SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
       เรื่อง การถ่ ายโอนพลังงานความร้ อน โดยวิธีการพาความร้ อน




              ชุด “คู่มอประยุกต์ใช้ โทรทัศน์ ครูและแรงบันดาลใจจากโทรทัศน์ ครู
                       ื
ตอนที่ 22 แรงดลบันดาลใจจากโทรทัศน์ ครู : พ่อมดกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ สอนเรื่องสถานะของสาร




                                   จัดทาโดย
                             นางสาวปารณีย์ แก้ วเซ่ ง

              รหัสนักศึกษา 5111134068 กลุ่มเรียน 5111134.02

                     คณะครุศาสตร์ หลักสู ตรวิทยาศาสตร์
                      มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
                                                             ิ
                              หน่ วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง พลังงานความร้ อน
                หน่ วยย่อยที่ 2 เรื่อง การถ่ ายโอนพลังงานความร้ อน เวลา 3 ชั่วโมง
                      หน่ วยย่อยที่ 2.2 เรื่อง การพาความร้ อน เวลา 1 ชั่วโมง

มาตรฐาน การเรียนรู้ที่ ว 5 .1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรู ป
พลังงานปฏิสมพันธ์ ระหว่างสารกับพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการ
           ั
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1. สาระสาคัญ
            การถ่ายโอนความร้อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้อนระหว่าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่ต่างกันคือ
จะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิต่า ด้วยวิธีการพาความร้อน เป็ นการถ่า ยโอน
ความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเคลื่อนที่ผานวัตถุที่เป็ นตัวกลางซึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยกัน ตัวกลางที่พา
                                                   ่
ความร้อนคือ ของเหลวและแก๊ส เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัวและลอยตัวสูงขึ้น
2. ตัวชี้วด สังเกตและอธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีการพาความและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
          ั
3. สาระการเรียนรู้
  - การพาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย
  - การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่ องการถ่ายโอนความร้อนไป
       ใช้ประโยชน์
 4. จุดประสงค์การเรียนรู้
            4.1 ด้ านความรู้
                     1. รู้และเข้าใจสมบัติการพาความร้อนของวัตถุได้
                     2. อธิบายเกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนของวัตถุได้
                     3. ยกตัวอย่างการนาสมบัติการพาความร้อนไปใช้ประโยชน์ได้
            4.2 ด้ านทักษะกระบวนการ
                     1. สังเกตการเคลื่อนที่ของสารละลายเกร็ ดด่างทับทิมได้
                     2. สื่อสารผลการศึกษาเรื่ องการพาความร้อนให้เข้าใจด้วยวิธีการต่างๆได้
            4.3ด้ านคุณลักษณะที่พงประสงค์
                                    ึ
                     1. ความสนใจในการทากิจกรรม
                     2. ความร่ วมมือในการทากิจกรรม
                     3. ความตั้งใจในการทากิจกรรม
                     4. การส่งงานตามเวลาที่กาหนด
5. ภาระงาน/ชิ้นงาน/หลักฐาน

           ผลการเรี ยนรู้                               หลักฐาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน

    ความรู้ความเข้าใจ               - แบบฝึ กหัดหลังการทดลอง
                                    - ใบบันทึกกิจกรรม
                                    - แบบทดสอบ

    ทักษะกระบวนการ                  - รายงานผลการทดลองเรื่ องการพาความร้อน

    คุณลักษณะที่พึงประสงค์          - แบบสังเกตการณ์ทางานกลุ่ม



6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
       1. ขั้นสร้ างความสนใจ (Engagement) (10 นาที)
       ครู ทบทวนบทเรี ยนคาบที่ผานมา ในเรื่ องการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยวิธีการนาความร้อน
                                ่

         การถ่ายโอนความร้ อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้ อนระหว่ าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่ต่างกันคือ
จะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิตา ด้ วยวิธีการนาความร้ อน เป็ นการถ่ายโอน
                                                                  ่
ความร้ อนด้ วยการที่พลังงานความร้ อนเคลื่อนที่ผ่านวัตถุของแข็ง ที่เป็ นตัวกลางซึ่งอยู่กบที่ วัตถุที่มีสมบัติ
                                                                                            ั
เป็ นตัวนาความร้ อน คือวัตถุที่ความร้ อนผ่ านได้ ดี ส่ วนวัตถุท่ความร้ อนผ่ านได้ ไม่ ดีหรือไม่ สามารถผ่ านได้ จะ
                                                                ี
แสดงสมบัติเป็ นฉนวนความร้ อน

       โดยครู สร้างสถานการณ์จาลอง การต้มน้ าในหม้อที่จะมีฉนวน (ยาง) ไว้เพื่อจับ โดยจัดฉากให้มี
ลักษณะเป็ นห้องครัว
       แล้วใช้คาถามถามนักเรี ยน ดังนี้
       - เมื่อให้พลังงานความร้อนแก่วตถุ(หม้อ) หม้อจะร้อนหรื อไม่(ร้ อน)
                                        ั
       - เมื่อหม้อร้อนแล้วน้ าในหม้อร้อนจะหรื อไม่ (ร้ อน)
       - น้ าในหม้อร้อนได้อย่างไร (เนื่องด้วยคาถามกว้างเกินไป โดยจะใช้คาถามนาไปยังข้อสรุ ป)
        -         อะไรเป็ นตัวกลางในการนาความร้อนไปยังน้ า (หม้อ)
        -         วัตถุที่เป็ นตัวกลางเคลื่อนที่ไปกับความร้อนด้วยหรื อไม่ (ไม่)
ดังนั้นคาตอบในข้อนี้ตอบว่า หม้อเมื่อได้ รับความร้ อนแล้ว หม้อจะเป็ นตัวกลางในการนาความร้ อน
ไปยังนา นาจึงร้ อน โดยหม้อจะอยู่กับที่ไม่เคลื่อนที่กับความร้ อน
      ้ ้

        เข้ าสู่ บทเรียน การถ่ ายโอนพลังความร้ อนโดยวิธีการพาความร้ อน

                 ( โดยการแสดงในรูปแบบบทบาทสมมติเป็ น             แม่ มด )
       วันนีข้าจะพาพวกเจ้าไปยังดินแดนแห่ งเวทมนต์สามารถโบยบินและท่ องโลกกว้างไปทุกที่ไปทุกทาง
            ้
และจะเสกให้ พวกเจ้ากลายเป็ นคนแคระทั้ง 50 ฮาๆๆๆ (ครูเปลียนชุด)        ่
       1.1 ครู แสดงบทบาทสมมติ ครู เสกบอลลูนจาลองมา (โดยสร้างขึ้นมาเอง)
                ครูพูด         “พวกเจ้ าพร้ อมจะท่ องโลกกว้ างกับข้ ารึ ยง” (พร้ อมแล้ว)
                                                                              ั
                ครูพูด          พวกเจ้ ารู้ ไหม เจ้ าทั้งหลายจะไปกันยังไง ทาอย่างไรให้ บอลลูนของข้ า
                                 สามารถพาพวกเจ้ าลอยขึนไปบนอากาศได้ (โดยการจุดไฟด้ านล่ าง)
                                                                 ้
                ครูพูด          ถ้าพวกเจ้ าไม่ร้ ู ข้ าลองใช้ วิธีนีดูว่าจะทาได้ ไหม ข้ าจะเสกให้ ด้านล่างนี ้ ไฟ
                                                                    ้
                                 จะติดนะบัดนาว (ครู จุดไฟด้านล่างของบอลลูน ) พวกเจ้ าลองทายสิว่า
                                 บอลลูนจะลอยได้ ไหม เพราะเหตุใดบอลลูนถึงลอยได้
                (ถ้ านักเรียนตอบไม่ได้ )
                 ครูพูดหรือนักเรียน           เพราะว่ าอากาศเมื่อได้ รับความร้ อน มันก็จะถ่ายโอนความร้ อน
                                               อากาศก็เกิดการขยายตัว จึงลอยตัวสูงขึน เมื่อเราจุดไฟด้ านล่าง
                                                                                          ้
                                               บอลลูน อากาศก็จะพาบอลลูนลอยตัวขึนได้ ยงไงละ ฮาๆๆๆๆ
                                                                                            ้  ั
                                              ข้ าเนียฉลาดจริ งๆ
                                                       ้
                (โดยครู ใช้ป้ายนิทรรศการมาเป็ นสื่อประกอบการอธิบาย)

       1.2 ครู เชื่อมโยงกิจกรรมที่ยวยุให้นกเรี ยนดูกบกิจกรรมเรื่ องการพาความร้อน โดยให้นกเรี ยนศึกษา
                                       ั่    ั       ั                                         ั
ใบกิจกรรมร่ วมกันกับครู
                 ครูพูด           “ ก่ อนที่เราจะขึนไปท่ องโลกกว้ างกัน ข้ าอยากรู้ ว่ าจากหลักการที่ข้า
                                                   ้
                 อธิบายผ่านมาแล้วนั้น นอกจากตัวกลางที่เป็ นอากาศแล้ว ตัวกลางที่เป็ นของเหลวมันจะมี
                 การเคลื่อนที่เหมือนกันหรื อไม่ อย่างนั้น พวกเจ้ าลองมาทาการทดลองพร้ อมกับข้ า ”
                 ( ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง การพาความร้อน)โดยอธิบายคาชี้แจง จุดประสงค์การทดลอง
       1.3 ครู และนักเรี ยนร่ วมกันระบุขอระมัดระวังในเรื่ องความปลอดภัยด้วยในขณะทาการทดลอง
                                           ้
                 (ครู เสกอุปกรณ์การทดลองออกมาทีละชิ้น พร้อมทั้งอธิบายการใช้และข้อระมัดระวังของ
                 อุปกรณ์น้ นๆ)
                            ั
2. ขั้นสารวจและคันหา (Exploration) 10 นาที
             2.1 นักเรี ยนทากิจกรรมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลตามที่สมาชิกในกลุ่มร่ วมกันวางแผน
             2.2 ครู คอยดูแลการทากิจกรรมและให้คาแนะนา ช่วยเหลือในกรณี ที่นกเรี ยนยังทากิจกรรม
                                                                               ั
             ไม่ถกต้องหรื อมีความเข้าใจที่ไม่ถกต้อง
                 ู                            ู
             2.3 นักเรี ยนรวบรวมข้อมูลและผลการทดลอง

     3. ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุป (Explanation) 10 นาที
              3.1 นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรี ยน
              3.2 ครู และนักเรี ยนร่ วมอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการทดลองร่ วมกัน และในกรณี ที่มีขอมูล้
              แตกต่างไปจากกลุ่มอื่นมาก ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเพื่อหาสาเหตุของความ
              แตกต่างของข้อมูลนั้น
              3.3 ครู ใช้คาถามเพื่อนาไปสู่การอภิปรายและสรุ ป โดยใช้คาถามดังนี้
ครูพูด                   เมื่อให้ความร้อนแก่น้ าในบีกเกอร์ พวกเจ้าสังเกตเห็นสีชมพูของด่างทับทิมมีการ
                       เคลื่อนที่อย่างไร
นักเรี ยนพูด             เคลื่อนที่ไปด้านบนของบีกเกอร์และวนลงมาด้านล่างบีกเกอร์จนเป็ นสีชมพูทวบีก     ั่
                       เกอร์
ครูพูด                 สารที่พาพลังงานความร้อนไปคือสารใด ชื่อทางเคมีคืออะไร พวกจ้ารู้หรื อไม่
นักเรี ยนพูด           สารละลายเกล็ดด่างทับทิม ( โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต )
ครูพูด                 พวกเจ้ารู้หรื อไม่ เพราะเหตุใดสารละลายเกล็ดด่างทับทิมจึงเคลื่อนที่ข้ ึนสู่ดานบน
                                                                                                    ้
                       ของบีกเกอร์ พวกเจ้าสังเกตหรื อไม่ว่า จากการทดลองการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่าง
                       ทับทิม กับการจุดไฟของบอลลูน มีลกษณะการเคลื่อนที่เหมือนกัน นักเรี ยนก็จะ
                                                            ั
                       สามารถอธิบายหลักการได้
นักเรี ยนพูด           ตอบ เมื่อสารละลายเกล็ดด่ างทับทิมได้ รับความร้ อนก็จะมีการถ่ายโอนความร้ อน
                       นาร้ อนก็เกิดการขยายตัว จึงเคลื่อนตัวสูงขึน
                          ้                                       ้
ครู พูด                “ถูกต้ องแล้วพวกเจ้ าเก่ งมาก แล้วอะไรเป็ นตัวกลางในการพาความร้ อนล่ะ
นักเรี ยนพูด           ของเหลว ในที่น้ ีคือสารละลายเกล็ดด่างทับทิม
ครู พดู                แล้วทาไมต้องใส่เกล็ดด่างทับทิมลงไปในน้ าด้วยล่ะ มันไม่เห็นเกี่ยวข้องอะไรกัน
                       เลย น้ าก็เป็ นของเหลวอยูแล้วนิ ?
                                                  ่
นักเรี ยนพูด           เพราะน้ าจะไม่สามารถสังเกตเห็นการเคลื่อนที่ได้ ดังนั้นเกล็ดด่างทับทิมช่วยให้
                       เห็นการเคลื่อนที่ได้ง่ายขึ้น
ครู พด
         ู                แต่ขาสงสัยว่าถ้าวัตถุที่เป็ นตัวกลางนั้นเป็ นของแข็ง นั้นจะเป็ นอย่างไร นักเรี ยนก็
                                ้
                          จะตอบได้ว่า
    นักเรี ยนพูด          ตัวกลางของวัตถุที่เป็ นของแข็ง จะเป็ นการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยวิธีการ
                          นาความร้อนเท่านั้นและตัวกลางนั้นจะอยูกบที่  ่ ั
    ครู พดู               อืม พวกเจ้าเก่งมาก
    ครู พด  ู             ดังนั้น การถ่ายโอนพลังงานความร้ อนโดยวิธีการพาความร้ อน จะใช้
                          ตัวกลางสถานะใดได้ บ้างและมีการเคลื่อนที่อย่างไร
    นักเรี ยนพูด          ของเหลวและแก๊ส โดยตัวกลางจะเคลื่อนที่ไปกับความร้อนด้วย
                 3.4 ครู สรุ ปความรู้เรื่ อง การถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีการพาความร้อน ให้นกเรี ยนมีความ
                                                                                               ั
         เข้าใจตรงกันอีกครั้ง ดังนี้

             “ การถ่ายโอนความร้อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้อนระหว่าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่
        ต่างกันคือจะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิต่า ด้วยวิธีการพาความร้อน
        เป็ นการถ่ายโอนความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเคลื่อนที่ผานวัตถุที่เป็ นตัวกลางซึ่งเคลื่อนที่
                                                                        ่
        ไปด้วยกัน ตัวกลางที่พาความร้อนคือ ของเหลวและแก๊ ส เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัว
        และลอยตัวสูงขึ้น แก๊สเป็ นตัวกลางที่มีสมบัติในการพาความร้อนได้ดีที่สุด

          4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 10 นาที
                   ครู นาเสนอการนาความรู้เรื่ องการนาความรู้และหลักการของการพาความร้อนของวัตถุไป
          ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้นกเรี ยนอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
                                                    ั
          เช่น อธิบายการเกิดลมบกและลมทะเล
ครูพูด “เมื่อพวกเราทาการทดลองเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ว อย่างนั้นถึงเวลาที่เราจะได้ ไปเที่ยวกันแล้ว” ครู ก็
เสกให้(นักเรี ยนขึ้นไปบนท้องฟ้ าโดยการสมมติ ระหว่างนั้นครู ก็บอกว่าตอนนี้เราใกล้จะถึงทะเลแล้ว ครู เอา
ป้ ายนิทรรศการเกี่ยวกับลมบกลมทะเลมาประกอบ แล้วอธิบายให้นกเรี ยนฟัง )      ั
          โดยถามนักเรี ยนว่า
 ครูพูด “พวกเจ้ าเคยได้ ยิน ลมบก ลมทะเล ไหม ถ้าไม่เคยวันนีเ้ ราจะมารู จักกัน
เจ้ าทายสิว่า ลมบกเกิดขึนตอนกลางวันหรื อกลางคืน (กลางคืน) ลมทะเลล่ะ (กลางวัน) ”
                          ้
ตรงนี้นกเรี ยนอาจตอบไม่ได้ ครู ก็จะบอกนักเรี ยนไปว่า
        ั
ครูพูด “ไม่เป็ นไรถ้าพวกเจ้ ายังมัวไม่ร้ ู ข้ าจะบอกเจ้ าให้ ร้ ู ลมบกเกิดตอนกลางคืน ส่ วนลมทะเลเกิดตอน
                                  ่
กลางวัน ลมบกเกิดตอนกลางคืนได้ อย่างไรนั้นเรามาดูกัน”
ครูอธิบาย เนื่องจากพืนดินและพืนนาดูดและคายความร้ อนได้ แตกต่ างกัน ตอนกลางคืนพืนดินจะคายความ
                        ้        ้ ้                                                   ้
ร้ อนได้ ดีกว่ าพืนนา ดังนั้นตอนกลางคืนพืนนาจะมีความร้ อนและมีอุณหภูมิมากกว่ าพืนดิน เมื่อพืนนามีความ
                  ้ ้                      ้ ้                                    ้          ้ ้
ร้ อนมากกว่ ามันก็จะเกิดการถ่ายโอนความร้ อน อากาศเกิดการขยายตัว อากาศบริ เวณนีมีความหนาแน่ นน้ อย
                                                                                    ้
ก็จะเคลื่อนที่ลอยตัวสูงขึน และเมื่อพืนดินมีอุณหภูมิที่ตากว่ าซึ่งมีความหนาแน่ นมากก็จะเคลื่อนที่ตาๆ มา
                            ้        ้                 ่                                         ่
แทนที่ จึงเกิดลมบกพัดเข้ าสู่ทะเล จึงเรี ยกว่ า ลมบก

เป็ นไงบ้ างพวกเจ้าพอจะเข้ าใจไหม นั้นพวกเจ้าลองบอกสิว่า ลมทะเล เกิดได้ อย่างไร
ตอนกลางวันพืนดินจะดูดความร้ อนได้ ดีกว่ าพืนนา ดังนั้นตอนกลางวันพืนดินจะมีความร้ อนและมีอุณหภูมิ
                ้                           ้ ้                       ้
มากกว่ าพืนนา เมื่อพืนดินมีความร้ อนมากกว่ ามันก็จะเกิดการถ่ายโอนความร้ อน อากาศเกิดการขยายตัว
            ้ ้      ้
อากาศบริ เวณนีมีความหนาแน่ นน้ อยก็จะเคลื่อนที่ลอยตัวสูงขึน และเมื่อพืนนามีอุณหภูมิที่ตากว่ าซึ่งมีความ
                  ้                                       ้             ้ ้            ่
หนาแน่ นมากก็จะเคลือนที่ตาๆ มาแทนที่ จึงเกิดลมทะเลพัดเข้ าสู่บกจึงเรี ยกว่ า ลมทะเล
                       ่    ่

       ครูพด “พวกเจ้ าคงจะเข้ าใจแล้วสินะ แล้วพวกเจ้ ารู หรื อไม่ว่า ชาวประมงเมื่อก่ อนที่ไม่มีเครื่ องยนต์
             ู
ในการเดินเรื อ พวกเขาก็จะใช้ วิธีนีในการออกหาปลาตอนกลางคืนและจะกลับเข้ าฝั งอีกครั้ งในตอน
                                   ้
กลางวัน”

          ครูพูด “อย่างนั้นข้ าคิดว่ าเราน่ าจะกลับกันได้ แล้ว อ้ าวแล้วจะกลับลงไปได้ อย่างไรเนีย (ช่ วยด้ วย
                                                                                                  ้
ช่ วยด้ วย) ข้ าลืมไปว่ าข้ าคือแม่มด”
          งั้นข้ าขอเสกให้ ไฟที่ติดใต้ บอลลูนค่ อยๆดับลง พวกเจ้ ารู้ ไหมทาไมข้ าถึงทาวิธีนี้ ก็เพราะว่ าเมื่อ
อากาศบริ เวณใต้ บอลลูนไม่ได้ รับความร้ อน มันก็จะไม่ลอยตัวขึนสูงยังไงล่ะ ฮาๆๆ ข้ าเนียสวยแล้วยังเก่ งอีก
                                                                     ้                       ้
อิอิอิ
          ครูพูด “ เพื่อให้ พวกเจ้ าได้ จามันง่ ายขึน ข้ ามีเพลงมาร้ องและท่ าประกอบ มันน่ าสนใจใช่ ไหมล่ะ
                                                    ้
อิอิอ” ( ครูและนักเรียนร่ วมกันร้ องและทาท่ าประกอบเพลงลมบกลมทะเล )
                                                เพลง ลมบก ลมทะเล
                                    ลมบก ลมทะเล อากาศถ่ายเท ผลัดกัน ผลัดกัน
                                 ลมทะเล พัดตอนกลางวัน ลมทะเล พัดตอนกลางวัน
                                         ส่วนลมบกนั้น พัดตอนกลางคืน
                        แต่ แล แต้ แล ตะ แล แล่ ตะแล่ แล่ ตะแล แล ครื น ครื น ครื น ครื น
5. ขั้นการประเมิน (Evaluation) 10 นาที
         ครูพูด “หมดเวลาของข้ าแล้วอย่างนั้นข้ าขอกลับมาเป็ นมนุษย์นะบัดนาว โอมเพียง !”
                                                                                  ้
ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบ พร้อมทั้งส่งแบบฝึ กหัดท้ายการทดลอง ใบบันทึกกิจกรรม
    ั                                                                                รายงานผลการ
ทดลองเรื่ องการพาความร้อนของกลุ่ม
                  หลักฐานในการประเมิน
                            แบบฝึ กหัดท้ายการทดลอง
                            ใบบันทึกกิจกรรม
                            แบบทดสอบ
                            แบบสังเกตการณ์ทางานกลุ่ม
                            รายงานผลการทดลองเรื่ องการพาความร้อน

7. สื่อการเรียนรู้
         1. หนังสือเรี ยนสาระวิทยาศาสตร์ช้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
                                           ั
         2. ภาพตัวอย่างเกี่ยวกับการพาความร้อน
         3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
         4. ใบกิจกรรมที่ เรื่ องการพาความร้อน
         5. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่ องการพาความร้อน
         6. เพลงลมบก ลมทะเล (ท่าประกอบ)
         7. ป้ ายนิทรรศการลมบก ลมทะเล
         8. อุปกรณ์ประกอบการแสดง

8. แหล่งการเรียนรู้
        1. ห้องสมุดโรงเรี ยน
        2. อินเทอร์เน็ต

9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล
       9.1 ผูวดผลและประเมินผล
             ้ั
 -              ผูเ้ รี ยนและครู ผสอน
                                  ู้
       9.2 การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ตองการวัด
             ้                วิธีการวัดผล      เครื่ องมือวัดผล   เกณฑ์การประเมินผล
1. ความรู้และความ       1.สังเกตการตอบคาถาม 1. คาถามของครู         1. ตอบคาถามถูก ถือว่า
เข้าใจเนื้อหา           ในห้องเรี ยน                               ผ่าน
                        2. การทาใบกิจกรรม   2. ใบกิจกรรม           2. ตอบใบกิจกรรม
                                                                   ครบถ้วน และถูกต้อง
                                                                   80 % ถือว่าผ่าน
2. ทักษะกระบวนการ       1. สังเกตจากการทา      พฤติกรรมในการทา     ได้คะแนน 80 %
                        กิจกรรม                กิจกรรม             ผ่าน

3. คุณลักษณะที่พึง    1.การสังเกตคุณลักษณะ คุณลักษณะที่พึง         แสดงพฤติกรรม
ประสงค์               ที่พึงประสงค์        ประสงค์ของผูเ้ รี ยน    80 % ผ่าน
   -ความสนใจในการ                          รายบุคคล
ทากิจกรรม
   -ความร่ วมมือในการ
ทากิจกรรม
   -ความตั้งใจในการทา
กิจกรรม
    -การส่งงานตาม
เวลาที่กาหนด
   -ยอมรับความคิดเห็น
ของคนอื่น
บันทึกหลังการสอน

   เรื่ อง......................................................................... สอนเมื่อ............................................

   1. ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

   2. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
   3. แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
   4.ข้ อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

                                                                               ลงชื่อ.......................................................ผูสอน
                                                                                                                                              ้
                                                                                            ( นางสาวปารณี ย ์ แก้วเซ่ง )

                                                                              ลงชื่อ..................................................ครู พี่เลี้ยง
                                                                                            ( นางนิลวรรณ กลีบแก้ว )
ความคิดเห็น / ข้ อเสนอแนะ ของครูนิเทศประจาโรงเรียน
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                               ลงชื่อ................................................ผูตรวจ
                                                                                        ้
                                 (....................................................)
                            ตาแหน่ง.............................................................

ความคิดเห็น / ข้ อเสนอแนะ ของผู้บริหาร / ผู้ตรวจ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                               ลงชื่อ................................................ผูตรวจ
                                                                                        ้
                                   (....................................................)
                            ตาแหน่ง.............................................................
ใบกิจกรรมที่ 2
                                             เรื่อง การพาความร้ อน


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทดลองเรื่ อง การพาความร้อนให้เข้าใจ ร่ วมอภิปรายก่อนทา
             ั
กิจกรรมแล้วทาการทดลองตามวิธีการทดลอง บันทึกผลการทดลอง ร่ วมกันอภิปรายในกลุ่มและตอบคาถาม
หลังกิจกรรม

จุดประสงค์การทดลอง
           1. ศึกษาและทาการทดลองเกี่ยวกับการพาความร้อนของน้ าได้
           2. ระบุเกี่ยวกับลักษณะการพาความร้อนของน้ าได้

วัสดุอุปกรณ์

                             รายการ                                  จานวนต่อกลุ่ม

               1. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิตร                               1 ใบ
               2. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์                                    1 ชุด
               3. น้ า                                               150 มิลลิลิตร
               4. เกล็ดด่างทับทิม                                       1 เกล็ด


วิธีการทดลอง
     1. นาบีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร ใส่น้ าปริ มาตร 150 มิลลิลิตร
     2. ใส่เกล็ดด่างทับทิมไป 1 เกล็ด
     3. จุดตะเกียแอลกอฮอล์เพื่อให้ความร้อนตรงบริ เวณที่มีเกล็ดด่าง
        ทับทิม ดังรู ป
     4. สังเกตการเคลื่อนที่ของสีจากเกล็ดด่างทับทิม บันทึกผลการ
        ทดลองที่สงเกตได้
                   ั
ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2
                                                                   เรื่อง การพาความร้ อน


                                                                                    วันที่ .................เดือน......................พ.ศ.....................
กลุ่มที่.....................ชั้น ม..............ประธานกลุ่ม.................................เลขานุการ.............................................
ผูร่วมงาน
  ้
           1.................................................................................................
           2.................................................................................................
           3.................................................................................................
           4.................................................................................................
           5.................................................................................................
จุดประสงค์การทดลอง
           1………………………………………………………………
           2………………………………………………………………
ปัญหาในการทดลอง.........................................................................................................................................
การตั้งสมมติฐานในการทดลอง........................................................................................................................

ตารางบันทึกผลการทดลอง



      การเคลือนที่ของเกล็ดด่ างทับทิม
             ่                                                                                        บันทึกผลการเคลือนที่
                                                                                                                     ่

                  ก่อนการเคลื่อนที่

                  ขณะการเคลื่อนที่

                   หลังการเคลื่อนที่

บันทึกผลการทดลอง
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
คาถามหลังการทดลอง
      1. นักเรี ยนสังเกตเห็นสีชมพูของด่างทับทิมมีการเคลื่อนที่อย่างไร
      .............................................................................................................................................................
      .............................................................................................................................................................
      2. สารที่พาพลังงานความร้อนไปคือสารใด
      .............................................................................................................................................................
      .............................................................................................................................................................
      3. สารละลายในบีกเกอร์จะเป็ นสีเดียวกันทัวบีกเกอร์ได้หรื อไม่ อย่างไรเพื่อช่วยให้ระบายความ
                                                                             ่
             ร้อนออกจากตัวบ้าน
      .............................................................................................................................................................
      .............................................................................................................................................................
      4. ประเทศไทยมีอากาศร้อนเป็ นส่วนใหญ่ นักเรี ยนคิดว่าควรสร้างบ้านให้มีลกษณะ อย่างไร                                          ั
      .............................................................................................................................................................
      .............................................................................................................................................................
      .............................................................................................................................................................

      สรุปผลการทดลอง
      ....................................................................................................................................................................
      ....................................................................................................................................................................
      ....................................................................................................................................................................
      ....................................................................................................................................................................
      .................................................................................................................................
ปายนิเทศแสดงการเกิด ลมบก ลมทะเล
 ้




            ลมบก




            ลมทะเล
ภาพบอลลูนแสดงให้ เห็นการจุดไฟเพือการลอยตัว
                                ่
แบบทดสอบ เรื่องการพาความร้ อน

1. การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยวิธีการพาความร้อน หมายถึง
   .............................................................................................................................................................
   .............................................................................................................................................................
   .............................................................................................................................................................
2. จากรู ปที่ 1 เป็ นบ้านคุณเฟิ รน์และรู ปที่ 2 เป็ นบ้านคุณเคน บ้านหลังใดเหมาะสมกับสภาพอากาศ
   ประเทศไทย เพราะเหตุใด

                                      




             รู ปที่ 1                                        รู ปที่ 2
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
3. การประกอบอาหารตามร้านอาหาร จะทาปล่องครัวไว้เหมือเตาไฟเพืออะไร
                                                            ่
   ………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………….
4. ในการก่อกองไฟจะสังเกตเห็นควันไฟลอยสูงขึ้นสู่บรรยากาศด้านบนได้ เพราะเหตุใด
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
5. จากรู ป จงอธิบายหลักการพาความร้อน



                                                              ………………………………………………………………..
                                                              ………………………………………………………………..
                                                              ………………………………………………………………..
                                                              ………………………………………………………………..

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิkrupornpana55
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำkrupornpana55
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...riyanma
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์ (20)

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เรื่อง การถ่ ายโอนพลังงานความร้ อน โดยวิธีการพาความร้ อน ชุด “คู่มอประยุกต์ใช้ โทรทัศน์ ครูและแรงบันดาลใจจากโทรทัศน์ ครู ื ตอนที่ 22 แรงดลบันดาลใจจากโทรทัศน์ ครู : พ่อมดกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ สอนเรื่องสถานะของสาร จัดทาโดย นางสาวปารณีย์ แก้ วเซ่ ง รหัสนักศึกษา 5111134068 กลุ่มเรียน 5111134.02 คณะครุศาสตร์ หลักสู ตรวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • 2.
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ิ หน่ วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง พลังงานความร้ อน หน่ วยย่อยที่ 2 เรื่อง การถ่ ายโอนพลังงานความร้ อน เวลา 3 ชั่วโมง หน่ วยย่อยที่ 2.2 เรื่อง การพาความร้ อน เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐาน การเรียนรู้ที่ ว 5 .1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรู ป พลังงานปฏิสมพันธ์ ระหว่างสารกับพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการ ั สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ การถ่ายโอนความร้อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้อนระหว่าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่ต่างกันคือ จะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิต่า ด้วยวิธีการพาความร้อน เป็ นการถ่า ยโอน ความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเคลื่อนที่ผานวัตถุที่เป็ นตัวกลางซึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยกัน ตัวกลางที่พา ่ ความร้อนคือ ของเหลวและแก๊ส เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัวและลอยตัวสูงขึ้น 2. ตัวชี้วด สังเกตและอธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีการพาความและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ั 3. สาระการเรียนรู้ - การพาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย - การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่ องการถ่ายโอนความร้อนไป ใช้ประโยชน์ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ด้ านความรู้ 1. รู้และเข้าใจสมบัติการพาความร้อนของวัตถุได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนของวัตถุได้ 3. ยกตัวอย่างการนาสมบัติการพาความร้อนไปใช้ประโยชน์ได้ 4.2 ด้ านทักษะกระบวนการ 1. สังเกตการเคลื่อนที่ของสารละลายเกร็ ดด่างทับทิมได้ 2. สื่อสารผลการศึกษาเรื่ องการพาความร้อนให้เข้าใจด้วยวิธีการต่างๆได้ 4.3ด้ านคุณลักษณะที่พงประสงค์ ึ 1. ความสนใจในการทากิจกรรม 2. ความร่ วมมือในการทากิจกรรม 3. ความตั้งใจในการทากิจกรรม 4. การส่งงานตามเวลาที่กาหนด
  • 4. 5. ภาระงาน/ชิ้นงาน/หลักฐาน ผลการเรี ยนรู้ หลักฐาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน ความรู้ความเข้าใจ - แบบฝึ กหัดหลังการทดลอง - ใบบันทึกกิจกรรม - แบบทดสอบ ทักษะกระบวนการ - รายงานผลการทดลองเรื่ องการพาความร้อน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - แบบสังเกตการณ์ทางานกลุ่ม 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นสร้ างความสนใจ (Engagement) (10 นาที) ครู ทบทวนบทเรี ยนคาบที่ผานมา ในเรื่ องการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยวิธีการนาความร้อน ่ การถ่ายโอนความร้ อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้ อนระหว่ าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่ต่างกันคือ จะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิตา ด้ วยวิธีการนาความร้ อน เป็ นการถ่ายโอน ่ ความร้ อนด้ วยการที่พลังงานความร้ อนเคลื่อนที่ผ่านวัตถุของแข็ง ที่เป็ นตัวกลางซึ่งอยู่กบที่ วัตถุที่มีสมบัติ ั เป็ นตัวนาความร้ อน คือวัตถุที่ความร้ อนผ่ านได้ ดี ส่ วนวัตถุท่ความร้ อนผ่ านได้ ไม่ ดีหรือไม่ สามารถผ่ านได้ จะ ี แสดงสมบัติเป็ นฉนวนความร้ อน โดยครู สร้างสถานการณ์จาลอง การต้มน้ าในหม้อที่จะมีฉนวน (ยาง) ไว้เพื่อจับ โดยจัดฉากให้มี ลักษณะเป็ นห้องครัว แล้วใช้คาถามถามนักเรี ยน ดังนี้ - เมื่อให้พลังงานความร้อนแก่วตถุ(หม้อ) หม้อจะร้อนหรื อไม่(ร้ อน) ั - เมื่อหม้อร้อนแล้วน้ าในหม้อร้อนจะหรื อไม่ (ร้ อน) - น้ าในหม้อร้อนได้อย่างไร (เนื่องด้วยคาถามกว้างเกินไป โดยจะใช้คาถามนาไปยังข้อสรุ ป) - อะไรเป็ นตัวกลางในการนาความร้อนไปยังน้ า (หม้อ) - วัตถุที่เป็ นตัวกลางเคลื่อนที่ไปกับความร้อนด้วยหรื อไม่ (ไม่)
  • 5. ดังนั้นคาตอบในข้อนี้ตอบว่า หม้อเมื่อได้ รับความร้ อนแล้ว หม้อจะเป็ นตัวกลางในการนาความร้ อน ไปยังนา นาจึงร้ อน โดยหม้อจะอยู่กับที่ไม่เคลื่อนที่กับความร้ อน ้ ้ เข้ าสู่ บทเรียน การถ่ ายโอนพลังความร้ อนโดยวิธีการพาความร้ อน ( โดยการแสดงในรูปแบบบทบาทสมมติเป็ น แม่ มด ) วันนีข้าจะพาพวกเจ้าไปยังดินแดนแห่ งเวทมนต์สามารถโบยบินและท่ องโลกกว้างไปทุกที่ไปทุกทาง ้ และจะเสกให้ พวกเจ้ากลายเป็ นคนแคระทั้ง 50 ฮาๆๆๆ (ครูเปลียนชุด) ่ 1.1 ครู แสดงบทบาทสมมติ ครู เสกบอลลูนจาลองมา (โดยสร้างขึ้นมาเอง) ครูพูด “พวกเจ้ าพร้ อมจะท่ องโลกกว้ างกับข้ ารึ ยง” (พร้ อมแล้ว) ั ครูพูด พวกเจ้ ารู้ ไหม เจ้ าทั้งหลายจะไปกันยังไง ทาอย่างไรให้ บอลลูนของข้ า สามารถพาพวกเจ้ าลอยขึนไปบนอากาศได้ (โดยการจุดไฟด้ านล่ าง) ้ ครูพูด ถ้าพวกเจ้ าไม่ร้ ู ข้ าลองใช้ วิธีนีดูว่าจะทาได้ ไหม ข้ าจะเสกให้ ด้านล่างนี ้ ไฟ ้ จะติดนะบัดนาว (ครู จุดไฟด้านล่างของบอลลูน ) พวกเจ้ าลองทายสิว่า บอลลูนจะลอยได้ ไหม เพราะเหตุใดบอลลูนถึงลอยได้ (ถ้ านักเรียนตอบไม่ได้ ) ครูพูดหรือนักเรียน เพราะว่ าอากาศเมื่อได้ รับความร้ อน มันก็จะถ่ายโอนความร้ อน อากาศก็เกิดการขยายตัว จึงลอยตัวสูงขึน เมื่อเราจุดไฟด้ านล่าง ้ บอลลูน อากาศก็จะพาบอลลูนลอยตัวขึนได้ ยงไงละ ฮาๆๆๆๆ ้ ั ข้ าเนียฉลาดจริ งๆ ้ (โดยครู ใช้ป้ายนิทรรศการมาเป็ นสื่อประกอบการอธิบาย) 1.2 ครู เชื่อมโยงกิจกรรมที่ยวยุให้นกเรี ยนดูกบกิจกรรมเรื่ องการพาความร้อน โดยให้นกเรี ยนศึกษา ั่ ั ั ั ใบกิจกรรมร่ วมกันกับครู ครูพูด “ ก่ อนที่เราจะขึนไปท่ องโลกกว้ างกัน ข้ าอยากรู้ ว่ าจากหลักการที่ข้า ้ อธิบายผ่านมาแล้วนั้น นอกจากตัวกลางที่เป็ นอากาศแล้ว ตัวกลางที่เป็ นของเหลวมันจะมี การเคลื่อนที่เหมือนกันหรื อไม่ อย่างนั้น พวกเจ้ าลองมาทาการทดลองพร้ อมกับข้ า ” ( ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง การพาความร้อน)โดยอธิบายคาชี้แจง จุดประสงค์การทดลอง 1.3 ครู และนักเรี ยนร่ วมกันระบุขอระมัดระวังในเรื่ องความปลอดภัยด้วยในขณะทาการทดลอง ้ (ครู เสกอุปกรณ์การทดลองออกมาทีละชิ้น พร้อมทั้งอธิบายการใช้และข้อระมัดระวังของ อุปกรณ์น้ นๆ) ั
  • 6. 2. ขั้นสารวจและคันหา (Exploration) 10 นาที 2.1 นักเรี ยนทากิจกรรมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลตามที่สมาชิกในกลุ่มร่ วมกันวางแผน 2.2 ครู คอยดูแลการทากิจกรรมและให้คาแนะนา ช่วยเหลือในกรณี ที่นกเรี ยนยังทากิจกรรม ั ไม่ถกต้องหรื อมีความเข้าใจที่ไม่ถกต้อง ู ู 2.3 นักเรี ยนรวบรวมข้อมูลและผลการทดลอง 3. ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุป (Explanation) 10 นาที 3.1 นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรี ยน 3.2 ครู และนักเรี ยนร่ วมอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการทดลองร่ วมกัน และในกรณี ที่มีขอมูล้ แตกต่างไปจากกลุ่มอื่นมาก ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเพื่อหาสาเหตุของความ แตกต่างของข้อมูลนั้น 3.3 ครู ใช้คาถามเพื่อนาไปสู่การอภิปรายและสรุ ป โดยใช้คาถามดังนี้ ครูพูด เมื่อให้ความร้อนแก่น้ าในบีกเกอร์ พวกเจ้าสังเกตเห็นสีชมพูของด่างทับทิมมีการ เคลื่อนที่อย่างไร นักเรี ยนพูด เคลื่อนที่ไปด้านบนของบีกเกอร์และวนลงมาด้านล่างบีกเกอร์จนเป็ นสีชมพูทวบีก ั่ เกอร์ ครูพูด สารที่พาพลังงานความร้อนไปคือสารใด ชื่อทางเคมีคืออะไร พวกจ้ารู้หรื อไม่ นักเรี ยนพูด สารละลายเกล็ดด่างทับทิม ( โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ) ครูพูด พวกเจ้ารู้หรื อไม่ เพราะเหตุใดสารละลายเกล็ดด่างทับทิมจึงเคลื่อนที่ข้ ึนสู่ดานบน ้ ของบีกเกอร์ พวกเจ้าสังเกตหรื อไม่ว่า จากการทดลองการเคลื่อนที่ของเกล็ดด่าง ทับทิม กับการจุดไฟของบอลลูน มีลกษณะการเคลื่อนที่เหมือนกัน นักเรี ยนก็จะ ั สามารถอธิบายหลักการได้ นักเรี ยนพูด ตอบ เมื่อสารละลายเกล็ดด่ างทับทิมได้ รับความร้ อนก็จะมีการถ่ายโอนความร้ อน นาร้ อนก็เกิดการขยายตัว จึงเคลื่อนตัวสูงขึน ้ ้ ครู พูด “ถูกต้ องแล้วพวกเจ้ าเก่ งมาก แล้วอะไรเป็ นตัวกลางในการพาความร้ อนล่ะ นักเรี ยนพูด ของเหลว ในที่น้ ีคือสารละลายเกล็ดด่างทับทิม ครู พดู แล้วทาไมต้องใส่เกล็ดด่างทับทิมลงไปในน้ าด้วยล่ะ มันไม่เห็นเกี่ยวข้องอะไรกัน เลย น้ าก็เป็ นของเหลวอยูแล้วนิ ? ่ นักเรี ยนพูด เพราะน้ าจะไม่สามารถสังเกตเห็นการเคลื่อนที่ได้ ดังนั้นเกล็ดด่างทับทิมช่วยให้ เห็นการเคลื่อนที่ได้ง่ายขึ้น
  • 7. ครู พด ู แต่ขาสงสัยว่าถ้าวัตถุที่เป็ นตัวกลางนั้นเป็ นของแข็ง นั้นจะเป็ นอย่างไร นักเรี ยนก็ ้ จะตอบได้ว่า นักเรี ยนพูด ตัวกลางของวัตถุที่เป็ นของแข็ง จะเป็ นการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยวิธีการ นาความร้อนเท่านั้นและตัวกลางนั้นจะอยูกบที่ ่ ั ครู พดู อืม พวกเจ้าเก่งมาก ครู พด ู ดังนั้น การถ่ายโอนพลังงานความร้ อนโดยวิธีการพาความร้ อน จะใช้ ตัวกลางสถานะใดได้ บ้างและมีการเคลื่อนที่อย่างไร นักเรี ยนพูด ของเหลวและแก๊ส โดยตัวกลางจะเคลื่อนที่ไปกับความร้อนด้วย 3.4 ครู สรุ ปความรู้เรื่ อง การถ่ายโอนความร้อนโดยวิธีการพาความร้อน ให้นกเรี ยนมีความ ั เข้าใจตรงกันอีกครั้ง ดังนี้ “ การถ่ายโอนความร้อนเป็ นการถ่ายเทพลังงานความร้อนระหว่าง 2 บริ เวณที่มีอุณหภูมิที่ ต่างกันคือจะถ่ายโอนจากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังบริ เวณที่มีอุณหภูมิต่า ด้วยวิธีการพาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเคลื่อนที่ผานวัตถุที่เป็ นตัวกลางซึ่งเคลื่อนที่ ่ ไปด้วยกัน ตัวกลางที่พาความร้อนคือ ของเหลวและแก๊ ส เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัว และลอยตัวสูงขึ้น แก๊สเป็ นตัวกลางที่มีสมบัติในการพาความร้อนได้ดีที่สุด 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 10 นาที ครู นาเสนอการนาความรู้เรื่ องการนาความรู้และหลักการของการพาความร้อนของวัตถุไป ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้นกเรี ยนอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ั เช่น อธิบายการเกิดลมบกและลมทะเล ครูพูด “เมื่อพวกเราทาการทดลองเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ว อย่างนั้นถึงเวลาที่เราจะได้ ไปเที่ยวกันแล้ว” ครู ก็ เสกให้(นักเรี ยนขึ้นไปบนท้องฟ้ าโดยการสมมติ ระหว่างนั้นครู ก็บอกว่าตอนนี้เราใกล้จะถึงทะเลแล้ว ครู เอา ป้ ายนิทรรศการเกี่ยวกับลมบกลมทะเลมาประกอบ แล้วอธิบายให้นกเรี ยนฟัง ) ั โดยถามนักเรี ยนว่า ครูพูด “พวกเจ้ าเคยได้ ยิน ลมบก ลมทะเล ไหม ถ้าไม่เคยวันนีเ้ ราจะมารู จักกัน เจ้ าทายสิว่า ลมบกเกิดขึนตอนกลางวันหรื อกลางคืน (กลางคืน) ลมทะเลล่ะ (กลางวัน) ” ้ ตรงนี้นกเรี ยนอาจตอบไม่ได้ ครู ก็จะบอกนักเรี ยนไปว่า ั ครูพูด “ไม่เป็ นไรถ้าพวกเจ้ ายังมัวไม่ร้ ู ข้ าจะบอกเจ้ าให้ ร้ ู ลมบกเกิดตอนกลางคืน ส่ วนลมทะเลเกิดตอน ่ กลางวัน ลมบกเกิดตอนกลางคืนได้ อย่างไรนั้นเรามาดูกัน”
  • 8. ครูอธิบาย เนื่องจากพืนดินและพืนนาดูดและคายความร้ อนได้ แตกต่ างกัน ตอนกลางคืนพืนดินจะคายความ ้ ้ ้ ้ ร้ อนได้ ดีกว่ าพืนนา ดังนั้นตอนกลางคืนพืนนาจะมีความร้ อนและมีอุณหภูมิมากกว่ าพืนดิน เมื่อพืนนามีความ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ร้ อนมากกว่ ามันก็จะเกิดการถ่ายโอนความร้ อน อากาศเกิดการขยายตัว อากาศบริ เวณนีมีความหนาแน่ นน้ อย ้ ก็จะเคลื่อนที่ลอยตัวสูงขึน และเมื่อพืนดินมีอุณหภูมิที่ตากว่ าซึ่งมีความหนาแน่ นมากก็จะเคลื่อนที่ตาๆ มา ้ ้ ่ ่ แทนที่ จึงเกิดลมบกพัดเข้ าสู่ทะเล จึงเรี ยกว่ า ลมบก เป็ นไงบ้ างพวกเจ้าพอจะเข้ าใจไหม นั้นพวกเจ้าลองบอกสิว่า ลมทะเล เกิดได้ อย่างไร ตอนกลางวันพืนดินจะดูดความร้ อนได้ ดีกว่ าพืนนา ดังนั้นตอนกลางวันพืนดินจะมีความร้ อนและมีอุณหภูมิ ้ ้ ้ ้ มากกว่ าพืนนา เมื่อพืนดินมีความร้ อนมากกว่ ามันก็จะเกิดการถ่ายโอนความร้ อน อากาศเกิดการขยายตัว ้ ้ ้ อากาศบริ เวณนีมีความหนาแน่ นน้ อยก็จะเคลื่อนที่ลอยตัวสูงขึน และเมื่อพืนนามีอุณหภูมิที่ตากว่ าซึ่งมีความ ้ ้ ้ ้ ่ หนาแน่ นมากก็จะเคลือนที่ตาๆ มาแทนที่ จึงเกิดลมทะเลพัดเข้ าสู่บกจึงเรี ยกว่ า ลมทะเล ่ ่ ครูพด “พวกเจ้ าคงจะเข้ าใจแล้วสินะ แล้วพวกเจ้ ารู หรื อไม่ว่า ชาวประมงเมื่อก่ อนที่ไม่มีเครื่ องยนต์ ู ในการเดินเรื อ พวกเขาก็จะใช้ วิธีนีในการออกหาปลาตอนกลางคืนและจะกลับเข้ าฝั งอีกครั้ งในตอน ้ กลางวัน” ครูพูด “อย่างนั้นข้ าคิดว่ าเราน่ าจะกลับกันได้ แล้ว อ้ าวแล้วจะกลับลงไปได้ อย่างไรเนีย (ช่ วยด้ วย ้ ช่ วยด้ วย) ข้ าลืมไปว่ าข้ าคือแม่มด” งั้นข้ าขอเสกให้ ไฟที่ติดใต้ บอลลูนค่ อยๆดับลง พวกเจ้ ารู้ ไหมทาไมข้ าถึงทาวิธีนี้ ก็เพราะว่ าเมื่อ อากาศบริ เวณใต้ บอลลูนไม่ได้ รับความร้ อน มันก็จะไม่ลอยตัวขึนสูงยังไงล่ะ ฮาๆๆ ข้ าเนียสวยแล้วยังเก่ งอีก ้ ้ อิอิอิ ครูพูด “ เพื่อให้ พวกเจ้ าได้ จามันง่ ายขึน ข้ ามีเพลงมาร้ องและท่ าประกอบ มันน่ าสนใจใช่ ไหมล่ะ ้ อิอิอ” ( ครูและนักเรียนร่ วมกันร้ องและทาท่ าประกอบเพลงลมบกลมทะเล ) เพลง ลมบก ลมทะเล ลมบก ลมทะเล อากาศถ่ายเท ผลัดกัน ผลัดกัน ลมทะเล พัดตอนกลางวัน ลมทะเล พัดตอนกลางวัน ส่วนลมบกนั้น พัดตอนกลางคืน แต่ แล แต้ แล ตะ แล แล่ ตะแล่ แล่ ตะแล แล ครื น ครื น ครื น ครื น
  • 9. 5. ขั้นการประเมิน (Evaluation) 10 นาที ครูพูด “หมดเวลาของข้ าแล้วอย่างนั้นข้ าขอกลับมาเป็ นมนุษย์นะบัดนาว โอมเพียง !” ้ ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบ พร้อมทั้งส่งแบบฝึ กหัดท้ายการทดลอง ใบบันทึกกิจกรรม ั รายงานผลการ ทดลองเรื่ องการพาความร้อนของกลุ่ม หลักฐานในการประเมิน  แบบฝึ กหัดท้ายการทดลอง  ใบบันทึกกิจกรรม  แบบทดสอบ  แบบสังเกตการณ์ทางานกลุ่ม  รายงานผลการทดลองเรื่ องการพาความร้อน 7. สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรี ยนสาระวิทยาศาสตร์ช้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ั 2. ภาพตัวอย่างเกี่ยวกับการพาความร้อน 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 4. ใบกิจกรรมที่ เรื่ องการพาความร้อน 5. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่ องการพาความร้อน 6. เพลงลมบก ลมทะเล (ท่าประกอบ) 7. ป้ ายนิทรรศการลมบก ลมทะเล 8. อุปกรณ์ประกอบการแสดง 8. แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรี ยน 2. อินเทอร์เน็ต 9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล 9.1 ผูวดผลและประเมินผล ้ั - ผูเ้ รี ยนและครู ผสอน ู้ 9.2 การวัดผลและประเมินผล
  • 10. สิ่งที่ตองการวัด ้ วิธีการวัดผล เครื่ องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. ความรู้และความ 1.สังเกตการตอบคาถาม 1. คาถามของครู 1. ตอบคาถามถูก ถือว่า เข้าใจเนื้อหา ในห้องเรี ยน ผ่าน 2. การทาใบกิจกรรม 2. ใบกิจกรรม 2. ตอบใบกิจกรรม ครบถ้วน และถูกต้อง 80 % ถือว่าผ่าน 2. ทักษะกระบวนการ 1. สังเกตจากการทา พฤติกรรมในการทา ได้คะแนน 80 % กิจกรรม กิจกรรม ผ่าน 3. คุณลักษณะที่พึง 1.การสังเกตคุณลักษณะ คุณลักษณะที่พึง แสดงพฤติกรรม ประสงค์ ที่พึงประสงค์ ประสงค์ของผูเ้ รี ยน 80 % ผ่าน -ความสนใจในการ รายบุคคล ทากิจกรรม -ความร่ วมมือในการ ทากิจกรรม -ความตั้งใจในการทา กิจกรรม -การส่งงานตาม เวลาที่กาหนด -ยอมรับความคิดเห็น ของคนอื่น
  • 11. บันทึกหลังการสอน เรื่ อง......................................................................... สอนเมื่อ............................................ 1. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 3. แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 4.ข้ อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.......................................................ผูสอน ้ ( นางสาวปารณี ย ์ แก้วเซ่ง ) ลงชื่อ..................................................ครู พี่เลี้ยง ( นางนิลวรรณ กลีบแก้ว )
  • 12. ความคิดเห็น / ข้ อเสนอแนะ ของครูนิเทศประจาโรงเรียน ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ................................................ผูตรวจ ้ (....................................................) ตาแหน่ง............................................................. ความคิดเห็น / ข้ อเสนอแนะ ของผู้บริหาร / ผู้ตรวจ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ................................................ผูตรวจ ้ (....................................................) ตาแหน่ง.............................................................
  • 13. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การพาความร้ อน คาชี้แจง ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทดลองเรื่ อง การพาความร้อนให้เข้าใจ ร่ วมอภิปรายก่อนทา ั กิจกรรมแล้วทาการทดลองตามวิธีการทดลอง บันทึกผลการทดลอง ร่ วมกันอภิปรายในกลุ่มและตอบคาถาม หลังกิจกรรม จุดประสงค์การทดลอง 1. ศึกษาและทาการทดลองเกี่ยวกับการพาความร้อนของน้ าได้ 2. ระบุเกี่ยวกับลักษณะการพาความร้อนของน้ าได้ วัสดุอุปกรณ์ รายการ จานวนต่อกลุ่ม 1. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิตร 1 ใบ 2. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด 3. น้ า 150 มิลลิลิตร 4. เกล็ดด่างทับทิม 1 เกล็ด วิธีการทดลอง 1. นาบีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร ใส่น้ าปริ มาตร 150 มิลลิลิตร 2. ใส่เกล็ดด่างทับทิมไป 1 เกล็ด 3. จุดตะเกียแอลกอฮอล์เพื่อให้ความร้อนตรงบริ เวณที่มีเกล็ดด่าง ทับทิม ดังรู ป 4. สังเกตการเคลื่อนที่ของสีจากเกล็ดด่างทับทิม บันทึกผลการ ทดลองที่สงเกตได้ ั
  • 14. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การพาความร้ อน วันที่ .................เดือน......................พ.ศ..................... กลุ่มที่.....................ชั้น ม..............ประธานกลุ่ม.................................เลขานุการ............................................. ผูร่วมงาน ้ 1................................................................................................. 2................................................................................................. 3................................................................................................. 4................................................................................................. 5................................................................................................. จุดประสงค์การทดลอง 1……………………………………………………………… 2……………………………………………………………… ปัญหาในการทดลอง......................................................................................................................................... การตั้งสมมติฐานในการทดลอง........................................................................................................................ ตารางบันทึกผลการทดลอง การเคลือนที่ของเกล็ดด่ างทับทิม ่ บันทึกผลการเคลือนที่ ่ ก่อนการเคลื่อนที่ ขณะการเคลื่อนที่ หลังการเคลื่อนที่ บันทึกผลการทดลอง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
  • 15. คาถามหลังการทดลอง 1. นักเรี ยนสังเกตเห็นสีชมพูของด่างทับทิมมีการเคลื่อนที่อย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. สารที่พาพลังงานความร้อนไปคือสารใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. สารละลายในบีกเกอร์จะเป็ นสีเดียวกันทัวบีกเกอร์ได้หรื อไม่ อย่างไรเพื่อช่วยให้ระบายความ ่ ร้อนออกจากตัวบ้าน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. ประเทศไทยมีอากาศร้อนเป็ นส่วนใหญ่ นักเรี ยนคิดว่าควรสร้างบ้านให้มีลกษณะ อย่างไร ั ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. สรุปผลการทดลอง .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................
  • 18. แบบทดสอบ เรื่องการพาความร้ อน 1. การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยวิธีการพาความร้อน หมายถึง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. จากรู ปที่ 1 เป็ นบ้านคุณเฟิ รน์และรู ปที่ 2 เป็ นบ้านคุณเคน บ้านหลังใดเหมาะสมกับสภาพอากาศ ประเทศไทย เพราะเหตุใด รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. การประกอบอาหารตามร้านอาหาร จะทาปล่องครัวไว้เหมือเตาไฟเพืออะไร ่ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 4. ในการก่อกองไฟจะสังเกตเห็นควันไฟลอยสูงขึ้นสู่บรรยากาศด้านบนได้ เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 5. จากรู ป จงอธิบายหลักการพาความร้อน ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ……………………………………………………………….. ………………………………………………………………..