SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1



    แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะแสวงหาความรู้ควบคู่กับการใช้
                         ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์          สาระพื้นฐาน    ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิชา วิทยาศาสตร์ 9                                                  รหัสวิชา ว 32101                                                        หน่วยที่ 2
เรื่อง สนามแม่เหล็ก                                                                                                     เวลาที่ใช้สอน 5 ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555                                                                                     โรงเรียน บ้านแซววิทยาคม
ผู้สอน นายนิวัติ ยอดมูลดี
...............................................................................................................................................................
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี
คุณธรรม

2. ตัวชี้วัด
   2.1 ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก
       และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์(ว 4.1.3)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
   3.1. ด้านความรู้ (K)
        3.1.1 บอกความหมายของ สนามแม่เหล็กและเส้นแรงแม่เหล็กได้
   3.2 ด้านกระบวนการ (P)
       3.2.1 ทดลองและหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่   ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก
             ได้
   3.3 ด้านกระบวนการคิด (P)
       3.3.1 คิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่
                                                             ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก ได้
   3.4 ด้านคุณลักษณะ (A)
       3.4.1 บอกประโยชน์จากการนาความรู้เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่
                                                                                 ของ
              อนุภาคในสนามแม่เหล็กไปใช้ในชีวิตประจาวัน
2



4. สาระสาคัญ
      แม่เหล็กเป็นของแข็งชนิดหนึ่งที่มีสมบัติพิเศษ คือ สามารถดึงดูดสารอื่นบางชนิดได้
แม่เหล็กมี2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือกับขั้วใต้ ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะออกแรงผลักกัน แต่ถ้าต่างขั้วกัน
จะออกแรงดึงดูดกัน บริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็กที่แม่เหล็กสามารถส่งอานาจดึงดูดไปถึงเรียกว่า
สนามแม่เหล็กสนามแม่เหล็กประกอบด้วยเส้นแรงแม่เหล็กจานวนมาก สารแม่เหล็กหรือสารที่มี
ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะถูกแรงของสนามแม่เหล็กกระทา
      เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจ
ทาให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป
      เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาซึ่งวางตัดกับสนามแม่เหล็ก จะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวด
ตัวนา มีผลให้ลวดตัวนาเคลื่อนที่ ทิศทางของแรงแม่เหล็กขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้าและ
สนามแม่เหล็ก
      สนามแม่เหล็กโลกมีประโยชน์สาคัญ คือ เป็นแนวป้องกันอันตรายจากลมสุริยะ(Solar wind)

5. ภาระงาน/ชิ้นงาน
      5.1 การทดลองเรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก
      5.2 การทดลองเรื่อง ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
      5.3 การทดลองเรื่อง แรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อวางอยู่ในบริเวณที่มี
          สนามแม่เหล็ก
      5.4 การทดลองเรื่อง สนามแม่เหล็กโลก

6. สาระการเรียนรู้
   6.1 สนามแม่เหล็ก

7. สมรรถนะตามหลักสูตรที่ต้องการพัฒนา
   7.1 ความสามารถในการ ื่อสาร ฟัง พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกับสนามแม่เหล็ก
                          ส
   7.2 ความสามารถในการ ิด ได้แก่
                          ค
       7.2.1 ความสามารถในการคิดพื้นฐาน ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจค้นหา
             ทักษะการเชื่อมโยง และทักษะการนาความรู้ไปใช้
       7.2.2 ความสามารถในการคิดขั้นสูง ได้แก่ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการ และทดสอบ
             สมมติฐาน
3



8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   8.1 มีวินัย
   8.2 ใฝ่เรียนรู้

9. กิจกรรมการเรียนรู้
                                                   ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
            กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                       การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
                     ชั่วโมงที่ 1-2
1. ทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐาน โดยใช้             ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
แบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ
ใช้เวลา 10 นาที
2. ครูนาเข็มทิศมาแสดงให้นักเรียนดู และซักถาม
เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยตั้งคาถาม
ดังนี้
- เพราะเหตุใดเข็มทิศจึงชี้ไปทางด้านทิศเหนือ
     เสมอ(ทักษะการสังเกตและทักษะ
     การสื่อสาร)
- สารที่บรรจุอยู่ในเข็มทิศนี้มีสมบัติเป็นอย่างไร
       (ทักษะการตั้งสมมติฐาน)
3. นักเรียนช่วยกันตอบคาถามตามความเข้าใจ
จากนั้นครูเฉลยคาตอบและอธิบายเหตุผล(ทักษะการ
สื่อสาร)
4. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน           ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
แล้วสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการนาสารที่เป็น
แม่เหล็กมาวางบริเวณใกล้ ๆ แท่งแม่เหล็กแล้วถาม
ว่าสารแม่เหล็กจะมีการจัดเรียงตัวอย่างไร โดยครู
เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเพื่อนาไปสู่
การตั้งสมมติฐานในการทดลอง จากนั้นครูและ
นักเรียนร่วมกันตั้งสมมติฐานในการทดลอง(ทักษะ
การสื่อสาร ฟัง และทักษะการตั้งสมมติฐาน)
4



                                                        ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
             กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                            การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
การสื่อสาร ฟัง และทักษะการตั้งสมมติฐาน)                           ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
5. ให้นัก เรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่        1 เรื่อง
สนามแม่เหล็ก และตอบคาถามท้ายกิจกรรม (ทักษะ
การทอสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต)
6. ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 2 เรื่อง เส้น
แรงแม่เหล็ก แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม (ทักษะ
การทอสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต)
7. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน ครูและนักเรียน                ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
ร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปผลการทดลอง ซึ่งครู
อาจเขียนตารางแสดงผลการทดลองที่กระดาน แล้ว
ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเขียนผลการทดลอง
ที่ได้ โดยครูจะต้องพยายามอธิบายและชี้นาเพื่อ
นาไปสู่การแสดงให้นักเรียนได้เห็นว่าเป็นไปตาม
สมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมทั้งฝึกให้นักเรียนมี
ความใจกว้างร่วมแสดงความคิดเห็นในผลการ
ทดลองที่ได้และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่ง
อาจจะได้ผลสรุปของการทดลอง ดังนี้
- แท่งแม่เหล็กสามารถส่งอานาจแม่เหล็กออกไป
บริเวณโดยรอบแท่งแม่เหล็กได้ และอานาจแม่เหล็ก
นี้สามารถทาให้ผงตะไบเหล็กเรียงตัวกันเป็นแนว
หรือเส้นได้ บริเวณโดยรอบแท่งแม่เหล็กที่แม่เหล็ก
สามารถส่งอานาจไปถึงเรียกว่า สนามแม่เหล็ก และ
แนวที่ผงตะไบเหล็กเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบนี้
เรียกว่า เส้นแรงแม่เหล็ก
- เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศแผ่ออกจากขั้วเหนือไปยัง
ขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก โดยบริเวณใกล้ ๆ
ขั้วแม่เหล็กจะมีเส้นแรงแม่เหล็กอยู่อย่างหนาแน่น
มาก จึงทาให้บริเวณขั้วทั้ง 2 ของแท่งแม่เหล็กมี
5



                                                          ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
             กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                              การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
ความเข้มของสนามแม่เหล็กมากด้วย                                   ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
- ถ้านาแม่เหล็ก 2 แท่งมาวางใกล้กัน ในบริเวณที่
เส้นแรงแม่เหล็กหักล้างกันจนสนามแม่เหล็กลัพธ์มี
ค่าเป็นศูนย์นั้น      ถ้าวางเข็มทิศที่จุดนี้จะไม่มีแรง
แม่เหล็กมากระทาต่อเข็มทิศ จึงทาให้เข็มทิศสามารถ
วางตัวได้อย่างอิสระในทุกทิศทางและเรียกจุดนี้ว่า
จุดสะเทิน (neutral point)(ทักษะการจัดโครงสร้าง
และทักษะการรวบรวมข้อมูล)
8. ใบงานที่ 1 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป                     ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
สืบค้นเกี่ยวกับแม่เหล็กและการนาแม่เหล็กมาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันจากสื่อต่าง ๆ เช่น
วารสารเกี่ยวกับแม่เหล็ก สารานุกรมวิทยาศาสตร์
และอินเทอร์เน็ต(ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู)      ้
9. ใบงานที่ 2 ให้นักเรียนระบุสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้          ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล
โดยทาเป็น Mind mapping และส่งครูในชั่วโมง
                      ชั่วโมงที่ 3
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กแล้วถามคาถาม                      ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
กระตุ้นการเรียนรู้ ดังนี้
- หากนักเรียนนาอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้า
ไปในสนามแม่เหล็กในทิศตั้งฉากจะเกิดผลอย่างไร
(ทักษะการตั้งสมมติฐาน)
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน                  ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
กาหนดให้แต่ละกลุ่มสืบค้นจากใบความรู้ที่ 1 เรื่อง
ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่
มีประจุไฟฟ้า (ทักษะการสื่อสาร อ่าน)
3. หลังจากที่ศึกษาค้นคว้าแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ทาใบงานที่ 3 เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า(ทักษะการจัด
6



                                                      ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
            กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                          การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
โครงสร้าง และทักษะการเชื่อมโยง)
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทาใบงานที่ 3               ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า โดยสรุปจัดทาเป็น Mind
mapping แล้วส่งตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมี
ประเด็นต่อไปนี้
     - ทิศของแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุไฟฟ้า
   - แนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ควรสรุปได้ว่า
   - ต้องมีแรงกระทาต่อประจุไฟฟ้าจึงทาให้ประจุ
ไฟฟ้าเบนไปจากเดิม โดยแรงนี้เกิดจาก
สนามแม่เหล็ก
     - แรงจากสนามแม่เหล็กที่กระทาต่อการเคลื่อนที่
ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นไปตามกฎมือขวา
(ทักษะการสร้างความรู้ ทักษะการจัดโครงสร้าง)
7. ใบงานที่ 4 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างและ                   ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ที่เกี่ยวข้องกับผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่
ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า (ทักษะการคิดคล่อง
ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้)
8. ตรวจสอบจากการทาใบงานที่ 3 และ 4                           ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล
                     ชั่วโมงที่ 4
1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือ           ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
ต่างๆที่ใช้มอเตอร์ในการทางานที่พบเห็นได้ใน
ชีวิตประจาวันแล้วเชื่อมโยงให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้ โดยครูใช้คาถามกระตุ้นความสนใจ ดังนี้
    - นักเรียนเคยแกะมอเตอร์เพื่อดูส่วนประกอบ
7



                                                    ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
            กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                        การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
ภายในหรือไม่ และพบอะไรในนั้น                                  ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
(ในมอเตอร์มีขดลวดและแม่เหล็กอยู่ )
   - มอเตอร์มีการทางานอย่างไร
(แม่เหล็กในมอเตอร์ทาให้ขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านหมุน นั่นคือ พลังงานไฟฟ้าถูกเปลี่ยนเป็น
พลังงานกล)
2. ครูตั้งคาถามเพื่อนาไปสู่การทดลอง ดังนี้
    - ถ้านาลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านไปวางไว้
ในสนามแม่เหล็ก นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น
(ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการสื่อสาร ทักษะ
การสังเกต)
3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน            ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
เพื่อทากิจกรรมที่ 3 เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อ
การเคลื่อนที่ของตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
(ทักษะการทดสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต)
4. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน ครูและนักเรียน            ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
ร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปผลการทดลอง โดย
ครูจะต้องพยายามอธิบายและชี้นาเพื่อนาไปสู่การ
แสดงให้นักเรียนได้เห็นว่าเป็นไปตามสมมติฐาน
ที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมทั้งฝึกให้นักเรียนมีความใจ
กว้างร่วมแสดงความคิดเห็นในผลการทดลองที่ได้
และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งอาจจะได้
ผลสรุปของการทดลอง ดังนี้
- เมื่อวางลวดตัวนาในสนามแม่เหล็ก แล้วผ่าน
กระแสไฟฟ้าเข้าไปในลวดตัวนา แรงแม่เหล็กซึ่ง
กระทาต่อลวดตัวนานั้น จะมีผลทาให้ลวดตัวนา
เคลื่อนที่ โดยทิศของแรงแม่เหล็กขึ้นอยู่กับทิศของ
กระแสไฟฟ้าและทิศของสนามแม่เหล็ก
8



                                                    ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
            กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                        การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
(ทักษะการจัดโครงสร้าง และทักษะการรวบรวม                    ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
ข้อมูล ทักษะการให้เหตุผล)
5. ใบงานที่ 5 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างและ                 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ที่เกี่ยวข้องกับผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่
ของตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน(ทักษะการคิด
คล่อง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้)
6. ตรวจสอบจากรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมใบ                   ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล
งานที่ 5
7. จากการสรุปและนาเสนอหน้าชั้นเรียน
                        ชั่วโมงที่ 5
1. ครูใช้คาถามกระตุ้นความสนใจ ดังนี้                        ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
    - เมื่อเราแขวนแท่งแม่เหล็กให้หมุนอิสระ แท่ง
แม่เหล็กจะวางตัวในลักษณะใด เพราะเหตุใด
(วางตัวในแนว เหนือ – ใต้ เพราะเป็นผลมาจาก
สนามแม่เหล็กโลก)
(ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการสื่อสาร)
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน            ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
แต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 4 เรื่อง สนามแม่เหล็กโลก
3. แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าใบความรู้ที่ 2 เรื่อง
สนามแม่เหล็กโลก(ทักษะการทดสอบสมมติฐาน
ทักษะการสื่อสาร : อ่าน)
4. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมและ               ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
การศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน โดยครูอธิบายความรู้
เพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น
(ทักษะการจัดโครงสร้าง)
5. ใบงานที่ 6 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง และ                ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
9



                                                       ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
            กิจกรรมการเรียนการสอน
                                                           การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้
อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ในการนาความรู้เรื่องสนามแม่เหล็กโลกไปใช้ และ
เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่มีผลมาจาก
สนามแม่เหล็กโลก(ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการ
ประยุกต์ใช้ความรู) ้
6. ตรวจผลการปฏิบัติกิจกรรมจากชุดกิจกรรมเพื่อ                  ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล
พัฒนาทักษะการคิด
7. นาผลงานนักเรียนที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดมาให้นักเรียน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนคุณค่าจากสิ่งที่ได้เรียนรู้
(จิตวิทยาศาสตร์) และเพิ่มเติมความรู้ในกรณีที่
นักเรียนปฏิบัติได้ไม่ถูกต้อง
8. ทดสอบหลังเรียน

10. สื่อและแหล่งเรียนรู้
   10.1 สื่อการเรียนรู้
        10.1.1 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
               ในชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิด ชุดที่ 1
        10.1.2 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สนามแม่เหล็กโลก
        10.1.3 ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องสนามแม่เหล็ก

   10.2 แหล่งเรียนรู้
      10.2.1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
10



11. การวัดและประเมินผล
    สิ่งที่ต้องการวัด   เครื่องมือที่ใช้วัด          วิธีวัด            เกณฑ์การวัด
1. กระบวนการ          แบบตรวจสอบ              ตรวจสอบตามแบบ        9.76 - 12.00 ดีมาก
สืบเสาะหาความรู้      กระบวนการสืบเสาะ        ตรวจสอบกระบวนการ 7.51 - 9.75 ดี
(P วิชา)              แสวงหาความรู้           สืบเสาะแสวงหาความรู้ 5.26 - 7.50 พอใช้
                                                                   3.0-5.25 ต้องปรับปรุง
2. ความสามารถด้าน      กิจกรรมที่ 1-4 และ     ตรวจผลการทา           ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การคิด (P การคิด)      ใบงานที่ 1-6 ในชุด     กิจกรรม และผลการ
                       กิจกรรมเพื่อพัฒนา      ทาใบงาน
                       ทักษะการคิด
3.ความรู้ก่อน-หลัง     แบบทดสอบก่อน-          ทดสอบ                  ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เรียน (K)              หลังเรียน
4. คุณลักษณะอันพึง     แบบสะท้อนผล            สังเกตการสะท้อนผล     ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น
ประสงค์ (A)                                                             คาพูดเชิงบวก
11



                                                  บันทึกหลังการสอน
1. บันทึกผลหลังสอน
   1.1 ผลการสอน
       ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
   1.2 ปัญหา/อุปสรรค
       ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
   1.3 แนวทางแก้ไข
       ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

                                                                           ลงชื่อ.....................................
                                                                                  (นายนิวัติ ยอดมูลดี)
                                                                                            ผู้สอน
2. ความคิดเห็นของผู้นิเทศที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร
       ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
                                                                 ลงชื่อ.....................................
                                                                     (                                     )
3. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
       ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
                                                      ลงชื่อ..............................................
                                                              ( นายศรีวาท ชานาญชัย )
                                                      ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม

More Related Content

What's hot

รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 

What's hot (20)

รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 

Similar to แผน1สนามแม่เหล็ก

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 

Similar to แผน1สนามแม่เหล็ก (20)

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 

More from Niwat Yod

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4Niwat Yod
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2Niwat Yod
 
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4Niwat Yod
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55Niwat Yod
 
คำสอนดี
คำสอนดีคำสอนดี
คำสอนดีNiwat Yod
 
การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นNiwat Yod
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 

More from Niwat Yod (9)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 4
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4
ข้อสอบฟิสิกส์ ม.4
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55
ผลการแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์ปี55
 
Sony
SonySony
Sony
 
คำสอนดี
คำสอนดีคำสอนดี
คำสอนดี
 
การดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้นการดูดาวขั้นต้น
การดูดาวขั้นต้น
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 

แผน1สนามแม่เหล็ก

  • 1. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะแสวงหาความรู้ควบคู่กับการใช้ ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 วิชา วิทยาศาสตร์ 9 รหัสวิชา ว 32101 หน่วยที่ 2 เรื่อง สนามแม่เหล็ก เวลาที่ใช้สอน 5 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียน บ้านแซววิทยาคม ผู้สอน นายนิวัติ ยอดมูลดี ............................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี คุณธรรม 2. ตัวชี้วัด 2.1 ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์(ว 4.1.3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1. ด้านความรู้ (K) 3.1.1 บอกความหมายของ สนามแม่เหล็กและเส้นแรงแม่เหล็กได้ 3.2 ด้านกระบวนการ (P) 3.2.1 ทดลองและหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก ได้ 3.3 ด้านกระบวนการคิด (P) 3.3.1 คิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่ ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก ได้ 3.4 ด้านคุณลักษณะ (A) 3.4.1 บอกประโยชน์จากการนาความรู้เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ ของ อนุภาคในสนามแม่เหล็กไปใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 2. 2 4. สาระสาคัญ แม่เหล็กเป็นของแข็งชนิดหนึ่งที่มีสมบัติพิเศษ คือ สามารถดึงดูดสารอื่นบางชนิดได้ แม่เหล็กมี2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือกับขั้วใต้ ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะออกแรงผลักกัน แต่ถ้าต่างขั้วกัน จะออกแรงดึงดูดกัน บริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็กที่แม่เหล็กสามารถส่งอานาจดึงดูดไปถึงเรียกว่า สนามแม่เหล็กสนามแม่เหล็กประกอบด้วยเส้นแรงแม่เหล็กจานวนมาก สารแม่เหล็กหรือสารที่มี ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะถูกแรงของสนามแม่เหล็กกระทา เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจ ทาให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาซึ่งวางตัดกับสนามแม่เหล็ก จะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวด ตัวนา มีผลให้ลวดตัวนาเคลื่อนที่ ทิศทางของแรงแม่เหล็กขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กโลกมีประโยชน์สาคัญ คือ เป็นแนวป้องกันอันตรายจากลมสุริยะ(Solar wind) 5. ภาระงาน/ชิ้นงาน 5.1 การทดลองเรื่อง เส้นแรงแม่เหล็ก 5.2 การทดลองเรื่อง ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า 5.3 การทดลองเรื่อง แรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อวางอยู่ในบริเวณที่มี สนามแม่เหล็ก 5.4 การทดลองเรื่อง สนามแม่เหล็กโลก 6. สาระการเรียนรู้ 6.1 สนามแม่เหล็ก 7. สมรรถนะตามหลักสูตรที่ต้องการพัฒนา 7.1 ความสามารถในการ ื่อสาร ฟัง พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกับสนามแม่เหล็ก ส 7.2 ความสามารถในการ ิด ได้แก่ ค 7.2.1 ความสามารถในการคิดพื้นฐาน ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจค้นหา ทักษะการเชื่อมโยง และทักษะการนาความรู้ไปใช้ 7.2.2 ความสามารถในการคิดขั้นสูง ได้แก่ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการ และทดสอบ สมมติฐาน
  • 3. 3 8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8.1 มีวินัย 8.2 ใฝ่เรียนรู้ 9. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 1. ทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐาน โดยใช้ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ แบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ครูนาเข็มทิศมาแสดงให้นักเรียนดู และซักถาม เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยตั้งคาถาม ดังนี้ - เพราะเหตุใดเข็มทิศจึงชี้ไปทางด้านทิศเหนือ เสมอ(ทักษะการสังเกตและทักษะ การสื่อสาร) - สารที่บรรจุอยู่ในเข็มทิศนี้มีสมบัติเป็นอย่างไร (ทักษะการตั้งสมมติฐาน) 3. นักเรียนช่วยกันตอบคาถามตามความเข้าใจ จากนั้นครูเฉลยคาตอบและอธิบายเหตุผล(ทักษะการ สื่อสาร) 4. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา แล้วสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการนาสารที่เป็น แม่เหล็กมาวางบริเวณใกล้ ๆ แท่งแม่เหล็กแล้วถาม ว่าสารแม่เหล็กจะมีการจัดเรียงตัวอย่างไร โดยครู เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเพื่อนาไปสู่ การตั้งสมมติฐานในการทดลอง จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกันตั้งสมมติฐานในการทดลอง(ทักษะ การสื่อสาร ฟัง และทักษะการตั้งสมมติฐาน)
  • 4. 4 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ การสื่อสาร ฟัง และทักษะการตั้งสมมติฐาน) ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา 5. ให้นัก เรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 1 เรื่อง สนามแม่เหล็ก และตอบคาถามท้ายกิจกรรม (ทักษะ การทอสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต) 6. ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 2 เรื่อง เส้น แรงแม่เหล็ก แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม (ทักษะ การทอสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต) 7. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน ครูและนักเรียน ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปผลการทดลอง ซึ่งครู อาจเขียนตารางแสดงผลการทดลองที่กระดาน แล้ว ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเขียนผลการทดลอง ที่ได้ โดยครูจะต้องพยายามอธิบายและชี้นาเพื่อ นาไปสู่การแสดงให้นักเรียนได้เห็นว่าเป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมทั้งฝึกให้นักเรียนมี ความใจกว้างร่วมแสดงความคิดเห็นในผลการ ทดลองที่ได้และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่ง อาจจะได้ผลสรุปของการทดลอง ดังนี้ - แท่งแม่เหล็กสามารถส่งอานาจแม่เหล็กออกไป บริเวณโดยรอบแท่งแม่เหล็กได้ และอานาจแม่เหล็ก นี้สามารถทาให้ผงตะไบเหล็กเรียงตัวกันเป็นแนว หรือเส้นได้ บริเวณโดยรอบแท่งแม่เหล็กที่แม่เหล็ก สามารถส่งอานาจไปถึงเรียกว่า สนามแม่เหล็ก และ แนวที่ผงตะไบเหล็กเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบนี้ เรียกว่า เส้นแรงแม่เหล็ก - เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศแผ่ออกจากขั้วเหนือไปยัง ขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก โดยบริเวณใกล้ ๆ ขั้วแม่เหล็กจะมีเส้นแรงแม่เหล็กอยู่อย่างหนาแน่น มาก จึงทาให้บริเวณขั้วทั้ง 2 ของแท่งแม่เหล็กมี
  • 5. 5 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ ความเข้มของสนามแม่เหล็กมากด้วย ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป - ถ้านาแม่เหล็ก 2 แท่งมาวางใกล้กัน ในบริเวณที่ เส้นแรงแม่เหล็กหักล้างกันจนสนามแม่เหล็กลัพธ์มี ค่าเป็นศูนย์นั้น ถ้าวางเข็มทิศที่จุดนี้จะไม่มีแรง แม่เหล็กมากระทาต่อเข็มทิศ จึงทาให้เข็มทิศสามารถ วางตัวได้อย่างอิสระในทุกทิศทางและเรียกจุดนี้ว่า จุดสะเทิน (neutral point)(ทักษะการจัดโครงสร้าง และทักษะการรวบรวมข้อมูล) 8. ใบงานที่ 1 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ สืบค้นเกี่ยวกับแม่เหล็กและการนาแม่เหล็กมาใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันจากสื่อต่าง ๆ เช่น วารสารเกี่ยวกับแม่เหล็ก สารานุกรมวิทยาศาสตร์ และอินเทอร์เน็ต(ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู) ้ 9. ใบงานที่ 2 ให้นักเรียนระบุสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล โดยทาเป็น Mind mapping และส่งครูในชั่วโมง ชั่วโมงที่ 3 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กแล้วถามคาถาม ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ กระตุ้นการเรียนรู้ ดังนี้ - หากนักเรียนนาอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้า ไปในสนามแม่เหล็กในทิศตั้งฉากจะเกิดผลอย่างไร (ทักษะการตั้งสมมติฐาน) 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา กาหนดให้แต่ละกลุ่มสืบค้นจากใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่ มีประจุไฟฟ้า (ทักษะการสื่อสาร อ่าน) 3. หลังจากที่ศึกษาค้นคว้าแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ทาใบงานที่ 3 เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อการ เคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า(ทักษะการจัด
  • 6. 6 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ โครงสร้าง และทักษะการเชื่อมโยง) 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทาใบงานที่ 3 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า โดยสรุปจัดทาเป็น Mind mapping แล้วส่งตัวแทนนาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมี ประเด็นต่อไปนี้ - ทิศของแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุไฟฟ้า - แนวการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ควรสรุปได้ว่า - ต้องมีแรงกระทาต่อประจุไฟฟ้าจึงทาให้ประจุ ไฟฟ้าเบนไปจากเดิม โดยแรงนี้เกิดจาก สนามแม่เหล็ก - แรงจากสนามแม่เหล็กที่กระทาต่อการเคลื่อนที่ ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นไปตามกฎมือขวา (ทักษะการสร้างความรู้ ทักษะการจัดโครงสร้าง) 7. ใบงานที่ 4 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างและ ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ที่เกี่ยวข้องกับผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า (ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้) 8. ตรวจสอบจากการทาใบงานที่ 3 และ 4 ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล ชั่วโมงที่ 4 1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ต่างๆที่ใช้มอเตอร์ในการทางานที่พบเห็นได้ใน ชีวิตประจาวันแล้วเชื่อมโยงให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ โดยครูใช้คาถามกระตุ้นความสนใจ ดังนี้ - นักเรียนเคยแกะมอเตอร์เพื่อดูส่วนประกอบ
  • 7. 7 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ ภายในหรือไม่ และพบอะไรในนั้น ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (ในมอเตอร์มีขดลวดและแม่เหล็กอยู่ ) - มอเตอร์มีการทางานอย่างไร (แม่เหล็กในมอเตอร์ทาให้ขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านหมุน นั่นคือ พลังงานไฟฟ้าถูกเปลี่ยนเป็น พลังงานกล) 2. ครูตั้งคาถามเพื่อนาไปสู่การทดลอง ดังนี้ - ถ้านาลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านไปวางไว้ ในสนามแม่เหล็ก นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น (ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการสื่อสาร ทักษะ การสังเกต) 3. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา เพื่อทากิจกรรมที่ 3 เรื่องผลของสนามแม่เหล็กต่อ การเคลื่อนที่ของตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน (ทักษะการทดสอบสมมติฐาน ทักษะการสังเกต) 4. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน ครูและนักเรียน ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปผลการทดลอง โดย ครูจะต้องพยายามอธิบายและชี้นาเพื่อนาไปสู่การ แสดงให้นักเรียนได้เห็นว่าเป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมทั้งฝึกให้นักเรียนมีความใจ กว้างร่วมแสดงความคิดเห็นในผลการทดลองที่ได้ และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งอาจจะได้ ผลสรุปของการทดลอง ดังนี้ - เมื่อวางลวดตัวนาในสนามแม่เหล็ก แล้วผ่าน กระแสไฟฟ้าเข้าไปในลวดตัวนา แรงแม่เหล็กซึ่ง กระทาต่อลวดตัวนานั้น จะมีผลทาให้ลวดตัวนา เคลื่อนที่ โดยทิศของแรงแม่เหล็กขึ้นอยู่กับทิศของ กระแสไฟฟ้าและทิศของสนามแม่เหล็ก
  • 8. 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ (ทักษะการจัดโครงสร้าง และทักษะการรวบรวม ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ข้อมูล ทักษะการให้เหตุผล) 5. ใบงานที่ 5 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างและ ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ที่เกี่ยวข้องกับผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ ของตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน(ทักษะการคิด คล่อง ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้) 6. ตรวจสอบจากรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมใบ ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล งานที่ 5 7. จากการสรุปและนาเสนอหน้าชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 5 1. ครูใช้คาถามกระตุ้นความสนใจ ดังนี้ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ - เมื่อเราแขวนแท่งแม่เหล็กให้หมุนอิสระ แท่ง แม่เหล็กจะวางตัวในลักษณะใด เพราะเหตุใด (วางตัวในแนว เหนือ – ใต้ เพราะเป็นผลมาจาก สนามแม่เหล็กโลก) (ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการสื่อสาร) 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา แต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ 4 เรื่อง สนามแม่เหล็กโลก 3. แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สนามแม่เหล็กโลก(ทักษะการทดสอบสมมติฐาน ทักษะการสื่อสาร : อ่าน) 4. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมและ ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป การศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน โดยครูอธิบายความรู้ เพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น (ทักษะการจัดโครงสร้าง) 5. ใบงานที่ 6 ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง และ ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
  • 9. 9 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม กิจกรรมการเรียนการสอน การคิดโดยวิธีสืบเสาะแสวงหาความรู้ อภิปรายเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ในการนาความรู้เรื่องสนามแม่เหล็กโลกไปใช้ และ เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่มีผลมาจาก สนามแม่เหล็กโลก(ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการ ประยุกต์ใช้ความรู) ้ 6. ตรวจผลการปฏิบัติกิจกรรมจากชุดกิจกรรมเพื่อ ขั้นที่ 5 วัดและประเมินผล พัฒนาทักษะการคิด 7. นาผลงานนักเรียนที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมใน ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดมาให้นักเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนคุณค่าจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ (จิตวิทยาศาสตร์) และเพิ่มเติมความรู้ในกรณีที่ นักเรียนปฏิบัติได้ไม่ถูกต้อง 8. ทดสอบหลังเรียน 10. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 10.1 สื่อการเรียนรู้ 10.1.1 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ในชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิด ชุดที่ 1 10.1.2 ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สนามแม่เหล็กโลก 10.1.3 ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่องสนามแม่เหล็ก 10.2 แหล่งเรียนรู้ 10.2.1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
  • 10. 10 11. การวัดและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือที่ใช้วัด วิธีวัด เกณฑ์การวัด 1. กระบวนการ แบบตรวจสอบ ตรวจสอบตามแบบ 9.76 - 12.00 ดีมาก สืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสืบเสาะ ตรวจสอบกระบวนการ 7.51 - 9.75 ดี (P วิชา) แสวงหาความรู้ สืบเสาะแสวงหาความรู้ 5.26 - 7.50 พอใช้ 3.0-5.25 ต้องปรับปรุง 2. ความสามารถด้าน กิจกรรมที่ 1-4 และ ตรวจผลการทา ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การคิด (P การคิด) ใบงานที่ 1-6 ในชุด กิจกรรม และผลการ กิจกรรมเพื่อพัฒนา ทาใบงาน ทักษะการคิด 3.ความรู้ก่อน-หลัง แบบทดสอบก่อน- ทดสอบ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรียน (K) หลังเรียน 4. คุณลักษณะอันพึง แบบสะท้อนผล สังเกตการสะท้อนผล ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น ประสงค์ (A) คาพูดเชิงบวก
  • 11. 11 บันทึกหลังการสอน 1. บันทึกผลหลังสอน 1.1 ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 1.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 1.3 แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................... (นายนิวัติ ยอดมูลดี) ผู้สอน 2. ความคิดเห็นของผู้นิเทศที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................... ( ) 3. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.............................................. ( นายศรีวาท ชานาญชัย ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแซววิทยาคม