบัญ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ข.
  • 5. 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้ 1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน 5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับการเคลื่อนที่ของข้อต่อและกล้ามเนื้อมือ 6. เล่มที่ 6 เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬากับการเคลื่อนที่ 7. เล่มที่ 7 เรื่อง กิจกรรมการสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการ เคลื่อนที่ 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่ ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม 4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย 5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว คาชี้แจง เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 1.
  • 6. 1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน 1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล ให้พร้อมใช้ ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่ เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว คาแนะนา สาหรับครู 1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้ 2. ขั้นการสอน 3. ขั้นสรุป หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียนการสอน ชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2.
  • 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ ตั้งใจ ดังนี้ 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการ เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งสื่อ วิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น 4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้ 7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80 หาก นักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทาการ ประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตาม วัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว คาแนะนา สาหรับ นักเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน การสอนชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3.
  • 8. ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว นักเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ขั้นตอน การใช้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ 3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน 4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 4.
  • 9. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มาตรฐาน การเรียนรู้ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 5.
  • 10. 1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา 2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย 3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง 4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสัหลัง 5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism) 6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มี กระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบกรวมทั้งคน 7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน 8.สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ 9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆและ กลไกการทางานของกล้ามเนื้อ ผลการ เรียนรู้ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6.
  • 11. คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีข้อสอบ 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียน  ลงในกระดาษคาตอบ 1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับไมโครทิวบูล 1. มีทั้งหมด 20 หลอด 2. มีไขมัน ชื่อไดนีน ทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะ 3. ถ้าไดนีนอาร์มถูกตัดจะทาให้แฟลกเจลลัมเคลื่อนไหวไม่ได้ 4. พบในการเคลื่อนที่แบบ Amoeboid movement 2. การเคลื่อนไหวแบบอมีบาเกิดขึ้นได้จากการทางานขององค์ประกอบใด 1. พลาสมาและเจล 2. แอกทินและไมอซิน 3. มีโซเกลียและเอนโดเกลีย 4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม 3. อะมีบา = เท้าเทียม , ยูกลีนา =____, พารามีเซียม = _____ 1. แฟลเจลลัม, ซิเลีย 2. ซิเลีย, แฟลเจลลัม 3. ไมโครทิวบูล, ไดนีนอาร์ม 4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม 4. ไคนีโทโซม มีความสาคัญอย่างไร 1. ช่วยในการค้าจุนร่างกาย 2. ถ้าถูกทาลายไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 3. ถ้าถูกทาลายทาให้สิ่งมีชีวิตอาจตายได้ 4. ช่วยในการจับยึดเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้รอบทิศทาง 5. การเคลื่อนที่แบบamoeboid movement นอกจากพบในอะมีบาแล้วยังพบได้ในเซลล์พวกใด 1. เซลล์เม็ดเลือดแดง 2. เซลล์เม็ดเลือดขาว 3. พารามีเซียม 4. ไวรัส ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบบทดสอบ ก่อนเรียน เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 7.
  • 12. 6. flagella นอกจากจะพบในพวกยูกลีนาแล้วยังพบได้ในเซลล์ชนิดต่างๆ ยกเว้นข้อใด 1. เซลล์แบคทีเรีย 2. เซลล์สืบพันธุ์พืชชั้นต่า 3. เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์ 4. เซลล์เซนทริโอ 7. โครงสร้างใดมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ amoeboid movement และการทางานของเซลล์ กล้ามเนื้อ 1. myofibril 2. microtubule 3. microfilament 4. microfiber 8. การจัดเรียงตัวของmicrotubulesในciliaและflagellaเป็นแบบใด 1. 9+0 2. 9+1 3. 9+2 4. 9+3 9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง 1. แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ซิเลียมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน 2. ซิเลียมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน 3. แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม ซิเลียเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน 4. ซิเลียเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน จงพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ จากการสังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นักเรียนพบการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3 ชนิด ดังภาพ ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าชนิดที่ 3 แต่ช้ากว่าชนิดที่ 1 2. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 จะเคลื่อนที่ตามทิศเหนือและใต้ 3. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 2 ใช้กลไกการเปลี่ยนระหว่างของเหลวและเจลในการควบคุมทิศทาง 4. โครงสร้างการเคลื่อนที่ของชนิดที่ 1 เป็นไมโครฟิลาเมน ส่วนชนิดที่ 3 เป็นไมโครทิวบูล “ไม่มีสิ่งใดยากเกินความตั้งใจและความพยายาม” 8.เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
  • 13. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา 2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับ ซิเลีย เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1.การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต- เซลล์เดียว การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวอาศัย การเคลื่อนที่โดย การไหลของไซโตพลาสซึม (cytoplasm) และการใช้ ออแกเนลล์ เช่น แฟลกเจลลัม (flagellum) และ ซิเลีย (cilia) ด้านความรู้ (K) 1. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้เท้าเทียม ของอะมีบา 2. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลียของ พารามีเซียม 3. อธิบายการเคลื่อนที่โดยใช้ แฟลเจลลัมของยูกลีนา 4. เปรียบเทียบโครงสร้างและการ ทางานของเท้าเทียม ซิเลียและ แฟลเจลลัม 3 มาตรฐานการเรียนรู้ ตาราง วิเคราะห์ 9.เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
  • 14. เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. ออกแบบโมเดล/การทดลอง/ การวิเคราะห์หลักฐานเพื่อสร้าง คาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ 2. อภิปรายการเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจากวิธีการ สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การใช้หลักฐานและตีความจาก หลักฐาน 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความสนใจใฝ่รู้ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 10.
  • 15. อุปกรณ์ที่ต้องใข้ 1.ถุงพลาสติก 2. เศษกระดาษ 3. ถาด วิธีการทดลอง 1. นาเศษกระดาษมาวางในถาด 2. สวมถุงพลาสติกที่มือ 3. จับเศษกระดาษในถาด 4. สังเกตการเคลื่อนที่ของถุงพลาสติก การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวชุดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ 1 อะมีบา...ท้าให้ลอง บันทึกสิ่งที่สังเกต .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. กรณีที่นักเรียนไม่มีอุปกรณ์ สามารถไปดูคลิปเรื่อง A tour of Biology classroom ได้ตั้งแต่นาทีที่ 0.32 (https://www.youtube.com/watch?v= pAop1ytuGgI&index=4&list=PLTEmdJ NFmjRxrEpnfcKfGYLZ-FSDW6SJd) สร้างคลิปโดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 11.
  • 16. บทนา การเคลื่อนที่เป็นการย้ายจากบริเวณหนึ่งไปอีก บริเวณหนึ่ง ซึ่งมักจะพบในอาณาจักรมอนเนอรา บางชนิด อาณาจักรโปรติสตาและอาณาจักรสัตว์ การเคลื่อนที่จึงถือหนึ่งในคุณลักษะของสิ่งมีชีวิต วิธีการเคลื่อนที่นั้นจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างของร่างกาย เช่น สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอาศัยโครงร่างค้าจุนของเซลล์ (Cytoskeleton) ช่วยในการเคลื่อนที่ ส่วนคนและสัตว์ มีกระดูกสันหลังเคลื่อนที่โดยอาศัยการทางานร่วมกัน ของโครงกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อต่อ นอกจากนี้ การเคลื่อนที่ยังมีปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ เข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วย การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว นักเรียนคงจาได้ว่าภายในไซโทพลาซึม มีไซโทสเกเลตอนทาหน้าที่เป็นโครงร่างค้าจุนให้เซลล์คงรูปร่าง อยู่ได้ และทาให้เกิดการเคลื่อนไหวภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีไซโทสเกเลตอนเป็นโครงร่างค้าจุน เช่นกันโครงสร้างค้าจุนนี้ช่วยในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ได้อย่างไร (http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/art icle-2011394/Amazing-photos-capture-split- second-movements-animals-leaping-flying-- single-frame.html) ภาพการเคลื่อนที่ของนก คาถามนา : สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีการเคลื่อนที่เหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 12.
  • 17. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว โพรทิสต์ (protist) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา (Kingdom Protista) มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์ พวกโพรทิสต์หลายเซลล์ ไม่มีระบบเนื้อเยื่อและระบบ โครงกระดูกจึงมีการเคลื่อนไหวแตกต่างกัน ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา เช่น ยูกลีนา อะมีบา พารามีเซียม วอติเซลลา ทริปพาโนโซมา (สาเหตุโรคเหงาหลับ) ไตรโคโมแนส (สาเหตุที่ ทาให้ช่องคลอดอักเสบ) และพลาสโมเดียม (สาเหตุโรไข้มาลาเรีย) ภาพตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา ปรับปรุงภาพจากที่มา https://livingkrb.wikispaces.com/Kingdom+Protista สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อาศัยโครงร่างค้าจุนภายในเซลล์เพื่อให้เซลล์ คงรูปร่าง เรียก โครงสร้างเหล่านี้ว่า ไซโทสเก เลตอน (Cytoskeleton) เป็นโครงสร้าง ภายในเซลล์ ประกอบด้วยเส้นใยที่ประสานกัน เป็นร่างแห แทรกตัวอยู่ภายใน cytoplasm ทาหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษารูปทรง หรือเปลี่ยนรูปทรง และทาให้เกิดการ เคลื่อนไหวภายใน cytoplasm และการ เคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด ภาพไซโทสเกเลตอน ที่มา http://www.daviddarling.info/ encyclopedia/C/cytoskeleton.html สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 13.
  • 18. ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton) ประกอบด้วย 1. ไมโครทูบูล (Microtubule) เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย tubulin protein ชนิด alpha-tubulin และ Bata-tubulin ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 นาโนเมตร 2. ไมโครฟิลาเมนท์ (Microfilament) เป็นเส้นใยทึบ 2 สายพันกันเป็นเกลียว ประกอบด้วย Actin Protein 3. อินเตอร์มีเดทฟิลาเมนท์ ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อยโปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-12 นาโนเมตร ประกอบด้วยโปรตีนหลายชนิด แล้วแต่ชนิดของเซลล์ เช่น keratin ภาพเปรียบเทียบ ไซโทสเกเลตอนทั้ง 3 ชนิด ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/movement/move.html สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2559 ไมโครทิวบูล ไมโครฟิลาเมนท์ อินเตอร์มีเดทฟิลาเมนท์ ยูกลีนา พานักเรียนคิด นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างขนาดเล็กของไซโทสเกลเลตอนได้อย่างไร เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 14.
  • 19. 1. การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) หมายถึง ส่วนของโพรโทพลาซึมภายในเซลล์ทั้งหมด การ เคลื่อนไหวโดยใช้ไซโทพลาซึมนี้จะเคลื่อนไหวโดยการยืดส่วนของไซโทพลาซึม ออกจากเซลล์ เช่น การเคลื่อนไหวของราเมือก อะมีบา เป็นต้น การเคลื่อนไหวของอะมีบา ซึ่งเป็นโพรทิสต์ที่อาศัย การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นไซโทพลาซึม ชั้นนอก มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และ เอนโดพลาซึม (endoplasm) เป็นไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล (sol) ภายในไซโทพลาซึมมีไมโคร ฟิลาเมนต์ (microfilament) เป็นเส้นใยโปรตีน แอกทิน (actin) และไมโอซิน (Myosin) เป็น โครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึมไหลไป- มาภายในเซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็น ขาเทียม (pseudopodium) ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่าการเคลื่อนไหวแบบอะมีบา (amoeboid movement) การเคลื่อนไหวแบบนี้พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย ดังภาพ ภาพการเคลื่อนที่โดยใช้ไซโทพลาสซึม ปรับปรุงภาพจาก https://global.britannica.com /topic/pseudopodial-locomotion สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ภาพการวิเคราะห์อนุภาคของภาพถ่าย การเคลื่อนที่ของอะมีบา ที่มา http://journals.plos.org/ plosone/article?id=10.1371/ journal.pone.0070317 สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวแบ่งเป็นการเคลื่อนไหว โดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม ของไซโทพลาสซึมและการเคลื่อนไหวการเคลื่อนไหวโดยใช้ซีเลียและแฟลกเจลลัม 15.
  • 20. ภาพการโอบล้อมอาหารโดยใช้เท้าเทียมของอะมีบา ที่มา http://slideplayer.com/slide/770502/ สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 นักเรียนสามารถศึกษาการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวจากคลิปได้ https://www.youtube.com/watch?v=4C9O8TkiyAA ช่อง YouTube การเรียนรู้ชีววิทยา จัดทาโดยนางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี ยูกลีนา หาคาตอบ นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาไซดทสเกเลตอน เนื่องจากเป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 16.
  • 21. พารามีเซียมชวนคิด นักเรียนคิดว่านักวิทยาศาสตร์ใช้หลักฐานอะไรในการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ อะมีบา ครูปุ้มไบโออธิบายเพิ่มเติม การสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐาน แนวคิด ทฤษฎี กฎและองค์ความรู้ต่างๆ ในการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ ของอะมีบา นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการศึกษาที่หลากหลาย เช่น การ วิเคราะห์อนุภาคของภาพถ่าย (Particle Image Velocity : PIV) การศึกษาโดยใช้ยาไซโตวาลาซินบี (Cytochalasin b) ซึ่งเป็นสารยับยั้ง การทางานของไมโครฟิลาเมนทาให้อะมีบาไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ นอกจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์แล้ว นักเรียนต้องศึกษาวิธีการที่ได้มา ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยนะคะ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 17.
  • 22. 2. การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลีย การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลียซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกมาจาก เซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไปได้ 1) แฟลเจลลัม (flagellum) มีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายหนวดยาวกว่า ซีเลีย แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด เช่น ยูกลีนา (euglena) วอลวอกซ์ (volvox) เป็นต้น ภาพแฟลเจลลัมและโครงสร้างภายในของยูกลีนา ที่มา http://www.photomacrography.net /forum/viewtopic.php?t=28044&sid=11395db89d7d9a50d8c3fd78098f43d7 สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 นักเรียนสามารถดูการเคลื่อนที่ของยูกลีนาได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=fI7nEWUjk3A ยูกลีนา พานักเรียนคิด แฟลเจลลัมมีกลไกการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 18.
  • 23. กลไกควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม ภาพกลไกการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม ที่มา http://www.tutorvista.com/content/biology/ biology-iii/cell-organization/nonmembranous-cell-organelles.php สืบค้นวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 จากภาพแสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่แบบคลื่นจะทาให้ยูกลีนาเคลื่อนถอยหลัง แต่การสะบัดแฟลเจลลัมจะช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2) ซีเลีย (cilia) มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ ยื่นยาวออกจากเซลล์ของพืช หรือ สัตว์เซลล์ เดียว หรือเซลล์สืบพันธุ์ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ภายในน้าหรือของเหลว พบใน พารามีเซียม (paramecium) พลานาเรีย (planaria)เป็นต้น ภาพแสดงซีเลียและโครงสร้างภายในของพารามีเซียม ที่มา http://www.mahkotasains.com/2016/07/ ciri-klasifikasi-dan-peranan-protista.html สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559 นักเรียนสามารถดูการเคลื่อนที่ของ พารามีเซียมได้ที่ https://www.youtube.com/ watch?v=fI7nEWUjk3A เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 19.
  • 24. ภาพกลไกการเคลื่อนที่ของซิเลีย ปรับปรุงจาก http://www.microbiologyinfo.com/differences-between-cilia-and-flagella/ และ http://www.tutorvista.com/content/biology/biology-iii/ cell-organization/nonmembranous-cell-organelles.php สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559 พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซีเลียไปทางด้านหลัง ทาให้ตัวของพารามีเซียม เคลื่อนที่ไปข้างหน้า จากการโบกพัดของซีเลีย ทาให้ตัวพารามีเซียมหมุนไปด้วยเนื่องจากไม่มี อวัยวะคอยปรับสมดุล (หางเสือ) และอีกอย่างหนึ่งเนื่องจากซีเลียที่ร่องปาก ซึ่งมีจานวนมากกว่า โบกพัดแรงกว่าบริเวณอื่น จึงทาให้หมุน การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม มีลักษณะหมุนไปหมุนมา และเคลื่อนหนีวัตถุ ที่มา https://www2.estrellamountain.edu/faculty/farabee/ biobk/BioBookDiversity_3.html วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 ทิศทางการเคลื่อนที่ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 20.
  • 25. จากการศึกษาโครงสร้างของแฟลเจลลัมและซีเลียตัดตามขวางพบว่ามีโครงสร้างเหมือนกัน คือ ประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทูบูล (microtubules) เป็นหลอดแกนตรงกลาง 2 หลอด ล้อมรอบด้วยหลอดเล็ก ๆ อีก9 คู่ ทั้งหมดจะถูกหุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ ที่ติดต่อเป็นเนื้อเดียวกับ เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 2 ที่โคนของซีเลียและแฟลเจลลัม มีเบซัลบอดี ( basal body)หรือ ไคนีโตโซม (kinetosome) อยู่ด้วย เบซัลบอดี มีไมโครทิวบูล เช่นกันแต่การเรียงตัว ต่างกัน โดยที่หลอดตรงกลาง 2 หลอดไม่มี มีแต่หลอดรอบนอก 9 ชุด เรียกการเรียงตัวแบบนี้ว่า 9 + 0 ถ้าหากตัดเบซัลบอดีออก พบว่าแฟลเจลลัมและซีเลียเส้นนั้น จะหยุดลง จึงเชื่อกันว่าเบซัลบอ ดี เป็นตัวควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลเจลลัม ภาพโครงสร้างลักษณะภาคตัดขวางของไมโครทูบูล ที่มา http://www.slideshare.net/ArielChristopher/04-lecture-ppt-cell-structure-and-function สืบค้นวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 พารามีเซียมและยูกลีนา พานักเรียนคิด นักเรียนสามารถเปรียบเทียบกลไกการเคลื่อนที่ของแฟลคเจลลัม และซิเลียได้หรือไม่ อย่างไร เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 21.
  • 26. ภาพแสดงการเคลื่อนไหวของซีเลียและการเคลื่อนที่ของแฟลเจลลัม ที่มา https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Flagellum-beating.svg สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2559 ลักษณะที่พิจารณา ซิเลีย แฟลคเจลลัม 1. รูปร่าง เป็นเส้นขนสั้นๆ ล้อมรอบเยื่อหุ้ม เซลล์จานวนมาก แต่ละเส้นมี ความยาวประมาณ 5-10 ไมครอน เป็นเส้นยาว ยื่นออกจากเยื่อ หุ้มเซลล์ ส่วนใหญ่มีเพียง 1-2 เส้นแต่ละเส้นมีความยาว ประมาณ 150 ไมครอน 2. กลไกการเคลื่อนที่ (Beating) ซิเลียเคลื่อนที่เชื่อมโยงกัน แฟลคเจลลัมเคลื่อนที่ไม่ เชื่อมโยงกัน 3. แรงในการเคลื่อนที่ (Motion) หมุนรอบตัว เคลื่อนที่คล้าย มอเตอร์ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว เคลื่อนที่ค้ลายคลื่น ช้ากว่า ซิเลีย 4. ชนิดของเซลล์ เซลลฺยูคาริโอต เซลล์ยูคาริโอและโปรคาริโอต ครูปุ้มไบโออธิบายเพิ่มเติม เราสามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างแฟลคเจลลัมและซิเลียดังตารางด้านล่างค่ะ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 22.
  • 27. คาศัพท์-ความหมาย ตัวอย่าง Ecto, Exo (Greek) Out-side = ด้านนอก ข้างนอก Ectoplasm หมายถึง ไซโทพลาสซึม ชั้นนอก En(Greek) - in = ใน Endo(Latin)-within (in or into the interior : inside) = ข้างใน เอนโดพลาสซึม (Endoplasm) เป็นไซโทพลาสซึมชั้นใน pseudopodium (Greek) = a specified thing = สิ่งเฉพาะ pseudopodium แยกศัพท์ pseudo แปลว่า เทียม podium แปลว่า แท่นที่ยืน บรรยาย รวมกันหมายถึง เท้าเทียม Microtubule= minute tubules in eukaryotic Microtubule แยกศัพท์ Micro เล็กมาก tubule= หลอด หลอดเล็กๆลักษณะที่เป็นหลอดเรียงกันใน โครงสร้างค้าจุน รากศัพท์ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว Tips 23.
  • 28. สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ อะมีบา การเคลื่อนที่ แบบอมีบา (Amoeboid movement) เอ็กโทพลาสซึม(Ectoplasm) เป็นไซโทพลาสซึมชั้นนอก ที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวเรียกว่า เจล เอนโดพลาสซึม (Endoplasm) เป็นไซโทพลาสซึมชั้นในที่มีลักษณะ ค่อนข้างเหลว เหลวเรียกว่าโซล การรวมและแยกของ โปรตีนแอกตินซึ่งเป็นส่วนประกอบของไมโครฟิลาเมน (เป็นออร์แกเนลล์ที่ช่วยให้เซลล์กล้ามเนื้อมีการเคลื่อนที่ได้) ให้เปลี่ยนกลับไปมาระหว่าง เจลและโชลโปรติน ทาให้เกิด ซูโดโปเดียม เรียกว่า คาสาคัญ คือ “เอ็กใช้เจล เหลวคือโซล ซูโดเดิน” ไมโครฟิลาเมน พารามีเซียม พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยอาศัยซิเลีย คาสาคัญ คือ พารามีเซียม เซียม ใช้ ชิเลีย ซิเลีย เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว กระตุ้นความจาTips 24.
  • 29. สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ ยูกลีนา ยูกลีนาเคลื่อนที่โดยการโบกพัดแฟลกเจลลัม คาสาคัญ คือ ยูกลีนาใช้แฟลกเจลลา (แฟลกเจลลัม) โครงสร้างไมโครทิบูล โครงสร้างไมโครทิบูล เป็นโครงสร้างค้าจุนในซิเลียและ แฟลกเจลลัม ประกอบด้วยโปรตีนไดนีน และไดนีนอาร์ม ทาหน้าที่เป็นแขนเกาะไมโครทูบูลเรียงตัวกันเป็นวง 9 คู่ ล้อมรอบไมโครทูบูลที่ไม่มีคู่สองหลอดอยู่ตรงกลาง โครงสร้าง 9+2 บริเวณที่ยึดซิเลียและแฟลกเจลลัมติดกับ โครงสร้างภายในเรียกว่า เบซัลบอดี(basal body) หรือ ไคนีโทโซม ถ้าบริเวณนี้ถูกตัดออกจะทาให้ไม่สามารถ เคลื่อนไหวได้ คาสาคัญ คือ 9+2 ไดนีน พัดโบกโค้งงอ เบซัลบอดี(ไคนีโทโซม) บ่มี ก็บ่เดิน(ไม่เคลื่อนไหว) เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 25.
  • 30. ตอนที่ 1 : ตอบคาถามและเขียนบรรยายภาพว่าสิ่งมีชีวิตในภาพใช้ออร์แกเนลล์ใด ในการเคลื่อนที่ พร้อมวาดภาพประกอบคาอธิบายการเคลื่อนที่ ตัวอย่าง คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม โครงสร้างของแฟลเจลลัมค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด ตรงแกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่าไดนีนอาร์มทา หน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้แฟลเจลลัมโค้งงอและสามารถโบกพัดได้ ยูกลีนา แฟลเจลลัม เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เสริมความรู้เรื่องการเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบบฝึกหัด สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ยูกลีนา ใช้แฟลเจลลัมในการเคลื่อนที่ A. slime mold B. an amoeba C. a euglena D. a diatom E. a paramecium 26.
  • 34. ตอนที่ 2 : จงจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันโดยนาอักษรย่อหน้าข้อความด้านหลังมาเติมลงใน ช่องว่างความด้านหน้าให้ถูกต้อง 1. A. สารมีลักษณะเป็นเจล …………. โครงสร้างพื้นฐานของซิเลียและแฟคเจลลัม 2. B. ไดนีนอาร์ม …………. โครงสร้างไมโครทิวบูล 3. C. เบซัลบอดีถูกทาลาย …………. การเคลื่อนที๋โดยการไหลของไซโตพลาซึม 4. D. 9+2 …………. เอกโทพลาสซึม 5. E. ของเหลว …………. เอนโพลาสซึม 6. F. ไดนีน …………. การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว 7. G. ซิเลียและแฟลคเจลลัม …………. ออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว 8. H. Amoeboid movement …………. แฟลคเจลัมและซิเลียไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 9. I. ไซโทสเกเลตอน …………. โครงสร้างที่ทาให้แฟลคเจลลัมและซิเลียโบกพัด และโค้งงอ 10. J. ซูโดโพเดียม …………. โครงสร้างค้าจุนร่าง เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 30.
  • 35. ภาพแล้วตอบคาถาม สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ...................ยูกลีนา.......................................................................... ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ..........แฟลคเจลลัม........................................................... คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม โครงสร้างของแฟลเจลลัมค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด ตรงแกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่า ไดนีนอาร์มทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้แฟลเจลลัมโค้งงอและสามารถ โบกพัดได้ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว A. slime mold B. an amoeba C. a euglena D. a diatom E. a paramecium แนว คาตอบ 31.
  • 36. 2. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ .............พารามีเซียม........................................................................ ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ..........ซิเลีย................................................................. คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม โครงสร้างของซิเลียค้าจุนด้วยไมโครทูบูล เรียงตัวเป็นวง 9 กลุ่มๆละ 2 หลอด ตรง แกนกลางมี 2 หลอด ถูกล้อมรอบด้วยเยื่อหุ้ม จะมีโปรตีนที่เรียกว่า ไดนีน เรียกว่าไดนีน อาร์มทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะกับไมโครทูบูล เพื่อให้ซิเลียโค้งงอและสามารถโบกพัดได้ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 32.
  • 37. 3. พิจารณาภาพแล้วตอบคาถาม สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคือ ................อะมีบา............................................................................ ออร์แกเนลล์ที่ใช้การเคลื่อนที่คือ................เท้าเทียม........................................................... คาอธิบายวิธีการเคลื่อนที่เพิ่มเติม การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และ เอน โดพลาซึม (endoplasm) เป็นไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล (sol) ภายในไซโทพลาซึมมีไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament) เป็นเส้นใยโปรตีน แอกทิน (actin) และไมโอซิน (Myosin) เป็นโครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึมไหลไป- มาภายใน เซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็น ขาเทียม (pseudopodium) เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 33.
  • 38. 1. สารมีลักษณะเป็นเจล ……F……. โครงสร้างพื้นฐานของซิเลียและแฟคเจลลัม 2. ซิเลียและแฟลคเจลลัม ……D……. โครงสร้างไมโครทิวบูล 3. เบซัลบอดีถูกทาลาย ……J……. การเคลื่อนที๋โดยการไหลของไซโตพลาซึม 4. 9+2 ……D……. เอกโทพลาสซึม 5. ของเหลว ……E….…. เอนโพลาสซึม 6. ไดนีน ……H….…. การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว 7. ไดนีนอาร์ม ……B….…. ออร์แกเนลที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 8. Amoeboid movement ……C….…. แฟลคเจลัมและซิเลียไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 9. ไซโทสเกเลตอน ……G……. โครงสร้างที่ทาให้แฟลคเจลลัมและซิเลียโบกพัด และโค้งงอ 10. ซูโดโพเดียม ……I……. โครงสร้างค้าจุนร่าง เฉลย แบบฝึกหัด ตอนที่ 2 เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 34.
  • 39. คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีข้อสอบ 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียน  ลงในกระดาษคาตอบ 1.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับไมโครทิวบูล 1. มีทั้งหมด 20 หลอด 2. มีไขมัน ชื่อไดนีน ทาหน้าที่เสมือนแขนเกาะ 3. ถ้าไดนีนอาร์มถูกตัดจะทาให้แฟลกเจลลัมเคลื่อนไหวไม่ได้ 4. พบในการเคลื่อนที่แบบ Amoeboid movement 2. การเคลื่อนไหวแบบอมีบาเกิดขึ้นได้จากการทางานขององค์ประกอบใด 1. พลาสมาและเจล 2. แอกทินและไมอซิน 3. มีโซเกลียและเอนโดเกลีย 4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม 3. อะมีบา = เท้าเทียม , ยูกลีนา =____, พารามีเซียม = _____ 1. แฟลเจลลัม, ซิเลีย 2. ซิเลีย, แฟลเจลลัม 3. ไมโครทิวบูล, ไดนีนอาร์ม 4. เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม 4. ไคนีโทโซม มีความสาคัญอย่างไร 1. ช่วยในการค้าจุนร่างกาย 2. ถ้าถูกทาลายไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 3. ถ้าถูกทาลายทาให้สิ่งมีชีวิตอาจตายได้ 4. ช่วยในการจับยึดเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้รอบทิศทาง 5. การเคลื่อนที่แบบ amoeboid movement นอกจากพบในอะมีบาแล้วยังพบได้ในเซลล์พวกใด 1. เซลล์เม็ดเลือดแดง 2. เซลล์เม็ดเลือดขาว 3. พารามีเซียม 4. ไวรัส ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบบทดสอบ หลังเรียน เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 35.
  • 40. 6. flagella นอกจากจะพบในพวกยูกลีนาแล้วยังพบได้ในเซลล์ชนิดต่างๆ ยกเว้นข้อใด 1. เซลล์แบคทีเรีย 2. เซลล์สืบพันธุ์พืชชั้นต่า 3. เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์ 4. เซลล์เซนทริโอ 7. โครงสร้างใดมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ amoeboid movement และการทางานของเซลล์ กล้ามเนื้อ 1. myofibril 2. microtubule 3. microfilament 4. microfiber 8. การจัดเรียงตัวของmicrotubulesในciliaและflagellaเป็นแบบใด 1. 9+0 2. 9+1 3. 9+2 4. 9+3 9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง 1. แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ส่วนซิเลียมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน 2. ซิเลียมีลักษณะคล้ายเส้นขนที่อยู่ล้อมรอบเซลล์ ส่วน แฟลคเจลลัมมีลักษณะคล้ายแส้มากกว่า 1 อัน 3. แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม ซิเลียเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน 4. ซิเลียเป็นโครงสร้างของเท้าเทียม แฟลคเจลลัมเป็นโครงสร้างของแส้ 1 อัน จงพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ จากการสังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นักเรียนพบการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3 ชนิด ดังภาพ ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 สามารถเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าชนิดที่ 3 แต่ช้ากว่าชนิดที่ 1 2. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 3 จะเคลื่อนที่ตามทิศเหนือและใต้ 3. การเคลื่อนที่ของชนิดที่ 2 ใช้กลไกการเปลี่ยนระหว่างของเหลวและเจลในการควบคุมทิศทาง 4. โครงสร้างการเคลื่อนที่ของชนิดที่ 1 เป็นไมโครฟิลาเมน ส่วนชนิดที่ 3 เป็นไมโครทิวบูล เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 36.
  • 41. ก่อนเรียน หลังเรียน 1. 1 1. 1 2. 4 2. 4 3. 1 3. 1 4. 2 4. 2 5. 2 5. 2 6. 4 6. 4 7. 3 7. 3 8. 3 8. 3 9. 2 9. 2 10. 3 10. 3 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เฉลย แบบทดสอบ เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 37.
  • 42. กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, 2545. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551. พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด, 2558. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค, 2554. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค, 2554. Reece, J. B., & Campbell, N. A. Campbell biology. (11th ed.). Boston: Benjamin Cummings Pearson, 2011. บรรณานุกรม เล่มที่ 1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 38.