SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ 
ครูผู้สอน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจัดการเรียนรู้ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
รหัสวิชา ว 33244 รายวิชา ชีววิทยา 4 
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน 
............................................................................................................................................................... 
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : 
แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 
2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
คำอธิบำยรำยวิชำ ชีววิทยำ 4 
รหัสวิชำ ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 
1.5 หน่วยกิต เวลำ 60 ชั่วโมง 
ศึกษำวิเครำะห์เกี่ยวกับกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม กฎของเมนเดล กำรผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะพันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม กำรถ่ำยทอดยีนและโครโมโซม กำรค้นพบ สำรพันธุกรรม โครงสร้ำงและองค์ประกอบทำงเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสำรพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศำสตร์ และเทคโนโลยีทำงดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม กำรโคลนยีน กำรวิเครำะห์ดีเอ็นเอและกำรศึกษำจีโนม กำร ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ควำมปลอดภัยของเทคโนโลยีทำงดีเอ็นเอ มุมมองทำงสังคมและจริยธรรม วิวัฒนำกำร หลักฐำนที่บ่งบอกถึงวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิต พันธุ ศำสตร์ประชำกร ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ของอัลลีล กำเนิดของสปีชีส์ กำรศึกษำควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ กำเนิดชีวิต อำณำจักรของสิ่งมีชีวิต ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในประเทศไทย กำร สูญเสียควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 
โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรสำรวจตรวจสอบ กำรสืบค้นข้อมูล และกำรอภิปรำยเพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ สำมำรถสื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้ มีควำมสำมำรถในกำร ตัดสินใจ เห็นคุณค่ำของกำรนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยำศำสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่ำนิยมที่เหมำะสม 
ตัวชี้วัด 
ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , 
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 
รวม 16 ตัวชี้วัด
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 4 ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 
มฐ. 
ตัวชี้วัด 
คาสาคัญ (Keyword) 
ความรู้ 
ทักษะ/กระบวนการ 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ว 1.2 
ม.4-6/1 อธิบำยกระบวนกำรถ่ำยทอดสำร พันธุกรรม กำรแปรผันทำงพันธุกรรม มิว เทชัน และกำรเกิดควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ 
- กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม 
- ยีนและโครโมโซม 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของ เทคโนโลยีชีวภำพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมและนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ 
- พันธุศำสตร์และ เทคโนโลยีทำง DNA 
- กำรนำควำมรู้ไปใช้ 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มีวินัย 
ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม 
- ควำมหลำกหลำย ทำงชีววิทยำ 
- กำรสืบค้นข้อมูล 
- มีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
ม.4-6/4 อธิบำยกระบวนกำรคัดเลือกตำม ธรรมชำติและผลกำรคัดเลือกตำม ธรรมชำติต่อควำมลำกหลำยของสิ่งมีชีวิต 
- วิวัฒนำกำร 
- กำรคิดวิเครำะห์ 
- มีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ว 8.1 
ม.4-6/1 ตั้งคำถำมที่อยู่บนพื้นฐำนของ ควำมรู้และควำมเข้ำใจทำงวิทยำศำสตร์ หรือควำมสนใจหรือจำกประเด็นที่เกิดขึ้น ในขณะนั้นที่สำมำรถทำกำรสำรวจ ตรวจสอบหรือศึกษำค้นคว้ำได้อย่ำง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ 
- กำรสืบค้นข้อมูล 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- กำรตั้งคำถำม 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/2 สร้ำงสมมติฐำนที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคำดกำรณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้ำง แบบจำลองหรือสร้ำงรูปแบบเพื่อนำไปสู่ กำรสำรวจตรวจสอบ 
-กำรสร้ำงสมมติฐำน 
- กำรตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/3 ค้นคว้ำรวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจำรณำปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญ ปัจจัยที่ มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจำนวนครั้งของกำรสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีควำมเชื่อมั่นอย่ำงเพียงพอ 
- กำรสืบค้นข้อมูล 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- กำรรวบรวมข้มูล 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในกำรสังเกต กำรวัด กำรสำรวจ ตรวจสอบอย่ำงถูกต้องทั้งทำงกว้ำงและลึก ในเชิงปริมำณและคุณภำพ 
- กำรสังเกต 
-สำรวจตรวจสอบ 
- กำรออกแบบ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลกำร สำรวจตรวจสอบอย่ำงเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมำณและคุณภำพ โดยตรวจสอบควำมเป็นไปได้ ควำม เหมำะสมหรือควำมผิดพลำดของข้อมูล 
- กำรรวบรวมข้อมูล 
- กำรบันทึก 
- สำรวจตรวจสอบ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/6 จัดกระทำข้อมูลโดยคำนึงถึงกำร รำยงำนผลเชิงตัวเลขที่มีระดับควำมถุ กต้องและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมำะสม 
- กำรจัดกระทำข้อมูล 
- กำรรำยงำนผล 
- กำรออกแบบ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/7 วิเครำะห์ข้อมูล แปลควำมหมำย ข้อมูลและประเมินควำมสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสำระสำคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐำนที่ตั้งไว้ 
- กำรวิเครำะห์ 
- กำรแปลควำมหมำย 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/8 พิจำรณำควำมน่ำเชื่อถือของ วิธีกำรและผลกำรสำรวจตรวจสอบโดยใช้ หลักควำมคำดเคลื่อนของกำรวัดและกำร สังเกต เสนอแนะ กำรปรับปรุงวิธีกำร สำรวจตรวจสอบ 
- กำรสังเกต 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- กำรสรุปผล 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/9 นำผลกำรสำรวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีกำรและองค์ควำมรู้ที่ได้ไปสร้ำง คำถำมใหม่ นำไปใช้แก้ปัญหำใน สถำนกำรณ์ใหม่และชีวิตจริง 
- กำรนำไปใช้ 
- กำรกำหนดปัญหำ 
- กำรแก้ปัญหำ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้ 
ม.4-6/10 ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรที่ จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบกำรอธิบำย กำรลงควำมเห็น และกำรสรุปผลกำร เรียนรู้วิทยำศำสตร์ที่นำเสนอต่อ สำธำรณชนด้วยควำมถูกต้อง 
- กำรอธิบำย 
- กำรลงข้อสรุป 
- กำรนำเสนอ 
- กำรสื่อสำร 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
ม.4-6/11 บันทึกและอธิบำยผลกำรสำรวจ ตรวจสอบอย่ำงมีเหตุผล ใช้พยำนหลักฐำน อ้ำงอิงหรือค้นคว้ำเพิ่มเติมเพื่อหำหลักฐำน อ้ำงอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่ำควำมรู้ เดิมอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยำนใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจำกเดิมซึ่งท้ำทำยให้มีกำร ตรวจสอบอย่ำง 
ระมัดระวังอันจะนำไปสู่กำรยอมรับเป็น ควำมรู้ใหม่ 
- กำรบันทึก 
- กำรอธิบำย 
- กำรสำรวจตรวจสอบ 
- กำรสืบค้นข้อมูล 
- กำรวิเครำะห์ 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/12 จัดแสดงผลงำน เขียนรำยงำน และ/หรืออธิบำยเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนกำรและผลของโครงงำนหรือ ชิ้นงำนให้ผู้อื่นเข้ำใจ 
- กำรอธิบำย 
- กำรสื่อสำรข้อมูล 
- มุ่งมั่นกำรทำงำน 
- มีวินัย 
- ซื่อสัตย์สุจริต 
- ใฝ่เรียนรู้
โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต 
ลาดับที่ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
สาระสาคัญ 
เวลา (ชั่วโมง) 
น้าหนัก คะแนน 
1 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม 
กำรศึกษำพันธุศำสตร์ของเมเดล ควำม น่ำจะเป็นและกฎของกำรแยก กฎแห่ง กำรรวมกลุ่มอย่ำงอิสระ กำรผสมเพื่อ ทดสอบและลักษณะทำงพันธุกรรมที่ นอกเหนือกฎของเมนเดล 
15 
20 
2 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
ยีนและโครโมโซม 
กำรถ่ำยทอดยีนและโครโมโซม กำร ค้นพบสำรพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทำงเคมีของ DNA โครงสร้ำงของ DNA สมบัติของสำร พันธุกรรมและมิวเทชัน 
15 
20 
3 
ว 1.2 ม.4-6/2 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
พันธุศำสตร์และ เทคโนโลยีทำง DNA 
พันธุวิศวกรรม กำรโคลนยีน กำร วิเครำะห์ DNA และกำรศึกษำจีโนม กำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA และควำมปลอดภัยของเทคโนโลยีทำง DNA และมุมมองทำงสังคมและ จริยธรรม 
10 
20 
4 
ว 1.2 ม.4-6/4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
วิวัฒนำกำร 
หลักฐำนที่บ่งบอกถึงวิวัฒนำกำรของ สิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนำกำร ของสิ่งมีชีวิต พันธุศำสตร์ประชำกร ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง ควำมถี่ของแอลลีนและกำเนิดสปีชีส์ 
10 
20 
5 
ว 1.2 ม.4-6/3 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
ควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ 
ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ กำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ กำเนิดของชีวิต อำณำจักรของ สิ่งมีชีวิต ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ในประเทศไทยและกำรสูญเสียควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ 
10 
20 
รวม 
60 
100
คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
ลาดับที่ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด 
จุดเน้น 
ทักษะ/กระบวนการ 
1 
กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 
- ควำมสำมำรถในกำรคิด 
- ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 
- ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด 
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 
- ทดลอง 
- อธิบำย 
- สืบค้นข้อมูล 
- นำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ กำรสืบค้นข้อมูล 
- กำรสำรวจ 
- กำรตั้งคำถำม 
- กำรสร้ำงสมมติฐำน 
- กำรตรวจสอบ 
- กำรรวบรวมข้อมูล 
- กำรสังเกต 
- กำรออกแบบ 
- กำรบันทึก 
- กำรจัดกระทำข้อมูล 
- กำรรำยงำนผล 
- กำรวิเครำะห์ 
- กำรแปลควำมหมำย 
- กำรกำหนดปัญหำ 
- กำรแก้ปัญหำ 
- กำรนำเสนอ 
- กำรสื่อสำร 
- กำรสรุปผล 
2 
ยีนและโครโมโซม 
ว 1.2 ม.4-6/1 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 
- ควำมสำมำรถในกำรคิด 
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 
- ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 
3 
พันธุศำสตร์และเทคโนโลยี ทำง DNA 
ว 1.2 ม.4-6/2 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 
- ควำมสำมำรถในกำรคิด 
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 
- ทักษะชีวิต 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม
4 
วิวัฒนำกำร 
ว 1.2 ม.4-6/4 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 
- ควำมสำมำรถในกำรคิด 
- ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 
- ทักษะชีวิต 
- ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด 
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 
5 
ควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ 
ว 1.2 ม.4-6/3 
ว 8.1 ม.4-6/1-12 
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร 
- ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี 
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 
- ทักษะชีวิต 
- ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี 
- ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 
หน่วยกำรเรียนที่ 5 เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ 
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 10 ชั่วโมง 
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
************************************************************************************************** 
1. มาตรฐานการเรียนรู้ 
ว 1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน 
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ 
อธิบำยถึงควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์อีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ในกำรดำรงชีวิตโดยกำรสำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในชุมชนแล้วเก็บ รวบรวมข้อมูลในฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพใน www.biogang.net พร้อมนำเสนอในรูปแบบแผนที่ ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) ได้อย่ำงถูกต้อง 
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
2.1 อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพได้อย่ำงถูกต้อง (Knowledge) 
2.2 อธิบำยถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพได้อย่ำงถูกต้อง (Knowledge) 
2.3 สำมำรถนำควำมรู้เรื่องควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพไปใช้ในกำรสำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพใน ชุมชนได้อย่ำงถูกต้อง (Process) 
2.5 สำมำรถนำข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่ได้จำกกำรสำรวจในชุมชนมำจัดทำฐำนข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net พร้อมนำเสนอในรูปแบบแผนที่ได้อย่ำงถูกต้อง (Process) 
2.6 ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพต่อกำรดำรงชีวิตของตนเองที่อำศัยอยู่ในชุมชน 
2.7 ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนในฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) 
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ 
- สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับ สภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่ำงกันจนเกิดเป็นควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ (Biodiversity) ขึ้น
- ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทำงกำยภำพและชีวภำพที่เหมำะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่ำงกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่ำงกันด้วย 
- ทรัพยำกรทำงชีวภำพ หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทำงชีวภำพของระบบนิเวศที่มนุษย์นำมำใช้ประโยชน์ใน กำรดำรงชีวิต ซึ่งมีควำมสำคัญอย่ำงมำกโดยเพพำะอย่ำงยิ่งกำรเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยำรักษำโรค อำหำรและที่อยู่อำศัย 
- กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนปัจจุบันนับว่ำเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอำศัยกระบวนกำร สำรวจบนพื้นฐำนหลักกำรทำงวิทยำศำสตร์หรือกำรทำโครงงำน พร้อมบันทึกฐำนข้อมูลลงบน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 
4. สาระการเรียนรู้ 
- ควำมรู้ (K) อธิบำยถึงควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 
- ทักษะ / กระบวนกำร (P) สำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนพร้อมจัดทำฐำนข้อมูลบน www.biogang.net และแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพ (BIO MAP) 
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพกับกำรดำรงชีวิต ของตนเองในชุมชน 
5. สมรรถนะ 
กำรใช้เทคโนโลยี คือ กำรบันทึกข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในฐำนข้อมูล www.biogang.net 
ทักษะชีวิต คือ กำรออกสำรวจชุมชนจริงที่นักเรียนอำศัยอยู่โดยรอบใกล้กับที่ตั้งของโรงเรียน 
กำรแก้ปัญหำ คือ กำรทำงำนโดยอำศัยกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์รูปแบบโครงงำน 
กำรคิด คือ กำรวิเครำะห์ข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจจำกชุมชนเพื่อจัดทำ BIO MAP 
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ 
สมุดบันทึกในกำรสำรวจทรัพยำกรธรรมชำติในชุมชน 
ใบงำน : แบบเค้ำโครงโครงงำนสำรวจทรัพยำกรชีวภำพ (Project proposal) 
ใบกิจกรรม : แบบรำยงำนผลกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน www.biogang.net 
Bio map : แผนที่กำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน
7. การวัดและประเมินผล 
รายการประเมิน 
วิธีวัดผล 
เครื่องมือวัดผล 
เกณฑ์การประเมินผล 
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เพลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เพลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 
8. กิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนำ : 1. ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพคืออะไร” 
แนวตอบ คือ สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของ สิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบทำงกำยภำพและชีวภำพ แตกต่ำงกัน เช่น กระต่ำยขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนำและขนยำวปกคลุมตัวก็เนื่องมำจำกสภำพอำกำศที่มีควำม หนำวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อกำรระบำยควำมร้อนได้ดีและโหนกที่มีกำรสะสมไขมันเพื่อนำมำใช้ใน ปฏิกิริยำสร้ำงน้ำเนื่องจำกมีถิ่นที่อยู่อำศัยในทะเลทรำย
2. ครูกระตุ้นควำมสนใจเกี่ยวกับ “ทรัพยำกรชีวภำพ” โดยให้นักเรียนศึกษำเรียนรู้ ของคลิป VDO ของสำนักงำนพัฒนำเศรษฐกิจจำกฐำนชีวภำพ (องค์กำรมหำชน) 
ครูตั้งคำถำมต่ำงๆเกี่ยวกับคลิป VDO ให้นักเรียนร่วมกันตอบเพื่อทบทวนควำมรู้และประสบกำรณ์เดิมอีกทั้งยัง เป็นกำรดึงควำมสนใจในกำรศึกษำเรียนรู้เกี่ยวกับควำมหลำกหลำยของทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน เช่น “นักเรียนลองยกตัวอย่ำงทรัพยำกรชีวภำพในชีวิตประจำวันมำคนละ 1 อย่ำงพร้อมบอกถึงลักษณะที่โดดเด่น ในกำรสังเกตและควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีวิต” 
ตัวอย่ำงแนวตอบ กะเพรำ เป็นพืชล้มลุกขนำดเล็ก ขอบใบหยัก มีกลิ่นพุน นิยมนำมำใช้ในกำรประกอบอำหำร เช่น ผัดกะเพรำหมูสับไข่ดำว นอกจำกนี้ยังสำมำรถนำมำใช้เป็นยำสมุนไพรในกำรขับลมแก้ท้องอืดได้อีกด้วย 
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ” ว่ำ 
- สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับ สภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่ำงกันทั้งปัจจัยทำงด้ำนกำยภำพ เช่น แสง ควำมกดดัน ควำมเป็นกรดเบส อุณหภูมิ เป็นต้น และปัจจัยทำงด้ำนชีวภำพ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ เป็นต้น จนเกิดเป็น ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ (Biodiversity) ขึ้น
- ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทำงกำยภำพและชีวภำพที่เหมำะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่ำงกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่ำงกันด้วย เช่น กระต่ำยขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนำและขนยำวปกคลุมตัวก็เนื่องมำจำกสภำพอำกำศที่มีควำมหนำวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อกำรระบำยควำมร้อนได้ดีและโหนกที่มีกำรสะสมไขมันเพื่อนำมำใช้ในปฏิกิริยำสร้ำงน้ำ เนื่องจำกมีถิ่นที่อยู่อำศัยในทะเลทรำย 
- ควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ คำว่ำ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ มำจำก biodiversity หรือ biological diversity ควำมหลำกหลำย (diversity) หมำยถึง มีมำกมำยและแตกต่ำง ทำงชีวภำพ (biological) หมำยถึง ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต หรือ หมำยถึง กำรมีสิ่งมีชีวิตนำนำชนิด นำนำพันธุ์ในระบบ นิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อำศัย ซึ่งมีมำกมำยและแตกต่ำงกันทั่วโลก หรือ กำรที่มีชนิดพันธุ์ (species) สำยพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่ำงหลำกหลำยบนโลก 
- องค์ประกอบสำคัญที่ก่อให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ได้แก่ 
1. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม หมำยถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีควำมแตกต่ำงกัน
2. ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์ หมำยถึง ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่ำงๆบนโลก ซึ่งมีประมำณ10-50ล้ำนชนิด 
3. ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ หมำยถึง ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีควำมแตกต่ำงของชนิดและ จำนวนของสิ่งมีชีวิตและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน 
- ทรัพยำกรทำงชีวภำพ หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทำงชีวภำพของระบบนิเวศที่มนุษย์นำมำใช้ประโยชน์ใน กำรดำรงชีวิต ซึ่งมีควำมสำคัญอย่ำงมำกโดยเพพำะอย่ำงยิ่งกำรเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยำรักษำโรค อำหำรและที่อยู่อำศัย ซึ่ง 
- มนุษย์มีควำมสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มนุษย์ก็จะรวมตัวกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นชุมนุมชน ภำยหลัง มนุษย์ก็ได้เริ่มจัดกำรกับสิ่งต่ำง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวมนุษย์ เพื่อให้เกิดควำมเหมำะสมในกำรดำรงชีพ ควำม สะดวกสบำย ในควำมเป็นอยู่และควำมปลอดภัยในชีวิต สิ่งรอบ ๆ ตัวที่มนุษย์เข้ำไปจัดกำรนั้น บำงครั้งมนุษย์ แสวงหำมำเอง บำงครั้งสร้ำงให้มันเกิดขึ้น และบำงครั้งก็ตกแต่ง ดัดแปลงปรับปรุง และใช้ธรรมชำติที่เกิด
ขึ้นอยู่เองนั้น ในลักษณะที่เหมำะสมและตรงกับควำมต้องกำรของชุมชน สิ่งต่ำง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ ภำยในบริเวณชุมนุมชนมีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้ำงขึ้นมำไว้ในชุมชน รวมเรียกกัน ว่ำ "สิ่งแวดล้อมชุมชน”อำจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ อำจจะเป็นสิ่งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้แต่ทุก อย่ำงจะมีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเป็นวงจร 
- กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนปัจจุบันนับว่ำเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอำศัยกระบวนกำร สำรวจบนพื้นฐำนหลักกำรทำงวิทยำศำสตร์หรือกำรทำโครงงำน พร้อมบันทึกฐำนข้อมูลลงบน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและควำมสำคัญของ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน 
แนวตอบ
- ความหมายของความหลายหลากทางชีวภาพ คือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ใน ระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก - ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ คือ มนุษย์สามารถได้รับประโยชน์จากความหลากหลาย ทางธรรมชาติในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1.ประโยชน์ด้านการบริโภคใช้สอย ได้แก่ ด้านการผลิตอาหารและด้านการแพทย์ 2 . ประโยชน์ด้านการผลิต ด้านการอุตสาหกรรม 3. ประโยชน์อื่นๆ อันได้แก่คุณค่าในการบารุงรักษาระบบนิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และดูแลระบบ นิเวศให้คงทนซึ่งจัดเป็นประโยชน์ที่สาคัญ ตลอดทั้งในด้านนันทนาการและการท่องเที่ยวของมนุษย์ 
- กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน หมายถึง การสารวจสังเกตและเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยอาศัยกระบวนการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยการจัดทาเป็นฐานข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเพื่อการวางแผนนามาใช้ประโยชน์ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด เช่น การบันทึกลงฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากร ชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป 
- หลังจำกได้ทบทวนสรุปเนื้อหำต่ำงๆและเน้นย้ำถึงควำมสำคัญหรือควำมจำเป็นที่เรำจะต้องเก็บรวบรวม ข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของชุมชนเป็นที่เรียบร้อย ครูก็ดำเนินกำรมอบหมำยโครงงำนกลุ่ม โดยจัดแบ่งกลุ่ม สมำชิกนักเรียน 3-4 คน เพื่อดำเนินกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพภำยในชุมชนที่กลุ่มตัดสินใจเลือกร่วมกันโดย กำหนดขอบเขตภำยในรัศมีที่ตั้งของโรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์เพื่อควำมสะดวกในกำรเดินทำงและเป็นพื้นที่ที่ นักเรียนแต่ละกลุ่มคุ้นเคยเพื่อประกอบเป็นภำพต่อขนำดใหญ่ด้ำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของชุมชนโดยรอบ บริเวณที่ตั้งโรงเรียน ซึ่งมีครูผู้สอนเป็นครูที่ปรึกษำโครงงำนในกำรตรวจสอบติดตำมควำมก้ำวหน้ำและควำม ถูกต้องของกระบวนกำรทำโครงงำน 
- นักเรียนดำเนินกำรเขียนเค้ำโครงโครงงำนชีววิทยำกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนซึ่งเป็นกำร วำงแผนกำรเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบและมีควำมถูกต้องชัดเจนจำกกำรเข้ำสำรวจบริบทและทรัพยำกร ชีวภำพของชุมชนเป้ำหมำยในเบื้องต้นแล้วนำส่งครูที่ปรึกษำโครงงำนเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง พัฒนำ
ปรับปรุงแก้ไขอย่ำงต่อเนื่องและอนุมัติให้กลุ่มนักเรียนสำมำรถทำโครงงำนสำรวจเก็บข้อมูลได้เพื่อให้กำรเก็บ รวบรวมข้อมูลและกำรบันทึกผลข้อมูลจำกกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนมีควำมถูกต้องน่ำเชื่อถือตำม หลักวิชำกำร 
- นักเรียนดำเนินกำรออกสำรวจบันทึกข้อมูลชนิดพันธุ์และลักษณะโดดเด่นที่ได้จำกกำรสังเกต บันทึกภำพถ่ำย จำนวน 4 ภำพ ได้แก่ 1) ภำพทรัพยำกรชีวภำพโดยรวม 2) ภำพทรัพยำกรชีวภำพเน้นจุดเด่น 3) ภำพ ทรัพยำกรชีวภำพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภำพทรัพยำกรธรรมชำติกับสถำนที่ที่ค้นพบ นอกจำกนี้ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกเส้นทำงในกำรเดินสำรวจตำมสถำนที่ต่ำงๆภำยในชุมชน เพื่อนำมำประกอบกำร จัดทำฐำนข้อมูลใน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) ในกำร เผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป 
- นักเรียนดำเนินกำรสมัครเป็นสมำชิก www.biogang.net พร้อมกับเข้ำร่วมกลุ่ม SILABIO_6/1_57 เพื่อ กำรตวรจสอบติดตำมผลกำรเข้ำร่วมกิจกรรมของสมำชิกนักเรียนในกลุ่มแต่ละคนเพื่อกำรวัดประเมินผลอย่ำง ต่อเนื่อง พร้อมกับให้นักเรียนแนะนำตัวเพื่อตรวจสอบยืนยันกำรสมัครเข้ำร่วมกลุ่ม
- นักเรียนดำเนินกำรบันทึกข้อมูลลงในฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพจำกข้อมูลที่ได้จำกกำรสำรวจและข้อมูลที่ ได้จำกกำรสืบค้นของชุมชนที่กลุ่มตนเองเลือกไว้ ที่ www.biogang.net โดยครูกำหนดให้นักเรียนสมำชิกกลุ่ม แต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมในกำรสำรวจและบันทึกข้อมูล อย่ำงน้อยกลุ่มละ 10 ชนิดทรัพยำกรธรรมชำติ ซึ่ง อำจแบ่งกันคนละ 3-4 ชนิด และครูสำมำรถดำเนินกำรตรวจสอบกำรทำงำนของนักเรียนแต่ละคน ได้ดังนี้ 
1. กำรบันทึกภำพของนักเรียนคู่กับทรัพยกรชีวิภำพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบในกำรสำรวจ 
2. กำรบันทึกข้อมูลทรัพยำกรที่ตนเองรับผิดชอบในกำรสำรวจลงในบล็อกฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของ ตนเอง
- นักเรียนดำเนินกำรจัดทำแผนที่เส้นทำงกำรเดินทำงสำรวจทรัพยำกรชีวภำพภำยในชุมชนที่กลุ่มโครงงำนของ ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจะต้องระบุสถำนที่สำคัญภำยในชุมชน ตำแหน่งที่ตั้งของทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจพบใน ชุมชน รูปภำพและรำยละเอียดคร่ำวๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจพบในชุมชน โดยกลุ่มนักเรียน สำมำรถออกแบบลักษณะของแผนที่ (BIO MAP) ได้อย่ำงอิสระ เช่น กำรวำดภำพแล้วถ่ำยรูปเป็นไฟล์ คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทำรำยงำนหรือจัดทำเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมต่ำงๆ เป็นต้น 
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนแบบฝึกหัดเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพอีกทั้งสำมำรถ นำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสมจำกกำรสำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน กำร นำข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่ได้จำกกำรสำรวจในชุมชนมำจัดทำฐำนข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net
และประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจำกกำรกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนในฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) 
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 
9.1 หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยำ 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 
9.2 คู่มือครูชีววิทยำ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 
9.3 ห้องสมุดเพลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
9.5 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่อกำรสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
9.6 เว็ปไซต์เพื่อกำรศึกษำทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน www.biogang.net 
9.7 เว๊ปไซต์เพื่อกำรสืบค้นข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน เช่น www.google.com 
9.10 แบบบันทึกเค้ำโครงงำนชีววิทยำกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน 
9.11 แบบบันทึกรำยงำนโครงงำนกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน 
9.12 ใบงำน เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและทรัพยำกรธรรมชำติ 
9.13 ใบงำน Mind Map สรุปบทเรียน เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและ 
ทรัพยำกรธรรมชำติ 
9.14 สไลด์ประกอบกำรเรียนรู้ เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและทรัพยำกรธรรมชำติ 
9.15 สไลด์ประกอบกำรเรียนรู้ เรื่อง กำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนใน 
ฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map)
ภาคผนวก
แบบฟอร์ม เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงงำนชีววิทยำ................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) 
รำยชื่อสมำชิกกลุ่มโครงงำนชีววิทยำ ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 
1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 
2. ………………………………………………………………………………………..………... 
3. ………………………………………………………………………………………..………... 
4. ……………………………………………………………………………………..…………... 
(ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) 
ครูที่ปรึกษำโครงงำน 
นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศำสตร์ 
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2557 
โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 1 
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรขั้นพื้นฐำน 
กระทรวงศึกษำธิกำร
1. ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน (เพราะเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้หรือคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
2. วัตถุประสงค์ (ระบุเป็นข้อๆว่าทาโครงงานนี้เพื่ออะไร) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
3. สมมติฐำนของกำรศึกษำ (คาดคะเนคาตอบที่จะได้จากโครงงานจากคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกโครงงำน (นักเรียนคาดว่าจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
5. ทฤษฎีหลักกำรหรือเนื้อหำที่เกี่ยวข้องกับกำรทำโครงงำน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................
6. วิธีดำเนินงำน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ (เขียนเป็นข้อๆ) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า (เขียนเป็นข้อๆเริ่มตั้งแต่การรวมกลุ่มจนถึงจัดทา E-book นาเสนอโครงงาน) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
- แผนปฏิบัติงาน (ระยะเวลาในการดาเนินโครงงาน เขียนเป็นสัปดาห์หรือระบุวันที่ก็ได้) 
ขั้นตอนในการทา โครงงาน 
ระยะเวลาในการทาโครงงาน 
7. เอกสำรอ้ำงอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่ำงๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็นข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
.............................................................................................................................................................................. 
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ 
หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
ชื่อโครงงงำนชีววิทยำ................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) 
รำยชื่อสมำชิกกลุ่มโครงงำนชีววิทยำ ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 
1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 
2. ………………………………………………………………………………………..………... 
3. ………………………………………………………………………………………..………... 
4. ……………………………………………………………………………………..…………... 
(ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) 
ครูที่ปรึกษำโครงงำน 
นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศำสตร์ 
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2557 
โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 
สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 1 
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรขั้นพื้นฐำน 
กระทรวงศึกษำธิกำร
1. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ .............................................................
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ............................................................
2. ชื่อ......................นามสกุล.....................เลขที่....................ชั้น.......................... 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ .............................................................
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ............................................................ 
หมายเหตุ ให้นักเรียนดาเนินการจัดทาหลักฐานการบันทึกฐานข้อมูลลงในเว็ปไซต์ www.biogang.net ตาม ตัวอย่างรูปแบบที่กาหนดให้ โดยจะต้องมีทรัพยากรชีวภาพที่ทาการสารวจในชุมชนอย่างน้อย 10 ชนิด และ ทุกคนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการบันทึกข้อมูลการสารวจลงในบล็อกของตนเองที่สมัครเป็นสมาชิกของเว็ป ไซต์ และการบันทึกภาพถ่ายจานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพ เน้นจุดเด่น 3) ภาพทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ
ตัวอย่าง BIO MAP ชุมชนที่สารวจความหลากหลาย ใช้ Word หรือ Power Point หรือการวาดภาพแล้ว ถ่ายรูปเป็นไฟล์ตอมพิวเตอร์ก็ได้แล้วแต่ความถนัดของแต่ละกลุ่มโครงงาน 
หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น 
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. 
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดำเนินกำรสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบำงครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมำก 
ที่ 
ชื่อ-สกุล 
กำรตอบคำถำม 
กำรร่วมกิจกรรม 
กำรแสดงควำมคิดเห็น 
กำรซักถำม 
รวมคะแนน 
ระดับคะแนน 
10-12 
7-9 
4-6 
3 
3 
3 
3 
12 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง
แบบประเมินการทางานกลุ่ม 
วิชาชีววิทยา เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ 
ที่ 
ชื่อ-สกุล 
ประเด็นกำรประเมิน/คะเนน 
ระดับคะแนน 
ควำมรับผิดชอบของ แต่ละคน 
กำรมีส่วนร่วมในกำร ทำงำน 
ควำมคิดสร้ำงสรรค์ 
ผลงำน 
รวม 
20-25 
12-19 
5-11 
5 
5 
5 
10 
25 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง 
เกณฑ์การให้คะแนน 
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมำกเป็นแบบอย่ำงให้แก่ผู้อื่น 
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ำกันทั่วไปเป็นไปตำมที่กำหนด 
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ำกว่ำมำตรฐำนทั่วไป 
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมำะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ควำมร่วมมือ
สื่อประกอบการเรียนรู้แบบ Power Point
ตัวอย่างผลงานความสาเร็จของนักเรียน
เว็ปไซต์ประกอบการเนื้อหาบทเรียนเรื่อง 
ความหลายหลายทางชีวภาพและทรัพยากร 
www.kruwichailikitponrak.wordpress.com
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang

More Related Content

What's hot

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้Biogang

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryArtit Promratpan
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้Biogang (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

แผนการจัดการเรียนรู้Biogang

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 รหัสวิชา ว 33244 รายวิชา ชีววิทยา 4 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คำอธิบำยรำยวิชำ ชีววิทยำ 4 รหัสวิชำ ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 1.5 หน่วยกิต เวลำ 60 ชั่วโมง ศึกษำวิเครำะห์เกี่ยวกับกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม กฎของเมนเดล กำรผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะพันธุกรรมที่นอกเหนือกฏของเมนเดล ยีนและโครโมโซม กำรถ่ำยทอดยีนและโครโมโซม กำรค้นพบ สำรพันธุกรรม โครงสร้ำงและองค์ประกอบทำงเคมีของดีเอ็นเอ สมบัติของสำรพันธุกรรม มิวเทชัน พันธุศำสตร์ และเทคโนโลยีทำงดีเอ็นเอ พันธุวิศวกรรม กำรโคลนยีน กำรวิเครำะห์ดีเอ็นเอและกำรศึกษำจีโนม กำร ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของดีเอ็นเอ ควำมปลอดภัยของเทคโนโลยีทำงดีเอ็นเอ มุมมองทำงสังคมและจริยธรรม วิวัฒนำกำร หลักฐำนที่บ่งบอกถึงวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิต พันธุ ศำสตร์ประชำกร ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ของอัลลีล กำเนิดของสปีชีส์ กำรศึกษำควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ กำเนิดชีวิต อำณำจักรของสิ่งมีชีวิต ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในประเทศไทย กำร สูญเสียควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรสำรวจตรวจสอบ กำรสืบค้นข้อมูล และกำรอภิปรำยเพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ สำมำรถสื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้ มีควำมสำมำรถในกำร ตัดสินใจ เห็นคุณค่ำของกำรนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยำศำสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่ำนิยมที่เหมำะสม ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.4/1 , ว 1.2 ม.4/2 , ว 1.2 ม.4/3 , ว 1.2 ม.4/4 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 16 ตัวชี้วัด
  • 4. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 4 ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบำยกระบวนกำรถ่ำยทอดสำร พันธุกรรม กำรแปรผันทำงพันธุกรรม มิว เทชัน และกำรเกิดควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ - กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม - ยีนและโครโมโซม - กำรสำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/2 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของ เทคโนโลยีชีวภำพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อมและนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ - พันธุศำสตร์และ เทคโนโลยีทำง DNA - กำรนำควำมรู้ไปใช้ - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม - ควำมหลำกหลำย ทำงชีววิทยำ - กำรสืบค้นข้อมูล - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นกำรทำงำน ม.4-6/4 อธิบำยกระบวนกำรคัดเลือกตำม ธรรมชำติและผลกำรคัดเลือกตำม ธรรมชำติต่อควำมลำกหลำยของสิ่งมีชีวิต - วิวัฒนำกำร - กำรคิดวิเครำะห์ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคำถำมที่อยู่บนพื้นฐำนของ ควำมรู้และควำมเข้ำใจทำงวิทยำศำสตร์ หรือควำมสนใจหรือจำกประเด็นที่เกิดขึ้น ในขณะนั้นที่สำมำรถทำกำรสำรวจ ตรวจสอบหรือศึกษำค้นคว้ำได้อย่ำง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรตั้งคำถำม - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/2 สร้ำงสมมติฐำนที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคำดกำรณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้ำง แบบจำลองหรือสร้ำงรูปแบบเพื่อนำไปสู่ กำรสำรวจตรวจสอบ -กำรสร้ำงสมมติฐำน - กำรตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 ค้นคว้ำรวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจำรณำปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญ ปัจจัยที่ มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจำนวนครั้งของกำรสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีควำมเชื่อมั่นอย่ำงเพียงพอ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรรวบรวมข้มูล - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในกำรสังเกต กำรวัด กำรสำรวจ ตรวจสอบอย่ำงถูกต้องทั้งทำงกว้ำงและลึก ในเชิงปริมำณและคุณภำพ - กำรสังเกต -สำรวจตรวจสอบ - กำรออกแบบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ใฝ่เรียนรู้
  • 5. ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลกำร สำรวจตรวจสอบอย่ำงเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมำณและคุณภำพ โดยตรวจสอบควำมเป็นไปได้ ควำม เหมำะสมหรือควำมผิดพลำดของข้อมูล - กำรรวบรวมข้อมูล - กำรบันทึก - สำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/6 จัดกระทำข้อมูลโดยคำนึงถึงกำร รำยงำนผลเชิงตัวเลขที่มีระดับควำมถุ กต้องและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่ เหมำะสม - กำรจัดกระทำข้อมูล - กำรรำยงำนผล - กำรออกแบบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/7 วิเครำะห์ข้อมูล แปลควำมหมำย ข้อมูลและประเมินควำมสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสำระสำคัญเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐำนที่ตั้งไว้ - กำรวิเครำะห์ - กำรแปลควำมหมำย - กำรสำรวจตรวจสอบ - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/8 พิจำรณำควำมน่ำเชื่อถือของ วิธีกำรและผลกำรสำรวจตรวจสอบโดยใช้ หลักควำมคำดเคลื่อนของกำรวัดและกำร สังเกต เสนอแนะ กำรปรับปรุงวิธีกำร สำรวจตรวจสอบ - กำรสังเกต - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรสรุปผล - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/9 นำผลกำรสำรวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีกำรและองค์ควำมรู้ที่ได้ไปสร้ำง คำถำมใหม่ นำไปใช้แก้ปัญหำใน สถำนกำรณ์ใหม่และชีวิตจริง - กำรนำไปใช้ - กำรกำหนดปัญหำ - กำรแก้ปัญหำ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/10 ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรที่ จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบกำรอธิบำย กำรลงควำมเห็น และกำรสรุปผลกำร เรียนรู้วิทยำศำสตร์ที่นำเสนอต่อ สำธำรณชนด้วยควำมถูกต้อง - กำรอธิบำย - กำรลงข้อสรุป - กำรนำเสนอ - กำรสื่อสำร - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/11 บันทึกและอธิบำยผลกำรสำรวจ ตรวจสอบอย่ำงมีเหตุผล ใช้พยำนหลักฐำน อ้ำงอิงหรือค้นคว้ำเพิ่มเติมเพื่อหำหลักฐำน อ้ำงอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่ำควำมรู้ เดิมอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยำนใหม่เพิ่มเติมหรือ โต้แย้งจำกเดิมซึ่งท้ำทำยให้มีกำร ตรวจสอบอย่ำง ระมัดระวังอันจะนำไปสู่กำรยอมรับเป็น ควำมรู้ใหม่ - กำรบันทึก - กำรอธิบำย - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรวิเครำะห์ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต
  • 6. ม.4-6/12 จัดแสดงผลงำน เขียนรำยงำน และ/หรืออธิบำยเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนกำรและผลของโครงงำนหรือ ชิ้นงำนให้ผู้อื่นเข้ำใจ - กำรอธิบำย - กำรสื่อสำรข้อมูล - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 7. โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 4 รหัส ว 33244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม กำรศึกษำพันธุศำสตร์ของเมเดล ควำม น่ำจะเป็นและกฎของกำรแยก กฎแห่ง กำรรวมกลุ่มอย่ำงอิสระ กำรผสมเพื่อ ทดสอบและลักษณะทำงพันธุกรรมที่ นอกเหนือกฎของเมนเดล 15 20 2 ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ยีนและโครโมโซม กำรถ่ำยทอดยีนและโครโมโซม กำร ค้นพบสำรพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทำงเคมีของ DNA โครงสร้ำงของ DNA สมบัติของสำร พันธุกรรมและมิวเทชัน 15 20 3 ว 1.2 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 พันธุศำสตร์และ เทคโนโลยีทำง DNA พันธุวิศวกรรม กำรโคลนยีน กำร วิเครำะห์ DNA และกำรศึกษำจีโนม กำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA และควำมปลอดภัยของเทคโนโลยีทำง DNA และมุมมองทำงสังคมและ จริยธรรม 10 20 4 ว 1.2 ม.4-6/4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 วิวัฒนำกำร หลักฐำนที่บ่งบอกถึงวิวัฒนำกำรของ สิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนำกำร ของสิ่งมีชีวิต พันธุศำสตร์ประชำกร ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง ควำมถี่ของแอลลีนและกำเนิดสปีชีส์ 10 20 5 ว 1.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ กำรศึกษำควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ กำเนิดของชีวิต อำณำจักรของ สิ่งมีชีวิต ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ในประเทศไทยและกำรสูญเสียควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ 10 20 รวม 60 100
  • 8. คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ 1 กำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรม ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี - ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม - ทดลอง - อธิบำย - สืบค้นข้อมูล - นำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจ - กำรตั้งคำถำม - กำรสร้ำงสมมติฐำน - กำรตรวจสอบ - กำรรวบรวมข้อมูล - กำรสังเกต - กำรออกแบบ - กำรบันทึก - กำรจัดกระทำข้อมูล - กำรรำยงำนผล - กำรวิเครำะห์ - กำรแปลควำมหมำย - กำรกำหนดปัญหำ - กำรแก้ปัญหำ - กำรนำเสนอ - กำรสื่อสำร - กำรสรุปผล 2 ยีนและโครโมโซม ว 1.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 3 พันธุศำสตร์และเทคโนโลยี ทำง DNA ว 1.2 ม.4-6/2 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม
  • 9. 4 วิวัฒนำกำร ว 1.2 ม.4-6/4 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ทักษะชีวิต - ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 5 ควำมหลำกหลำยทำง ชีวภำพ ว 1.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 หน่วยกำรเรียนที่ 5 เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 10 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรำยผลของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยถึงควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพที่มีต่อมนุษย์อีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ในกำรดำรงชีวิตโดยกำรสำรวจควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในชุมชนแล้วเก็บ รวบรวมข้อมูลในฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพใน www.biogang.net พร้อมนำเสนอในรูปแบบแผนที่ ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) ได้อย่ำงถูกต้อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพได้อย่ำงถูกต้อง (Knowledge) 2.2 อธิบำยถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพได้อย่ำงถูกต้อง (Knowledge) 2.3 สำมำรถนำควำมรู้เรื่องควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพไปใช้ในกำรสำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพใน ชุมชนได้อย่ำงถูกต้อง (Process) 2.5 สำมำรถนำข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่ได้จำกกำรสำรวจในชุมชนมำจัดทำฐำนข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net พร้อมนำเสนอในรูปแบบแผนที่ได้อย่ำงถูกต้อง (Process) 2.6 ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพต่อกำรดำรงชีวิตของตนเองที่อำศัยอยู่ในชุมชน 2.7 ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนในฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับ สภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่ำงกันจนเกิดเป็นควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ (Biodiversity) ขึ้น
  • 11. - ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทำงกำยภำพและชีวภำพที่เหมำะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่ำงกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่ำงกันด้วย - ทรัพยำกรทำงชีวภำพ หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทำงชีวภำพของระบบนิเวศที่มนุษย์นำมำใช้ประโยชน์ใน กำรดำรงชีวิต ซึ่งมีควำมสำคัญอย่ำงมำกโดยเพพำะอย่ำงยิ่งกำรเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยำรักษำโรค อำหำรและที่อยู่อำศัย - กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนปัจจุบันนับว่ำเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอำศัยกระบวนกำร สำรวจบนพื้นฐำนหลักกำรทำงวิทยำศำสตร์หรือกำรทำโครงงำน พร้อมบันทึกฐำนข้อมูลลงบน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป 4. สาระการเรียนรู้ - ควำมรู้ (K) อธิบำยถึงควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ - ทักษะ / กระบวนกำร (P) สำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนพร้อมจัดทำฐำนข้อมูลบน www.biogang.net และแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพ (BIO MAP) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพกับกำรดำรงชีวิต ของตนเองในชุมชน 5. สมรรถนะ กำรใช้เทคโนโลยี คือ กำรบันทึกข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในฐำนข้อมูล www.biogang.net ทักษะชีวิต คือ กำรออกสำรวจชุมชนจริงที่นักเรียนอำศัยอยู่โดยรอบใกล้กับที่ตั้งของโรงเรียน กำรแก้ปัญหำ คือ กำรทำงำนโดยอำศัยกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์รูปแบบโครงงำน กำรคิด คือ กำรวิเครำะห์ข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจจำกชุมชนเพื่อจัดทำ BIO MAP 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึกในกำรสำรวจทรัพยำกรธรรมชำติในชุมชน ใบงำน : แบบเค้ำโครงโครงงำนสำรวจทรัพยำกรชีวภำพ (Project proposal) ใบกิจกรรม : แบบรำยงำนผลกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน www.biogang.net Bio map : แผนที่กำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน
  • 12. 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เพลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เพลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : 1. ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพคืออะไร” แนวตอบ คือ สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของ สิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบทำงกำยภำพและชีวภำพ แตกต่ำงกัน เช่น กระต่ำยขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนำและขนยำวปกคลุมตัวก็เนื่องมำจำกสภำพอำกำศที่มีควำม หนำวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อกำรระบำยควำมร้อนได้ดีและโหนกที่มีกำรสะสมไขมันเพื่อนำมำใช้ใน ปฏิกิริยำสร้ำงน้ำเนื่องจำกมีถิ่นที่อยู่อำศัยในทะเลทรำย
  • 13. 2. ครูกระตุ้นควำมสนใจเกี่ยวกับ “ทรัพยำกรชีวภำพ” โดยให้นักเรียนศึกษำเรียนรู้ ของคลิป VDO ของสำนักงำนพัฒนำเศรษฐกิจจำกฐำนชีวภำพ (องค์กำรมหำชน) ครูตั้งคำถำมต่ำงๆเกี่ยวกับคลิป VDO ให้นักเรียนร่วมกันตอบเพื่อทบทวนควำมรู้และประสบกำรณ์เดิมอีกทั้งยัง เป็นกำรดึงควำมสนใจในกำรศึกษำเรียนรู้เกี่ยวกับควำมหลำกหลำยของทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน เช่น “นักเรียนลองยกตัวอย่ำงทรัพยำกรชีวภำพในชีวิตประจำวันมำคนละ 1 อย่ำงพร้อมบอกถึงลักษณะที่โดดเด่น ในกำรสังเกตและควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีวิต” ตัวอย่ำงแนวตอบ กะเพรำ เป็นพืชล้มลุกขนำดเล็ก ขอบใบหยัก มีกลิ่นพุน นิยมนำมำใช้ในกำรประกอบอำหำร เช่น ผัดกะเพรำหมูสับไข่ดำว นอกจำกนี้ยังสำมำรถนำมำใช้เป็นยำสมุนไพรในกำรขับลมแก้ท้องอืดได้อีกด้วย ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ” ว่ำ - สิ่งมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมำจำกกำรเกิดวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะเหมำะสมกับ สภำพแวดล้อมที่ดำรงชีวิตอยู่ซึ่งมีองค์ประกอบแตกต่ำงกันทั้งปัจจัยทำงด้ำนกำยภำพ เช่น แสง ควำมกดดัน ควำมเป็นกรดเบส อุณหภูมิ เป็นต้น และปัจจัยทำงด้ำนชีวภำพ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ เป็นต้น จนเกิดเป็น ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ (Biodiversity) ขึ้น
  • 14. - ในระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีปัจจัยทำงกำยภำพและชีวภำพที่เหมำะสมกับสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศ นั้น ดังนั้น ระบบนิเวศที่แตกต่ำงกันย่อมจะมีสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้นแตกต่ำงกันด้วย เช่น กระต่ำยขั้วโลกต้องมีชั้นไขมันหนำและขนยำวปกคลุมตัวก็เนื่องมำจำกสภำพอำกำศที่มีควำมหนำวเย็นจัด หรือ อูฐต้องมีขนสั้นเพื่อกำรระบำยควำมร้อนได้ดีและโหนกที่มีกำรสะสมไขมันเพื่อนำมำใช้ในปฏิกิริยำสร้ำงน้ำ เนื่องจำกมีถิ่นที่อยู่อำศัยในทะเลทรำย - ควำมหมำยของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ คำว่ำ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ มำจำก biodiversity หรือ biological diversity ควำมหลำกหลำย (diversity) หมำยถึง มีมำกมำยและแตกต่ำง ทำงชีวภำพ (biological) หมำยถึง ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต หรือ หมำยถึง กำรมีสิ่งมีชีวิตนำนำชนิด นำนำพันธุ์ในระบบ นิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อำศัย ซึ่งมีมำกมำยและแตกต่ำงกันทั่วโลก หรือ กำรที่มีชนิดพันธุ์ (species) สำยพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่ำงหลำกหลำยบนโลก - องค์ประกอบสำคัญที่ก่อให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ได้แก่ 1. ควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม หมำยถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีควำมแตกต่ำงกัน
  • 15. 2. ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์ หมำยถึง ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่ำงๆบนโลก ซึ่งมีประมำณ10-50ล้ำนชนิด 3. ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ หมำยถึง ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีควำมแตกต่ำงของชนิดและ จำนวนของสิ่งมีชีวิตและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน - ทรัพยำกรทำงชีวภำพ หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่เป็นปัจจัยทำงชีวภำพของระบบนิเวศที่มนุษย์นำมำใช้ประโยชน์ใน กำรดำรงชีวิต ซึ่งมีควำมสำคัญอย่ำงมำกโดยเพพำะอย่ำงยิ่งกำรเป็นปัจจัย 4 ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม ยำรักษำโรค อำหำรและที่อยู่อำศัย ซึ่ง - มนุษย์มีควำมสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มนุษย์ก็จะรวมตัวกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นชุมนุมชน ภำยหลัง มนุษย์ก็ได้เริ่มจัดกำรกับสิ่งต่ำง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวมนุษย์ เพื่อให้เกิดควำมเหมำะสมในกำรดำรงชีพ ควำม สะดวกสบำย ในควำมเป็นอยู่และควำมปลอดภัยในชีวิต สิ่งรอบ ๆ ตัวที่มนุษย์เข้ำไปจัดกำรนั้น บำงครั้งมนุษย์ แสวงหำมำเอง บำงครั้งสร้ำงให้มันเกิดขึ้น และบำงครั้งก็ตกแต่ง ดัดแปลงปรับปรุง และใช้ธรรมชำติที่เกิด
  • 16. ขึ้นอยู่เองนั้น ในลักษณะที่เหมำะสมและตรงกับควำมต้องกำรของชุมชน สิ่งต่ำง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ ภำยในบริเวณชุมนุมชนมีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้ำงขึ้นมำไว้ในชุมชน รวมเรียกกัน ว่ำ "สิ่งแวดล้อมชุมชน”อำจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ อำจจะเป็นสิ่งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้แต่ทุก อย่ำงจะมีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเป็นวงจร - กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนปัจจุบันนับว่ำเป็นสิ่งคัญยิ่งโดยอำศัยกระบวนกำร สำรวจบนพื้นฐำนหลักกำรทำงวิทยำศำสตร์หรือกำรทำโครงงำน พร้อมบันทึกฐำนข้อมูลลงบน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อ ผู้สนใจโดยทั่วไป นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและควำมสำคัญของ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน แนวตอบ
  • 17. - ความหมายของความหลายหลากทางชีวภาพ คือ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ใน ระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก - ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ คือ มนุษย์สามารถได้รับประโยชน์จากความหลากหลาย ทางธรรมชาติในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1.ประโยชน์ด้านการบริโภคใช้สอย ได้แก่ ด้านการผลิตอาหารและด้านการแพทย์ 2 . ประโยชน์ด้านการผลิต ด้านการอุตสาหกรรม 3. ประโยชน์อื่นๆ อันได้แก่คุณค่าในการบารุงรักษาระบบนิเวศให้สามารถดารงอยู่ได้ และดูแลระบบ นิเวศให้คงทนซึ่งจัดเป็นประโยชน์ที่สาคัญ ตลอดทั้งในด้านนันทนาการและการท่องเที่ยวของมนุษย์ - กำรเก็บรวบรวมข้อมูลทำงทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน หมายถึง การสารวจสังเกตและเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยอาศัยกระบวนการอย่างเป็นระบบมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยการจัดทาเป็นฐานข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเพื่อการวางแผนนามาใช้ประโยชน์ในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด เช่น การบันทึกลงฐานข้อมูล www.biogang.net และการจัดทาแผนที่ทรัพยากร ชีวภาพของชุมชน (Bio Map) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป - หลังจำกได้ทบทวนสรุปเนื้อหำต่ำงๆและเน้นย้ำถึงควำมสำคัญหรือควำมจำเป็นที่เรำจะต้องเก็บรวบรวม ข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของชุมชนเป็นที่เรียบร้อย ครูก็ดำเนินกำรมอบหมำยโครงงำนกลุ่ม โดยจัดแบ่งกลุ่ม สมำชิกนักเรียน 3-4 คน เพื่อดำเนินกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพภำยในชุมชนที่กลุ่มตัดสินใจเลือกร่วมกันโดย กำหนดขอบเขตภำยในรัศมีที่ตั้งของโรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์เพื่อควำมสะดวกในกำรเดินทำงและเป็นพื้นที่ที่ นักเรียนแต่ละกลุ่มคุ้นเคยเพื่อประกอบเป็นภำพต่อขนำดใหญ่ด้ำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของชุมชนโดยรอบ บริเวณที่ตั้งโรงเรียน ซึ่งมีครูผู้สอนเป็นครูที่ปรึกษำโครงงำนในกำรตรวจสอบติดตำมควำมก้ำวหน้ำและควำม ถูกต้องของกระบวนกำรทำโครงงำน - นักเรียนดำเนินกำรเขียนเค้ำโครงโครงงำนชีววิทยำกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนซึ่งเป็นกำร วำงแผนกำรเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบและมีควำมถูกต้องชัดเจนจำกกำรเข้ำสำรวจบริบทและทรัพยำกร ชีวภำพของชุมชนเป้ำหมำยในเบื้องต้นแล้วนำส่งครูที่ปรึกษำโครงงำนเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง พัฒนำ
  • 18. ปรับปรุงแก้ไขอย่ำงต่อเนื่องและอนุมัติให้กลุ่มนักเรียนสำมำรถทำโครงงำนสำรวจเก็บข้อมูลได้เพื่อให้กำรเก็บ รวบรวมข้อมูลและกำรบันทึกผลข้อมูลจำกกำรสำรวจทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนมีควำมถูกต้องน่ำเชื่อถือตำม หลักวิชำกำร - นักเรียนดำเนินกำรออกสำรวจบันทึกข้อมูลชนิดพันธุ์และลักษณะโดดเด่นที่ได้จำกกำรสังเกต บันทึกภำพถ่ำย จำนวน 4 ภำพ ได้แก่ 1) ภำพทรัพยำกรชีวภำพโดยรวม 2) ภำพทรัพยำกรชีวภำพเน้นจุดเด่น 3) ภำพ ทรัพยำกรชีวภำพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภำพทรัพยำกรธรรมชำติกับสถำนที่ที่ค้นพบ นอกจำกนี้ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกเส้นทำงในกำรเดินสำรวจตำมสถำนที่ต่ำงๆภำยในชุมชน เพื่อนำมำประกอบกำร จัดทำฐำนข้อมูลใน www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) ในกำร เผยแพร่องค์ควำมรู้ต่อผู้สนใจโดยทั่วไป - นักเรียนดำเนินกำรสมัครเป็นสมำชิก www.biogang.net พร้อมกับเข้ำร่วมกลุ่ม SILABIO_6/1_57 เพื่อ กำรตวรจสอบติดตำมผลกำรเข้ำร่วมกิจกรรมของสมำชิกนักเรียนในกลุ่มแต่ละคนเพื่อกำรวัดประเมินผลอย่ำง ต่อเนื่อง พร้อมกับให้นักเรียนแนะนำตัวเพื่อตรวจสอบยืนยันกำรสมัครเข้ำร่วมกลุ่ม
  • 19. - นักเรียนดำเนินกำรบันทึกข้อมูลลงในฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพจำกข้อมูลที่ได้จำกกำรสำรวจและข้อมูลที่ ได้จำกกำรสืบค้นของชุมชนที่กลุ่มตนเองเลือกไว้ ที่ www.biogang.net โดยครูกำหนดให้นักเรียนสมำชิกกลุ่ม แต่ละคนจะต้องมีส่วนร่วมในกำรสำรวจและบันทึกข้อมูล อย่ำงน้อยกลุ่มละ 10 ชนิดทรัพยำกรธรรมชำติ ซึ่ง อำจแบ่งกันคนละ 3-4 ชนิด และครูสำมำรถดำเนินกำรตรวจสอบกำรทำงำนของนักเรียนแต่ละคน ได้ดังนี้ 1. กำรบันทึกภำพของนักเรียนคู่กับทรัพยกรชีวิภำพในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบในกำรสำรวจ 2. กำรบันทึกข้อมูลทรัพยำกรที่ตนเองรับผิดชอบในกำรสำรวจลงในบล็อกฐำนข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพของ ตนเอง
  • 20. - นักเรียนดำเนินกำรจัดทำแผนที่เส้นทำงกำรเดินทำงสำรวจทรัพยำกรชีวภำพภำยในชุมชนที่กลุ่มโครงงำนของ ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจะต้องระบุสถำนที่สำคัญภำยในชุมชน ตำแหน่งที่ตั้งของทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจพบใน ชุมชน รูปภำพและรำยละเอียดคร่ำวๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพยำกรชีวภำพที่สำรวจพบในชุมชน โดยกลุ่มนักเรียน สำมำรถออกแบบลักษณะของแผนที่ (BIO MAP) ได้อย่ำงอิสระ เช่น กำรวำดภำพแล้วถ่ำยรูปเป็นไฟล์ คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทำรำยงำนหรือจัดทำเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมต่ำงๆ เป็นต้น ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนแบบฝึกหัดเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพอีกทั้งสำมำรถ นำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสมจำกกำรสำรวจและเก็บข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน กำร นำข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพที่ได้จำกกำรสำรวจในชุมชนมำจัดทำฐำนข้อมูลบันทึกลงใน www.biogang.net
  • 21. และประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจำกกำรกำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนในฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map) 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยำ 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 9.2 คู่มือครูชีววิทยำ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 9.3 ห้องสมุดเพลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องคอมพิวเตอร์เพื่อกำรสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.6 เว็ปไซต์เพื่อกำรศึกษำทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน www.biogang.net 9.7 เว๊ปไซต์เพื่อกำรสืบค้นข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน เช่น www.google.com 9.10 แบบบันทึกเค้ำโครงงำนชีววิทยำกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน 9.11 แบบบันทึกรำยงำนโครงงำนกำรเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชน 9.12 ใบงำน เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและทรัพยำกรธรรมชำติ 9.13 ใบงำน Mind Map สรุปบทเรียน เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและ ทรัพยำกรธรรมชำติ 9.14 สไลด์ประกอบกำรเรียนรู้ เรื่อง ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและทรัพยำกรธรรมชำติ 9.15 สไลด์ประกอบกำรเรียนรู้ เรื่อง กำรรวบรวมข้อมูลทรัพยำกรชีวภำพในชุมชนใน ฐำนข้อมูล www.biogang.net และกำรจัดทำแผนที่ทรัพยำกรชีวภำพของชุมชน (Bio Map)
  • 23. แบบฟอร์ม เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงงำนชีววิทยำ................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) รำยชื่อสมำชิกกลุ่มโครงงำนชีววิทยำ ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 2. ………………………………………………………………………………………..………... 3. ………………………………………………………………………………………..………... 4. ……………………………………………………………………………………..…………... (ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) ครูที่ปรึกษำโครงงำน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศำสตร์ ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2557 โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 24. 1. ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน (เพราะเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้หรือคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. วัตถุประสงค์ (ระบุเป็นข้อๆว่าทาโครงงานนี้เพื่ออะไร) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. สมมติฐำนของกำรศึกษำ (คาดคะเนคาตอบที่จะได้จากโครงงานจากคาถาม/ความสงสัยใคร่รู้) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกโครงงำน (นักเรียนคาดว่าจะได้รับประโยชน์อะไรบ้าง เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 5. ทฤษฎีหลักกำรหรือเนื้อหำที่เกี่ยวข้องกับกำรทำโครงงำน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 25. 6. วิธีดำเนินงำน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ (เขียนเป็นข้อๆ) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า (เขียนเป็นข้อๆเริ่มตั้งแต่การรวมกลุ่มจนถึงจัดทา E-book นาเสนอโครงงาน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - แผนปฏิบัติงาน (ระยะเวลาในการดาเนินโครงงาน เขียนเป็นสัปดาห์หรือระบุวันที่ก็ได้) ขั้นตอนในการทา โครงงาน ระยะเวลาในการทาโครงงาน 7. เอกสำรอ้ำงอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่ำงๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็นข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
  • 26. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net ชื่อโครงงงำนชีววิทยำ................................................................................. (ระบุชื่อชุมชนที่สารวจ) รำยชื่อสมำชิกกลุ่มโครงงำนชีววิทยำ ชื่อกลุ่ม คือ ..................................... 1. …………….……………………………………………………….…………………..………. 2. ………………………………………………………………………………………..………... 3. ………………………………………………………………………………………..………... 4. ……………………………………………………………………………………..…………... (ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่) ครูที่ปรึกษำโครงงำน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศำสตร์ ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2557 โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 28. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ............................................................
  • 30. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ............................................................ หมายเหตุ ให้นักเรียนดาเนินการจัดทาหลักฐานการบันทึกฐานข้อมูลลงในเว็ปไซต์ www.biogang.net ตาม ตัวอย่างรูปแบบที่กาหนดให้ โดยจะต้องมีทรัพยากรชีวภาพที่ทาการสารวจในชุมชนอย่างน้อย 10 ชนิด และ ทุกคนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการบันทึกข้อมูลการสารวจลงในบล็อกของตนเองที่สมัครเป็นสมาชิกของเว็ป ไซต์ และการบันทึกภาพถ่ายจานวน 4 ภาพ ได้แก่ 1) ภาพทรัพยากรชีวภาพโดยรวม 2) ภาพทรัพยากรชีวภาพ เน้นจุดเด่น 3) ภาพทรัพยากรชีวภาพร่วมกับผู้เก็บข้อมูลล และ 4) ภาพทรัพยากรธรรมชาติกับสถานที่ที่ค้นพบ
  • 31. ตัวอย่าง BIO MAP ชุมชนที่สารวจความหลากหลาย ใช้ Word หรือ Power Point หรือการวาดภาพแล้ว ถ่ายรูปเป็นไฟล์ตอมพิวเตอร์ก็ได้แล้วแต่ความถนัดของแต่ละกลุ่มโครงงาน หมายเหตุ : ให้นักเรืยนปรับแก้ได้ตามความเหมาะสมตามรูปแบบโครงงานการสารวจและจัดทาข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพของแต่ละชุมชน
  • 32. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดำเนินกำรสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบำงครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมำก ที่ ชื่อ-สกุล กำรตอบคำถำม กำรร่วมกิจกรรม กำรแสดงควำมคิดเห็น กำรซักถำม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 33. แบบประเมินการทางานกลุ่ม วิชาชีววิทยา เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นกำรประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ควำมรับผิดชอบของ แต่ละคน กำรมีส่วนร่วมในกำร ทำงำน ควำมคิดสร้ำงสรรค์ ผลงำน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมำกเป็นแบบอย่ำงให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ำกันทั่วไปเป็นไปตำมที่กำหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ำกว่ำมำตรฐำนทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมำะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ควำมร่วมมือ