SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
703
แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
เพื่อสร้างคุณลักษณะ
ดี เก่ง มีสุข
๖
หน่วยการเรียนรู้ที่
มรดกไทย
เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น ป.๔ - ๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
704
การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
การกำ�จัดแมลง
และศัตรูพืช
การจำ�แนกสาร
การเปลี่ยนแปลงสาร
สารปรุงรสอาหาร
สารแต่งสีอาหาร
สารทำ�ความสะอาด
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสาร
การละลายสาร
การเกิดสารใหม่
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
705
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๓.๑	 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๖/๑	 ทดลองและอธิบายสมบัติของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ป. ๖/๒	 จำ�แนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่นที่กำ�หนดเอง
ป. ๖/๓	 ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง
การระเหิด การระเหยแห้ง
ป. ๖/๔	 สำ�รวจและจำ�แนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์
ของสารเป็นเกณฑ์
ป. ๖/๕	 อภิปรายเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๓.๒	 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ
เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๖/๑	 ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำ�ให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
ป. ๖/๓	 อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๒.	กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้
	 ๑.	 การเปลี่ยนแปลงของสาร ได้แก่ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดสารใหม่
	 ๒.	 เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารละลายและเปลี่ยนสถานะ สารนั้นยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมอยู่
ถ้าเป็นการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
	 ๓.	 การทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำ�วันได้
	 ๔.	 สารบางชนิดที่ผสมกันอยู่ ถ้าต้องแยกออกจากกัน ต้องใช้วิธีการเหมาะสม เช่น การร่อนด้วยตะแกรง
การกรอง การทำ�ให้ตกตะกอน การโครมาโตรกราฟฟี การระเหิด การระเหยแห้ง
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
706
	 ๕.	 สารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีหลายประเภท การนำ�สารแต่ละประเภทไปใช้ประโยชน์ ต้องเลือกใช้
ด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลอดภัย และตระหนักถึงสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น
ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์
	 ๒.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ
	 	 –	 การละลายสาร
	 	 –	 การเกิดสารใหม่
	 	 –	 การแยกสารเนื้อผสม
	 	 –	 การแยกสารเนื้อเดียว
	 	 –	 การจำ�แนกประเภทสารในชีวิตประจำ�วัน
	 	 –	 สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
	 ๓.	 ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย
	 	 –	 เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์
	 	 –	 ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น
	 	 –	 มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง
๔.	การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
คณิตศาสตร์
การบันทึกข้อมูล
การทดลอง
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
ออกแบบประดิษฐ์
เครื่องกรองนํ้าอย่างง่าย
ศิลปะ
วาดภาพการทดลอง
ภาษาอังกฤษ
คำ�ศัพท์เกี่ยวกับสารที่ใช้
ในชีวิตประจำ�วัน
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
707
๘
๗
๖
๕ ๔
๓
๒
๑
๕.	การวางแผนการจัดการเรียนรู้
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
	 ๑.	 ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้าการเกิดสารใหม่
การแยกสาร การจำ�แนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย
	 ๒.	 นักเรียนร่วมกันอภิปรายสารในชีวิตประจำ�วันได้แก่การเปลี่ยนแปลงสารการแยกสารและการจำ�แนกสาร
ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย เขียนเป็น Mind Mapping
	 ๓.	 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร การแยกสาร การใช้สารในชีวิตประจำ�วัน
	 ๔.	 นักเรียนปฏิบัติการทดลองเรื่อง
	 	 –	 การละลายสาร
	 	 –	 การเกิดสารใหม่
	 	 –	 การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสารเนื้อผสม
	 	 –	 การตรวจสอบสารปรุงแต่งอาหาร
	 ๕.	 นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย
	 ๖.	 นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
ครูสนทนากับนักเรียน
เกี่ยวกับสารในชีวิตประจำ�วัน
ในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้า
–ซักถามการเกิดสารใหม่
–ซักถามการแยกสาร
–ซักถามการจำ�แนกสาร
นักเรียนปฏิบัติ
การทดลองเรื่อง
–การละลายสาร
–การเกิดสารใหม่
–การแยกสาร
–การทดสอบ
	 สารปรุงแต่งอาหาร
นักเรียนนำ�เสนอผลการ
ทดลอง
–	 นักเรียนปฏิบัติตาม
	 กิจกรรมใบงาน
	 ที่ครูมอบหมาย
นักเรียนสร้างชิ้นงานตาม
ความสนใจทำ�โครงงาน
	
นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง
–	 ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง
	 ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
ครูและนักเรียนประเมิน
ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัดแสดง
    ในชั้นเรียนและแลกเปลี่ยน
             ความรู้ซึ่งกันและกัน
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลการ
เปลี่ยนแปลงของสารการแยกสาร
         และการจำ�แนกสาร
                 การใช้สารให้ปลอดภัย
              นักเรียนอภิปรายสารในชีวิต
         ประจำ�วันมีการเปลี่ยนแปลงสาร
การแยกสารและจำ�แนกสารได้อย่างไรให้
นักเรียนเขียนMindMapping
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
708
	 ๗.	 นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ
	 ๘.	 ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน
	 ๙.	 นำ�ผลงานมาจัดและแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
๗.	รายการอุปกรณ์ประกอบหนังสือวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖
	 เรื่อง สารและสมบัติของสาร
ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม
ราคา
โดยประมาณ
หมายเหตุ
๑ เส้นเอ็น ๑ ม้วน ๖๐ cm. ๕๐
๒ เส้นด้าย ๑ หลอด ๖๐ cm. ๕๐
๓ แถบยางยืด ๑ ห่อ ๖๐ cm. ๓๐
๔ ชุดทดลองการถ่ายโอนความร้อน ๑ ชุด ๑๕๐
๕ สายไฟ และคลิปปากจระเข้ ๑ ชุด ๓๐
๖ ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะใส่ไฟฉาย ๑ ชุด ๑๐๐
๗ กระดาษลิตมัสสีแดง ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐
๘ กระดาษลิตมัสสีนํ้าเงิน ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐
๙ กระบอกตวง ๑๐๐ ml ๑ อัน ๒๑๐
๑๐ บีกเกอร์ ๒๕๐ ml Pyrex ๑ ใบ
ธรรมดา ๑ ใบ
๑๐๗
๗๘
๑๑ บีกเกอร์ ๑๐๐ ml ๕ ใบ ๓๖๕
๑๒ หลอดทดลอง ๑๐ ml ๕ หลอด ๕๐
๑๓ หลอดหยด ๒ อัน ๖
๑๔ ช้อนตักสารเบอร์ ๒ ๑ อัน ๒
๑๕ ลูกโป่งแบบต่างๆ ๑ ถุง ๕๐
๑๖ ผงฟู ๑ ถุง ๕๐
๑๗ กระดาษอะลูมิเนียม ๑๐ × ๑๐ cm. ๗๕
๑๘ ตะเกียงแอลกอฮอล์, ที่กั้นลม, ตะแกรงลวด ๑ ชุด ๙๑
๑๙ เทอร์มอมิเตอร์ ๑ อัน ๑๐๐
๒๐ สายวัด ๑ เส้น ๒๐
๒๑ แท่งแก้วคน ๑ อัน ๑๒
๒๒ กรวยแก้ว ๑ อัน ๔๗
๒๓ กระดาษกรอง wattman No. ๙๓ ๑ กล่อง ๑ แผ่น ๑๓๒
๒๔ เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง ๕๑๐
๒๕ ถุงพลาสติก ½ Kg. ๒ ถุง ๕๐
๒๖ หลอดดูดพลาสติก ๑ ห่อ ๑ หลอด ๒๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
709
ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม
ราคา
โดยประมาณ
หมายเหตุ
๒๗ ไม้จิ้มฟัน ๑ ห่อ ๕ อัน ๑๒
๒๘ จานหลุมพลาสติก ๑ จาน ๒๐
๒๙ ลวดหนีบกระดาษ ๑ กล่อง ๕ ตัว ๑๕
๓๐ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ๒๕๐ กรัม ๒๓
๓๑ กระบอกตวง ๑๐ ml ๑ อัน ๑๖๕
๓๒ โซดาซักผ้า ๑ ขวด ๓๕
๓๓ ถ้วยยูรีกา ๑ ใบ ๔๕
๓๔ นํ้าส้มสายชู ๑ ขวด ๒๐
๓๕ มะนาว ๓ ผล ๒๕
๓๖ นํ้าอัดลม ๑ ขวด ๑๒
๓๗ สบู่ ๑ ก้อน ๑๐
๓๘ ผงซักฟอก ๑ ห่อ ๑๐
๓๙ ซอสมะเขือเทศ ๑ ขวด ๓๐
๔๐ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดนํ้า ๑ ขวด ๖๐
๔๑ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดผง ๑ ขวด ๖๐
๔๒ นํ้าปลา ๑ ขวด ๑๕
๔๓ แชมพูสระผม ๑ ขวด ๒๐
รวม ๓,๑๒๒ บาท
๘.	การประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑.	 สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกต การสัมภาษณ์
๒.	ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง
	 ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม
๓.	การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน การสังเกต แบบประเมินผลงาน
ผู้ประเมิน
–	 นักเรียนและเพื่อนนักเรียน
–	 ครู
–	 ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
710
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
711
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การละลาย
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๑
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารที่ใช้ทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ชนิดของสารผสม
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
หลอดที่ ๑
นํ้าตาล + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๒
เกลือ + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๓
ทราย + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๔
ดิน + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการละลายได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
712
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การเกิดสารใหม่
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๒
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วิธีทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ใส่ผงฟูลงในนํ้าส้มสายชู ..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
หยดสารละลายแอมโมเนียหอม
ลงในสารละลายจุนสี
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
หยดนํ้าปูนใสลงใน
สารละลายผงฟู
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
ผสมปุ๋ยแอมโมเนียมกับปูนขาว ..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการเกิดสารใหม่ได้ว่าอย่างไไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
713
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๓
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง
ลักษณะของนํ้าที่สังเกตได้
ภาชนะใบที่ ๑ ภาชนะใบที่ ๒
๑.	 ตักนํ้าจากแหล่งนํ้าใส่ในภาชนะ ๒ ใบ
๒.	แกว่งสารส้มในภาชนะใบที่ ๑ จำ�นวน ๑๐ ครั้ง
	 ภาชนะใบที่ ๒ ไม่ได้แกว่งสารส้ม ตั้งไว้ ๑๐ นาที
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
714
ตอนที่ ๒	 ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารเนื้อผสม วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้
๑.	 ขนมสาคูถั่วดำ� ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๒.	พิมเสนกับเกลือ ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๓.	ดินกับนํ้า ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๔.	นํ้าขุ่นจากคลอง ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๕.	นํ้ามันกับนํ้า ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อผสมได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
715
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การแยกสารเนื้อเดียวหรือสารละลาย
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๔
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารที่ใช้ทดลอง วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้
สารละลายเกลือ
สารละลายนํ้าตาล
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อเดียวได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
716
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การจำ�แนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๕
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตอนที่ ๑	 ตารางบันทึกข้อมูลและผลการทดลอง
ชื่อสาร การใช้ประโยชน์
สมบัติของสาร
ความเป็นกรด - เบส อื่นๆ
	 ๑.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๒.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๓.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๔.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๕.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๖.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๗.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๘.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๙.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๑๐.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
717
ตอนที่ ๒
	 ๑.	 เกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนกคือ
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 จำ�แนกได้เป็นกี่ประเภท
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 แผนภาพการจำ�แนกสารเป็นดังนี้
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
718
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๖
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
เวลา
การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้าส้มสายชู ๒.๕% ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้า
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
719
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารทำ�ความสะอาด
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๗
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 สารทำ�ความสะอาดถ้าจำ�แนกตามลักษณะการนำ�ไปใช้ประโยชน์ จะจำ�แนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
	 	 ๑.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๒.	...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๓.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๔.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 สารทำ�ความสะอาดมีทั้งชนิดที่เป็น.......................................................................................เป็น........................................................................................
	 	 และเป็น........................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ข้อควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการใช้ทำ�ความสะอาดห้องนํ้าและเครื่องสุขภัณฑ์ คือ
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
720
ตอนที่ ๒	 ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
๑.	 หยดนํ้ามันพืชลงในนํ้าแล้วเขย่า ...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒.	หยดแชมพูสระผสม นํ้าสบู่ นํ้ายาล้างจาน และ
นํ้าผงซักฟอก ลงในกล่องที่ ๒ ๓ ๔ และ ๕
แล้วเขย่า และเปรียบเทียบกับกล่องที่ ๑
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๓.	เทของเหลวออกจากกล่องพลาสติกทั้ง ๕ กล่อง
เติมนํ้าให้เต็มแล้วเทออกทำ�ซํ้า๒-๓ครั้งเปรียบ
เทียบคราบนํ้ามันที่ติดอยู่ในกล่องพลาสติก
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
721
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๘
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
บ้านนักเรียนคนที่
ระยะเวลาที่ใช้
สารกำ�จัดแมลง ๑ กระป๋อง
คิดเป็นจำ�นวน
กระป๋อง / เดือน
คิดเป็นจำ�นวน
กระป๋อง / ปี (× ๑๒ เดือน)
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
สรุปเกี่ยวกับการใช้สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืชได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
722
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสาตร์
เรื่อง สารละลาย
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
การละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็น
	 ของแข็งกับของเหลว (นํ้า) เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
	 ของเหลวกับของเหลว (นํ้า) เช่น แอลกอฮอล์เช็ดแผล
	 ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก (ทองคำ� + ทองแดง) ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี)
	 ของเหลว (นํ้า) กับแก๊ส เช่น นํ้าอัดลม
	 แก๊สกับแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (ปราศจากฝุ่นละออง)
สารบางชนิดละลายในนํ้าได้ดีจะมองเห็นเป็นเนื้อเดียวกับนํ้าเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียวนี้ว่า สารละลาย
ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วน โดยไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรและเมื่อนำ�ส่วนใดส่วนหนึ่งของสารผสมนี้
ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกประการ ตัวอย่างเช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าโซดา
สารบางชนิดเมื่อนำ�ไปละลายในนํ้าจะลายได้บางส่วน ส่วนใหญ่จะไม่ละลาย เนื้อสารจะไม่เหมือนกันทุกส่วน
เรียกสารที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า สารเนื้อผสม
สารเนื้อผสมที่มีอนุภาคเล็กๆ กระจายอยู่ในของเหลวหรือแก๊ส เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น นํ้าคลอง นํ้าโคลน
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
๑.	 สารละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็นของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับ
ของเหลวของแข็งกับของแข็งแก๊สกับแก๊สสารบางชนิดผสมกันได้ดีจนมองเห็นเป็นเนื้อเดียวเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อ
เดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วนไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรโดยทั่วไปสารละลายมีทั้ง
ที่เป็นของแข็งของเหลวและแก๊สตัวอย่างสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวเช่นนํ้าเกลือนํ้าเชื่อมสารละลายที่มีสถานะ
เป็นของแข็ง เช่น นาก ทองเหลือง สารละลายที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ที่ปราศจากฝุ่นละอองและควัน
	 สารละลายจึงประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำ�ละลาย เช่น
	 	 นํ้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือเป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย
	 	 นาก ประกอบด้วย ทองคำ�เป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย
	 	 อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่นๆ เป็นตัวละลายและแก๊สไนโตรเจนเป็นตัวทำ�ละลาย
	 การชี้บ่งว่า สารใดเป็นตัวละลายและสารใดเป็นตัวทำ�ละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
723
	 ๑.	 ถ้าตัวละลายและตัวทำ�ละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มี
สถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทำ�ละลายและ
สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย
	 ๒.	ถ้าตัวทำ�ละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกันสารที่
มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มีปริมาณ
มากกว่าเรียกว่าตัวทำ�ละลาย
	 สารละลายยังแสดงสมบัติของสารเดิมและสามารถทำ�ให้
กลับเป็นสารเดิมได้ด้วยวิธีที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับสมบััติของสารที่เป็น
ส่วนประกอบ
๒.	ปัจจุบันนิยมใช้ผงซักฟอกในการซักล้างกันอย่างกว้างขวาง
ผงซักฟอกประกอบด้วยสารหลายชนิดผสมกันอยู่ผงซักฟอกบางชนิด
จุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดการซักล้าง จะทำ�ให้สาหร่าย
และวัชพืชต่างๆในนํ้าเจริญงอกงามและแพร่พันธ์ุอย่างรวดเร็วเมื่อสาหร่าย
เหล่านี้ตายจะถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียชนิดใช้ออกซิเจนทำ�ให้นํ้าขาด
ออกซิเจนและสัตว์นํ้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางภาวะ
มลพิษ ระบบนิเวศ การชลประทาน การเกษตร ตลอดจนการคมนาคม
๓.	 ในปัจจุบันเกษตรกรใช้ปุ๋ยและสารกำ�จัดศัตรูพืชมากเกิน
ความจำ�เป็นซึ่งบางชนิดสลายตัวยากและกระจายตกค้างอยู่บนดินเมื่อถูก
ฝนชะล้างลงไปในแม่นํ้าลำ�คลองทำ�ให้สัตว์นํ้าได้รับอันตรายถึงตายถ้าได้รับ
ในปริมาณมากแต่ถ้ามีปริมาณไม่มากพอก็จะสะสมอยู่ในตัวสัตว์เมื่อคนกิน
สัตว์เหล่านั้นเข้าไป สารกำ�จัดศัตรูพืชก็จะเข้าไปสะสมอยู่ในร่างกายได้
๔.	 นํ้ากระด้าง คือ นํ้าที่ไม่ทำ�ฟองกับสบู่ โดยทั่วไปจะพบว่ามี
สารหลายชนิดละลายอยู่ในนํ้า เช่น แคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอ
ไรด์ แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
แมกนีเซียมไฮโดรเจน-คาร์บอเนต ซึ่งสารเหล่านี้เมื่อทำ�ปฏิกิริยากับสบู่จะ
เกิดตะกอน ทำ�ให้เสื้อผ้าสกปรกและถ้าดื่มนํ้ากระด้างเป็นประจำ�จะทำ�ให้
เป็นนิ่วได้
	 นํ้ากระด้างมี ๒ ชนิด คือ
	 –	 นํ้ากระด้างชั่วคราวเป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมไฮโดรเจน
คาร์บอเนต และแมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลาย
อยู่สามารถทำ�ให้หายกระด้างได้โดยการต้ม
	 –	 นํ้ากระด้างถาวร เป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมคลอไรด์
แมกนีเซียมคลอไรด์แคลเซียมซัลเฟตและแมกนีเซียม
ซัลเฟตละลายอยู่ทำ�ให้หายกระด้างโดยการเติมโซดาซักผ้า
ลงในนํ้ากระด้าง แล้วกรองตะกอนออก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
724
๕.	 ฝนกรดเกิดจากนํ้าฝนละลายแก๊สที่เป็น
ออกไซด์ของกำ�มะถัน ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซัลเฟอร์
ไตรออกไซด์และแก๊สที่เป็นออกไซด์ของไนโตรเจน ได้แก่
ไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีอยู่ในอากาศบริเวณที่เป็นโรงงาน
อุตสาหกรรมเช่นโรงไฟฟ้าถ่านหินโรงแยกแก๊สเกิดเป็นกรด
กำ�มะถัน หรือกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริกซึ่งเป็นอันตราย
ต่อพืชและต่อมนุษย์
ข้อเสนอแนะ
๑.	 ถ้าไม่มีนํ้าคลองให้ใช้ดินละเอียดละลายในนํ้า
๒.	ทรายที่นำ�มาใช้ในการทดลองควรล้างด้วยนํ้าเพื่อแยกเศษผงที่ปะปนอยู่ออกให้หมดเพื่อว่าเมื่อใส่ลงในนํ้าจะ
ทำ�ให้นํ้าส่วนบนใส
๓.	 การทำ�เครื่องกรองนํ้าอย่างง่ายครูควรมอบหมายให้นักเรียนช่วยกันทำ�เป็นกลุ่มแล้วมานำ�เสนอพร้อมทั้งให้
ทดลองกรองนํ้าเพื่อดูประสิทธิภาพในการทำ�งานของเครื่องกรองด้วย
ประเมินผล
๑.	 ประเมินจากการร่วมอภิปรายทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลและสรุปผลการทำ�กิจกรรม
๓.	 ประเมินจากรายงานการสืบค้นข้อมูล
๔.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๔.๑	 จงเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เฉลย
การป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีดังนี้
๑.	 ใช้ผงซักฟอกหรือสารซักล้างในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้เหลือสารซักล้างในนํ้าทิ้งน้อยที่สุด
๒.	ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกำ�จัดศัตรูพืช
๓.	 โรงงานอุตสาหกรรมควรมีเครื่องกำ�จัดแก๊สที่เป็นอันตรายก่อนออกสู่บรรยากาศ
๔.	 จัดระบบปรับคุณภาพของนํ้าหรือสร้างบ่อพักสำ�หรับรับนํ้าที่ระบายจากบ้านเรือนมาผ่านกระบวนการเพื่อ
ลดปริมาณสารที่ไม่พึงประสงค์ทั้งหลายก่อนแล้วจึงระบายลงสู่แม่นํ้าลำ�คลอง โดยประชาชนทุกคนควรมีส่วนรับผิดชอบ
ร่วมกับหน่วยงานของรัฐ
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
725
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อผสมสาร ๒ ชนิด เข้าด้วยกัน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เช่น มีแก๊สเกิดขึ้น สีของสารเปลี่ยนไป มีตะกอน
หรือมีกลิ่นเกิดขึ้นบางครั้งอาจมีความร้อน เสียง หรือแสงเกิดขึ้นด้วย ลักษณะต่างๆ เหล่านี้คือ การเกิดสารใหม่ หรือเรียก
อีกอย่างว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมและไม่
สามารถทำ�ให้กลับเป็นสารเดิมได้
การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีอาจเกิดขึ้นเองหรือมนุษย์ทำ�ให้เกิดขึ้น สารใหม่ที่ได้สามารถนำ�ไปใช้
ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย แต่ถ้าใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องและไม่ระมัดระวังก็อาจเกิดอันตรายได้ ซึ่งจะมีผลต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ
๑.	 จุนสีที่ใช้ควรเป็นชนิดผงละเอียดและสะอาดถ้าเป็นก้อนควรบดให้ละเอียดโดยใช้โกร่งบดเพื่อจะตวงโดยใช้
ช้อนตวงได้
๒.	แอมโมเนียหอม ซึ่งได้จากร้านขายยาทั่วไป
๓.	 การเตรียมนํ้าปูนใสเพื่อเก็บไว้ใช้ได้นานๆ ควรเตรียมในกล่องพลาสติกที่มีฝาปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเข้าทำ�ปฏิกิริยาได้ โดยตักปูนขาวใส่ในกล่องพลาสติกขนาดใดก็ได้ ประมาณของกล่อง เติม
นํ้าให้เกือบเต็มกล่องใช้แท่งแก้วคนให้ทั่วสักครู่จึงปิดฝากล่องแล้วตั้งไว้ข้ามคืนเมื่อต้องการใช้ก็เปิดฝากล่องแล้วรินหรือ
ดูดเฉพาะส่วนที่ใสออกมา แล้วรีบปิดฝากล่องทันทีเมื่อใช้เสร็จเพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
ประเมินผล
๑.	 ประเมินจากความร่วมมือในการทำ�การทดลองและอภิปรายผลการทดลอง
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลและลงข้อสรุปการทำ�กิจกรรม
๓.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ (ดูเฉลยท้ายบท)
๑.	 การเปลี่ยนแปลงของสารมีกี่ลักษณะอะไรบ้าง
๒.	การเปลี่ยนแปลงลักษณะใดสามารถทำ�ให้กลับคืนเป็นสารเดิมได้
๓.	นาเกลือเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด
๔.	 การเผาถ่านไม้เพื่อให้ความร้อนการเกิดฝนกรดเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด
๕.	 จงยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
726
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อผสมสารเข้าด้วยกัน สารผสมที่ได้อาจจะเป็นสารเนื้อผสมหรือสารละลายซึ่งเป็นสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
อาจจะเป็นของแข็งผสมกับของแข็็งของแข็งผสมกับของเหลวของเหลวผสมกับของเหลวส่วนสารละลายอาจจะเกิดจาก
ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง หรือแก๊สละลายในของเหลว
การแยกสารเนื้อผสมอาจทำ�ได้โดยวิธีต่างๆ กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจนใช้วิธีเลือกออก
หรือหยิบออก
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันแยกโดยการร่อน
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้แยกโดยการระเหิด
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวแยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรองทั้งนี้ของแข็ง
ต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอยแยกโดยวิธี การ
ทำ�ให้ตกตะกอน
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลวแยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้นแล้วรินหรือซ้อนออกจากกัน
ประเมินผล
๑.	 ประเมินผลจากการอภิปรายภายในกลุ่มและในชั้นเรียน
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลการทดลอง
๓.	 ประเมินจากรายงานการทำ�โครงงาน
๔.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๔.๑	 วิธีแยกพิมเสนอออกจากเกลือ นอกจากจะใช้วิธีการระเหิดแล้วอาจใช้วิธีอื่นได้หรือไม่ (เกลือละลายในนํ้า
แต่พิมเสนไม่ละลาย)
๔.๒	 ในการทำ�ขนมที่มีแป้งเป็นส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร
เฉลย
๔.๑	 วิธีแยกพิมเสนออกจากเกลือนอกจากโดยวิธีการระเหิด แล้วอาจแยกโดยวิธีการนำ�สารผสมไปละลาย
นํ้า พิมเสนไม่ละลายในนํ้า แต่เกลือละลายได้ในนํ้าจึงแยกพิมเสนออกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง
พิมเสนจะติดอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนสารละลายที่กรองได้จะมีเกลือละลายอยู่ ซึ่งนำ�มาแยกเกลือออก
จากสารละลาย โดยวิธีการระเหยแห้ง
๔.๒	 ในการทำ�ขนมที่มีแป้งส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อแยกแป้งที่มีก้อนขนาดใหญ่ออกเหลือแต่
แป้งเม็ดละเอียด ซึ่งจะทำ�ให้เนื้อขนมละเอียดและนุ่ม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
727
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด ผสมกัน อาจเป็นของแข็งกับของเหลว เช่น
นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
ของเหลวกับของเหลวเช่น แอลกอฮอล์ ๗๐% ใช้เช็ดแผลเป็นสารผสมระหว่างเอทิลแอลกอฮอล์ ๗๐ ส่วน
กับนํ้า ๓๐ ส่วน โดยปริมาตร
แก๊สกับของเหลว เช่น นํ้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูงลงไปในนํ้าหวาน
ของแข็งกับของแข็งเช่นนากทองเหลืองซึ่งนากเป็นสารผสมระหว่างทองคำ�กับทองแดงส่วนทองเหลืองเป็น
ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี
การแยกสารละลายแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบจึงต้องแยกด้วยวิธีการต่างๆ กัน
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีมากมายเป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคสารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น
สารเคมีเมื่อพิจารณาตามการนำ�ไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจำ�แนกเป็นประเภทใหญ่ๆ
ได้แก่ สารปรุงรสอาหาร และสารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
การใช้สารในชีวิตประจำ�วันต้องเลือกใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์และต้องใช้อย่างถูกต้อง เพื่อความปลอดภัย
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรด - เบส สามารถ
ใช้กระดาษลิตมัสหรือนํ้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ
สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็น
กรด เช่น นํ้ามะนาว นํ้าส้มสายชู นํ้ามะขาม นํ้าผลไม้ต่างๆ
สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็นเบส
เช่น นํ้าสบู่ นํ้าผงซักฟอก นํ้าขี้เถ้า นํ้ายาล้างจาน แต่นํ้ายาล้างจานชนิดที่ผสมนะนาวจะสมบัติเป็นกรด
สารที่มีสมบัติเป็นกลางจะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีนํ้าเงิน เช่น นํ้า นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรด - เบส ของสารแล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ตรวจสอบ
ความเป็นกรด - เบสของสารอีก เช่น กระดาษ pH
นักวิทยาศาสตร์ใช้เลข ๐ - ๑๔ แสดงค่าความเป็น กรด - เบส ของสารซึ่งเรียกค่านี้ว่า ค่า pH
กระดาษลิตมัส
pH มิเตอร์ กระดาษ pH
	 ๐	 ๗	 ๑๔
	 กรด	 กลาง	 เบส
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
728
การประเมินผล
๑.	 ประเมินผลจากความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลภายในกลุ่ม
๒.	ประเมินผลจากความตั้งใจในการนำ�เสนอข้อมูลในชั้นเรียน
๓.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๓.๑	 สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
๓.๒	เกณฑ์ที่นักเรียนคิดว่าจะนำ�มาใช้จำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วัน มีอะไรบ้าง
เฉลย
๓.๑	 สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
	 –	 สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร
	 –	 สารทำ�ความสะอาด
	 –	 สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
๓.๒	 เกณฑ์ที่นำ�มาใช้ในการจำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วันอาจเป็นดังนี้
	 –	 กินได้/กินไม่ได้
	 –	 มีสี/ไม่มีสี
	 –	 เป็นกรด/เบส/กลาง
	 –	 ใช้ในครัว/ใช้ในห้องนํ้า
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
729
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความเป็นกรดเป็นด่าง
สารที่สมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๐-๖ สารที่มีสมบััติเป็นเบสมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๘ - ๑๔ สารที่มี
สมบัติเป็นกลางมีค่า pH เท่ากับ ๗
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัส นํ้าสี
ที่สกัดจากพืชธรรมชาติยูนิเวอแซลอินดิเคเตอร์ กระดาษ pH  pH มิเตอร์ สารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด - เบส เรียกว่า
อินดิเคเตอร์ (indicator)
สารที่มีสมบัติเป็นกรด (acid) คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เช่น
กรดนํ้าส้ม หรือกรดแอซีติก (acetic acid) มีสูตรโมเลกุลคือ CH3 COOH เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ H+ ดังนี้
	 CH3 COOH	 →	 CH3 COO– + H+
นํ้าส้มสายชูจึงมีสมบัติเป็นกรดเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงินเป็นสีแดง เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์
จะได้ตัวเลขที่มีค่าตํ่ากว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสี
กระดาษ pH จากเหลืองเป็นส้มหรือแดง ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของกรด สีของ
กระดาษ pH ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับแถบสีบนตลับก็จะทราบค่า
pH ของสารนั้น
สารที่มีสมบัติเป็นเบส(base)คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถ
แตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) เช่น นํ้าขี้เถ้า มีชื่อทางเคมีว่า โพแทสเซียม
ไฮดรอกไซด์ (potassiumhydroxide, KOH) เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้
OH– ดังนี้
	 KOH	 → 	K+ + OH–
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
730
นํ้าขี้เถ้าจึงมีสมบัติเป็นเบสเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนํ้าเงิน
เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์จะได้ตัวเลขที่มีค่ามากกว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสีกระดาษ pH จาก
สีเหลืองเป็นสีเขียวหรือนํ้าเงินตามลำ�ดับความเข้มข้นของเบส และเมื่อนำ�สีที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกับแถบ
สีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารที่ทดสอบได้
ข้อเสนอแนะ
๑.	 รายชื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่สำ�รวจได้จากบ้านของนักเรียนแต่ละกลุ่มอาจจะมากน้อยไม่เท่ากันและ
ไม่เหมือนกันบางกลุ่มอาจจะสำ�รวจมาได้มาก บางกลุ่มอาจจะได้น้อยขึ้นอยู่กับครอบครัวของนักเรียนแต่ละคนใน
แต่ละกลุ่ม
๒.	ครูควรนำ�สารต่างๆ มาทำ�ให้เป็นสารละลายใส่ไว้ในบีกเกอร์ สำ�หรับให้นักเรียนใช้ร่วมกันทั้งห้องเพื่อ
ประหยัดเวลาและเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยเตรียมสารไว้ประมาณ ๓ ชุด/ห้องเรียนและควรใส่ไม้จิ้มฟันไว้ใน
บีกเกอร์สารละลายแต่ละชนิดชนิดละ ๑ อัน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากสารอื่น
w w w w w w w w
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06

More Related Content

What's hot

โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวUdom Tepprasit
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (14)

โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
932 pre10
932 pre10932 pre10
932 pre10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 

Viewers also liked

แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...Prachoom Rangkasikorn
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 

Viewers also liked (6)

6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 

Similar to ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06

นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4Koksi Vocation
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1jutarattubtim
 
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjY e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1cookie47
 

Similar to ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06 (20)

นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
 
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdjY e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
Y e5pf1nfrp6r uvdw6zams3ppdeywjm56geu9dtuxsd0sjoopop8yk46onp2qiwdj
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ชุด 1
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u06

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 703 แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างคุณลักษณะ ดี เก่ง มีสุข ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ มรดกไทย เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.๔ - ๖
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 704 การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้ มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน) การกำ�จัดแมลง และศัตรูพืช การจำ�แนกสาร การเปลี่ยนแปลงสาร สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด การแยกสารเนื้อผสม การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสาร การละลายสาร การเกิดสารใหม่
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 705 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ป. ๖/๒ จำ�แนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่นที่กำ�หนดเอง ป. ๖/๓ ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด การระเหยแห้ง ป. ๖/๔ สำ�รวจและจำ�แนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์ ของสารเป็นเกณฑ์ ป. ๖/๕ อภิปรายเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ ป. ๖/๒ วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำ�ให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป ป. ๖/๓ อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๒. กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้ ๑. การเปลี่ยนแปลงของสาร ได้แก่ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดสารใหม่ ๒. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารละลายและเปลี่ยนสถานะ สารนั้นยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมอยู่ ถ้าเป็นการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ๓. การทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำ�วันได้ ๔. สารบางชนิดที่ผสมกันอยู่ ถ้าต้องแยกออกจากกัน ต้องใช้วิธีการเหมาะสม เช่น การร่อนด้วยตะแกรง การกรอง การทำ�ให้ตกตะกอน การโครมาโตรกราฟฟี การระเหิด การระเหยแห้ง แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๖
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 706 ๕. สารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีหลายประเภท การนำ�สารแต่ละประเภทไปใช้ประโยชน์ ต้องเลือกใช้ ด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลอดภัย และตระหนักถึงสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์ ๒. ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ – การละลายสาร – การเกิดสารใหม่ – การแยกสารเนื้อผสม – การแยกสารเนื้อเดียว – การจำ�แนกประเภทสารในชีวิตประจำ�วัน – สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ๓. ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย – เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ – ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น – มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง ๔. การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ คณิตศาสตร์ การบันทึกข้อมูล การทดลอง การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ออกแบบประดิษฐ์ เครื่องกรองนํ้าอย่างง่าย ศิลปะ วาดภาพการทดลอง ภาษาอังกฤษ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับสารที่ใช้ ในชีวิตประจำ�วัน มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน)
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 707 ๘ ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ๖. รายละเอียดของกิจกรรม ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้าการเกิดสารใหม่ การแยกสาร การจำ�แนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสารในชีวิตประจำ�วันได้แก่การเปลี่ยนแปลงสารการแยกสารและการจำ�แนกสาร ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย เขียนเป็น Mind Mapping ๓. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร การแยกสาร การใช้สารในชีวิตประจำ�วัน ๔. นักเรียนปฏิบัติการทดลองเรื่อง – การละลายสาร – การเกิดสารใหม่ – การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสารเนื้อผสม – การตรวจสอบสารปรุงแต่งอาหาร ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย ๖. นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับสารในชีวิตประจำ�วัน ในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้า –ซักถามการเกิดสารใหม่ –ซักถามการแยกสาร –ซักถามการจำ�แนกสาร นักเรียนปฏิบัติ การทดลองเรื่อง –การละลายสาร –การเกิดสารใหม่ –การแยกสาร –การทดสอบ สารปรุงแต่งอาหาร นักเรียนนำ�เสนอผลการ ทดลอง – นักเรียนปฏิบัติตาม กิจกรรมใบงาน ที่ครูมอบหมาย นักเรียนสร้างชิ้นงานตาม ความสนใจทำ�โครงงาน นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง – ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ครูและนักเรียนประเมิน ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัดแสดง ในชั้นเรียนและแลกเปลี่ยน ความรู้ซึ่งกันและกัน ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของสารการแยกสาร และการจำ�แนกสาร การใช้สารให้ปลอดภัย นักเรียนอภิปรายสารในชีวิต ประจำ�วันมีการเปลี่ยนแปลงสาร การแยกสารและจำ�แนกสารได้อย่างไรให้ นักเรียนเขียนMindMapping มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน)
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 708 ๗. นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ ๘. ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน ๙. นำ�ผลงานมาจัดและแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ๗. รายการอุปกรณ์ประกอบหนังสือวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม ราคา โดยประมาณ หมายเหตุ ๑ เส้นเอ็น ๑ ม้วน ๖๐ cm. ๕๐ ๒ เส้นด้าย ๑ หลอด ๖๐ cm. ๕๐ ๓ แถบยางยืด ๑ ห่อ ๖๐ cm. ๓๐ ๔ ชุดทดลองการถ่ายโอนความร้อน ๑ ชุด ๑๕๐ ๕ สายไฟ และคลิปปากจระเข้ ๑ ชุด ๓๐ ๖ ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะใส่ไฟฉาย ๑ ชุด ๑๐๐ ๗ กระดาษลิตมัสสีแดง ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐ ๘ กระดาษลิตมัสสีนํ้าเงิน ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐ ๙ กระบอกตวง ๑๐๐ ml ๑ อัน ๒๑๐ ๑๐ บีกเกอร์ ๒๕๐ ml Pyrex ๑ ใบ ธรรมดา ๑ ใบ ๑๐๗ ๗๘ ๑๑ บีกเกอร์ ๑๐๐ ml ๕ ใบ ๓๖๕ ๑๒ หลอดทดลอง ๑๐ ml ๕ หลอด ๕๐ ๑๓ หลอดหยด ๒ อัน ๖ ๑๔ ช้อนตักสารเบอร์ ๒ ๑ อัน ๒ ๑๕ ลูกโป่งแบบต่างๆ ๑ ถุง ๕๐ ๑๖ ผงฟู ๑ ถุง ๕๐ ๑๗ กระดาษอะลูมิเนียม ๑๐ × ๑๐ cm. ๗๕ ๑๘ ตะเกียงแอลกอฮอล์, ที่กั้นลม, ตะแกรงลวด ๑ ชุด ๙๑ ๑๙ เทอร์มอมิเตอร์ ๑ อัน ๑๐๐ ๒๐ สายวัด ๑ เส้น ๒๐ ๒๑ แท่งแก้วคน ๑ อัน ๑๒ ๒๒ กรวยแก้ว ๑ อัน ๔๗ ๒๓ กระดาษกรอง wattman No. ๙๓ ๑ กล่อง ๑ แผ่น ๑๓๒ ๒๔ เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง ๕๑๐ ๒๕ ถุงพลาสติก ½ Kg. ๒ ถุง ๕๐ ๒๖ หลอดดูดพลาสติก ๑ ห่อ ๑ หลอด ๒๐
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 709 ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม ราคา โดยประมาณ หมายเหตุ ๒๗ ไม้จิ้มฟัน ๑ ห่อ ๕ อัน ๑๒ ๒๘ จานหลุมพลาสติก ๑ จาน ๒๐ ๒๙ ลวดหนีบกระดาษ ๑ กล่อง ๕ ตัว ๑๕ ๓๐ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ๒๕๐ กรัม ๒๓ ๓๑ กระบอกตวง ๑๐ ml ๑ อัน ๑๖๕ ๓๒ โซดาซักผ้า ๑ ขวด ๓๕ ๓๓ ถ้วยยูรีกา ๑ ใบ ๔๕ ๓๔ นํ้าส้มสายชู ๑ ขวด ๒๐ ๓๕ มะนาว ๓ ผล ๒๕ ๓๖ นํ้าอัดลม ๑ ขวด ๑๒ ๓๗ สบู่ ๑ ก้อน ๑๐ ๓๘ ผงซักฟอก ๑ ห่อ ๑๐ ๓๙ ซอสมะเขือเทศ ๑ ขวด ๓๐ ๔๐ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดนํ้า ๑ ขวด ๖๐ ๔๑ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดผง ๑ ขวด ๖๐ ๔๒ นํ้าปลา ๑ ขวด ๑๕ ๔๓ แชมพูสระผม ๑ ขวด ๒๐ รวม ๓,๑๒๒ บาท ๘. การประเมินตามสภาพจริง กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกต การสัมภาษณ์ ๒. ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม ๓. การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน การสังเกต แบบประเมินผลงาน ผู้ประเมิน – นักเรียนและเพื่อนนักเรียน – ครู – ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 710 ๙. สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 711 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การละลาย ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๑ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารที่ใช้ทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ชนิดของสารผสม สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม หลอดที่ ๑ นํ้าตาล + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๒ เกลือ + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๓ ทราย + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๔ ดิน + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการละลายได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 712 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การเกิดสารใหม่ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๒ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง วิธีทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ใส่ผงฟูลงในนํ้าส้มสายชู .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. หยดสารละลายแอมโมเนียหอม ลงในสารละลายจุนสี .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. หยดนํ้าปูนใสลงใน สารละลายผงฟู .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ผสมปุ๋ยแอมโมเนียมกับปูนขาว .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการเกิดสารใหม่ได้ว่าอย่างไไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 713 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๓ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง ลักษณะของนํ้าที่สังเกตได้ ภาชนะใบที่ ๑ ภาชนะใบที่ ๒ ๑. ตักนํ้าจากแหล่งนํ้าใส่ในภาชนะ ๒ ใบ ๒. แกว่งสารส้มในภาชนะใบที่ ๑ จำ�นวน ๑๐ ครั้ง ภาชนะใบที่ ๒ ไม่ได้แกว่งสารส้ม ตั้งไว้ ๑๐ นาที สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 714 ตอนที่ ๒ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารเนื้อผสม วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้ ๑. ขนมสาคูถั่วดำ� ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๒. พิมเสนกับเกลือ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๓. ดินกับนํ้า ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๔. นํ้าขุ่นจากคลอง ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๕. นํ้ามันกับนํ้า ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อผสมได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 715 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การแยกสารเนื้อเดียวหรือสารละลาย ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๔ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารที่ใช้ทดลอง วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้ สารละลายเกลือ สารละลายนํ้าตาล สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อเดียวได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 716 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การจำ�แนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๕ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตอนที่ ๑ ตารางบันทึกข้อมูลและผลการทดลอง ชื่อสาร การใช้ประโยชน์ สมบัติของสาร ความเป็นกรด - เบส อื่นๆ ๑. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๒. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๓. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๔. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๕. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๖. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๗. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๘. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๙. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๑๐. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 717 ตอนที่ ๒ ๑. เกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนกคือ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. จำ�แนกได้เป็นกี่ประเภท ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. แผนภาพการจำ�แนกสารเป็นดังนี้ w w w w w w w w
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 718 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๖ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง เวลา การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้าส้มสายชู ๒.๕% ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้า สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 719 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารทำ�ความสะอาด ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๗ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. สารทำ�ความสะอาดถ้าจำ�แนกตามลักษณะการนำ�ไปใช้ประโยชน์ จะจำ�แนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ๑. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. สารทำ�ความสะอาดมีทั้งชนิดที่เป็น.......................................................................................เป็น........................................................................................ และเป็น........................................................................................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการใช้ทำ�ความสะอาดห้องนํ้าและเครื่องสุขภัณฑ์ คือ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 720 ตอนที่ ๒ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ๑. หยดนํ้ามันพืชลงในนํ้าแล้วเขย่า ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๒. หยดแชมพูสระผสม นํ้าสบู่ นํ้ายาล้างจาน และ นํ้าผงซักฟอก ลงในกล่องที่ ๒ ๓ ๔ และ ๕ แล้วเขย่า และเปรียบเทียบกับกล่องที่ ๑ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๓. เทของเหลวออกจากกล่องพลาสติกทั้ง ๕ กล่อง เติมนํ้าให้เต็มแล้วเทออกทำ�ซํ้า๒-๓ครั้งเปรียบ เทียบคราบนํ้ามันที่ติดอยู่ในกล่องพลาสติก ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 721 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๘ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ บ้านนักเรียนคนที่ ระยะเวลาที่ใช้ สารกำ�จัดแมลง ๑ กระป๋อง คิดเป็นจำ�นวน กระป๋อง / เดือน คิดเป็นจำ�นวน กระป๋อง / ปี (× ๑๒ เดือน) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. สรุปเกี่ยวกับการใช้สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืชได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 722 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสาตร์ เรื่อง สารละลาย เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน การละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็น ของแข็งกับของเหลว (นํ้า) เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม ของเหลวกับของเหลว (นํ้า) เช่น แอลกอฮอล์เช็ดแผล ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก (ทองคำ� + ทองแดง) ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี) ของเหลว (นํ้า) กับแก๊ส เช่น นํ้าอัดลม แก๊สกับแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (ปราศจากฝุ่นละออง) สารบางชนิดละลายในนํ้าได้ดีจะมองเห็นเป็นเนื้อเดียวกับนํ้าเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วน โดยไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรและเมื่อนำ�ส่วนใดส่วนหนึ่งของสารผสมนี้ ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกประการ ตัวอย่างเช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าโซดา สารบางชนิดเมื่อนำ�ไปละลายในนํ้าจะลายได้บางส่วน ส่วนใหญ่จะไม่ละลาย เนื้อสารจะไม่เหมือนกันทุกส่วน เรียกสารที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า สารเนื้อผสม สารเนื้อผสมที่มีอนุภาคเล็กๆ กระจายอยู่ในของเหลวหรือแก๊ส เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น นํ้าคลอง นํ้าโคลน ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ๑. สารละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็นของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับ ของเหลวของแข็งกับของแข็งแก๊สกับแก๊สสารบางชนิดผสมกันได้ดีจนมองเห็นเป็นเนื้อเดียวเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อ เดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วนไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรโดยทั่วไปสารละลายมีทั้ง ที่เป็นของแข็งของเหลวและแก๊สตัวอย่างสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวเช่นนํ้าเกลือนํ้าเชื่อมสารละลายที่มีสถานะ เป็นของแข็ง เช่น นาก ทองเหลือง สารละลายที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ที่ปราศจากฝุ่นละอองและควัน สารละลายจึงประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำ�ละลาย เช่น นํ้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือเป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย นาก ประกอบด้วย ทองคำ�เป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่นๆ เป็นตัวละลายและแก๊สไนโตรเจนเป็นตัวทำ�ละลาย การชี้บ่งว่า สารใดเป็นตัวละลายและสารใดเป็นตัวทำ�ละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 723 ๑. ถ้าตัวละลายและตัวทำ�ละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มี สถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทำ�ละลายและ สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย ๒. ถ้าตัวทำ�ละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกันสารที่ มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มีปริมาณ มากกว่าเรียกว่าตัวทำ�ละลาย สารละลายยังแสดงสมบัติของสารเดิมและสามารถทำ�ให้ กลับเป็นสารเดิมได้ด้วยวิธีที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับสมบััติของสารที่เป็น ส่วนประกอบ ๒. ปัจจุบันนิยมใช้ผงซักฟอกในการซักล้างกันอย่างกว้างขวาง ผงซักฟอกประกอบด้วยสารหลายชนิดผสมกันอยู่ผงซักฟอกบางชนิด จุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดการซักล้าง จะทำ�ให้สาหร่าย และวัชพืชต่างๆในนํ้าเจริญงอกงามและแพร่พันธ์ุอย่างรวดเร็วเมื่อสาหร่าย เหล่านี้ตายจะถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียชนิดใช้ออกซิเจนทำ�ให้นํ้าขาด ออกซิเจนและสัตว์นํ้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางภาวะ มลพิษ ระบบนิเวศ การชลประทาน การเกษตร ตลอดจนการคมนาคม ๓. ในปัจจุบันเกษตรกรใช้ปุ๋ยและสารกำ�จัดศัตรูพืชมากเกิน ความจำ�เป็นซึ่งบางชนิดสลายตัวยากและกระจายตกค้างอยู่บนดินเมื่อถูก ฝนชะล้างลงไปในแม่นํ้าลำ�คลองทำ�ให้สัตว์นํ้าได้รับอันตรายถึงตายถ้าได้รับ ในปริมาณมากแต่ถ้ามีปริมาณไม่มากพอก็จะสะสมอยู่ในตัวสัตว์เมื่อคนกิน สัตว์เหล่านั้นเข้าไป สารกำ�จัดศัตรูพืชก็จะเข้าไปสะสมอยู่ในร่างกายได้ ๔. นํ้ากระด้าง คือ นํ้าที่ไม่ทำ�ฟองกับสบู่ โดยทั่วไปจะพบว่ามี สารหลายชนิดละลายอยู่ในนํ้า เช่น แคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอ ไรด์ แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แมกนีเซียมไฮโดรเจน-คาร์บอเนต ซึ่งสารเหล่านี้เมื่อทำ�ปฏิกิริยากับสบู่จะ เกิดตะกอน ทำ�ให้เสื้อผ้าสกปรกและถ้าดื่มนํ้ากระด้างเป็นประจำ�จะทำ�ให้ เป็นนิ่วได้ นํ้ากระด้างมี ๒ ชนิด คือ – นํ้ากระด้างชั่วคราวเป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต และแมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลาย อยู่สามารถทำ�ให้หายกระด้างได้โดยการต้ม – นํ้ากระด้างถาวร เป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอไรด์แคลเซียมซัลเฟตและแมกนีเซียม ซัลเฟตละลายอยู่ทำ�ให้หายกระด้างโดยการเติมโซดาซักผ้า ลงในนํ้ากระด้าง แล้วกรองตะกอนออก
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 724 ๕. ฝนกรดเกิดจากนํ้าฝนละลายแก๊สที่เป็น ออกไซด์ของกำ�มะถัน ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ ไตรออกไซด์และแก๊สที่เป็นออกไซด์ของไนโตรเจน ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีอยู่ในอากาศบริเวณที่เป็นโรงงาน อุตสาหกรรมเช่นโรงไฟฟ้าถ่านหินโรงแยกแก๊สเกิดเป็นกรด กำ�มะถัน หรือกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริกซึ่งเป็นอันตราย ต่อพืชและต่อมนุษย์ ข้อเสนอแนะ ๑. ถ้าไม่มีนํ้าคลองให้ใช้ดินละเอียดละลายในนํ้า ๒. ทรายที่นำ�มาใช้ในการทดลองควรล้างด้วยนํ้าเพื่อแยกเศษผงที่ปะปนอยู่ออกให้หมดเพื่อว่าเมื่อใส่ลงในนํ้าจะ ทำ�ให้นํ้าส่วนบนใส ๓. การทำ�เครื่องกรองนํ้าอย่างง่ายครูควรมอบหมายให้นักเรียนช่วยกันทำ�เป็นกลุ่มแล้วมานำ�เสนอพร้อมทั้งให้ ทดลองกรองนํ้าเพื่อดูประสิทธิภาพในการทำ�งานของเครื่องกรองด้วย ประเมินผล ๑. ประเมินจากการร่วมอภิปรายทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน ๒. ประเมินจากการบันทึกผลและสรุปผลการทำ�กิจกรรม ๓. ประเมินจากรายงานการสืบค้นข้อมูล ๔. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๔.๑ จงเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เฉลย การป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีดังนี้ ๑. ใช้ผงซักฟอกหรือสารซักล้างในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้เหลือสารซักล้างในนํ้าทิ้งน้อยที่สุด ๒. ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกำ�จัดศัตรูพืช ๓. โรงงานอุตสาหกรรมควรมีเครื่องกำ�จัดแก๊สที่เป็นอันตรายก่อนออกสู่บรรยากาศ ๔. จัดระบบปรับคุณภาพของนํ้าหรือสร้างบ่อพักสำ�หรับรับนํ้าที่ระบายจากบ้านเรือนมาผ่านกระบวนการเพื่อ ลดปริมาณสารที่ไม่พึงประสงค์ทั้งหลายก่อนแล้วจึงระบายลงสู่แม่นํ้าลำ�คลอง โดยประชาชนทุกคนควรมีส่วนรับผิดชอบ ร่วมกับหน่วยงานของรัฐ w w w w w w w w
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 725 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อผสมสาร ๒ ชนิด เข้าด้วยกัน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เช่น มีแก๊สเกิดขึ้น สีของสารเปลี่ยนไป มีตะกอน หรือมีกลิ่นเกิดขึ้นบางครั้งอาจมีความร้อน เสียง หรือแสงเกิดขึ้นด้วย ลักษณะต่างๆ เหล่านี้คือ การเกิดสารใหม่ หรือเรียก อีกอย่างว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมและไม่ สามารถทำ�ให้กลับเป็นสารเดิมได้ การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีอาจเกิดขึ้นเองหรือมนุษย์ทำ�ให้เกิดขึ้น สารใหม่ที่ได้สามารถนำ�ไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย แต่ถ้าใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องและไม่ระมัดระวังก็อาจเกิดอันตรายได้ ซึ่งจะมีผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ ๑. จุนสีที่ใช้ควรเป็นชนิดผงละเอียดและสะอาดถ้าเป็นก้อนควรบดให้ละเอียดโดยใช้โกร่งบดเพื่อจะตวงโดยใช้ ช้อนตวงได้ ๒. แอมโมเนียหอม ซึ่งได้จากร้านขายยาทั่วไป ๓. การเตรียมนํ้าปูนใสเพื่อเก็บไว้ใช้ได้นานๆ ควรเตรียมในกล่องพลาสติกที่มีฝาปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเข้าทำ�ปฏิกิริยาได้ โดยตักปูนขาวใส่ในกล่องพลาสติกขนาดใดก็ได้ ประมาณของกล่อง เติม นํ้าให้เกือบเต็มกล่องใช้แท่งแก้วคนให้ทั่วสักครู่จึงปิดฝากล่องแล้วตั้งไว้ข้ามคืนเมื่อต้องการใช้ก็เปิดฝากล่องแล้วรินหรือ ดูดเฉพาะส่วนที่ใสออกมา แล้วรีบปิดฝากล่องทันทีเมื่อใช้เสร็จเพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป ประเมินผล ๑. ประเมินจากความร่วมมือในการทำ�การทดลองและอภิปรายผลการทดลอง ๒. ประเมินจากการบันทึกผลและลงข้อสรุปการทำ�กิจกรรม ๓. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ (ดูเฉลยท้ายบท) ๑. การเปลี่ยนแปลงของสารมีกี่ลักษณะอะไรบ้าง ๒. การเปลี่ยนแปลงลักษณะใดสามารถทำ�ให้กลับคืนเป็นสารเดิมได้ ๓. นาเกลือเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด ๔. การเผาถ่านไม้เพื่อให้ความร้อนการเกิดฝนกรดเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด ๕. จงยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 726 เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อผสมสารเข้าด้วยกัน สารผสมที่ได้อาจจะเป็นสารเนื้อผสมหรือสารละลายซึ่งเป็นสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม อาจจะเป็นของแข็งผสมกับของแข็็งของแข็งผสมกับของเหลวของเหลวผสมกับของเหลวส่วนสารละลายอาจจะเกิดจาก ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง หรือแก๊สละลายในของเหลว การแยกสารเนื้อผสมอาจทำ�ได้โดยวิธีต่างๆ กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจนใช้วิธีเลือกออก หรือหยิบออก – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันแยกโดยการร่อน – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้แยกโดยการระเหิด – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวแยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรองทั้งนี้ของแข็ง ต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้ – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอยแยกโดยวิธี การ ทำ�ให้ตกตะกอน – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลวแยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้นแล้วรินหรือซ้อนออกจากกัน ประเมินผล ๑. ประเมินผลจากการอภิปรายภายในกลุ่มและในชั้นเรียน ๒. ประเมินจากการบันทึกผลการทดลอง ๓. ประเมินจากรายงานการทำ�โครงงาน ๔. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๔.๑ วิธีแยกพิมเสนอออกจากเกลือ นอกจากจะใช้วิธีการระเหิดแล้วอาจใช้วิธีอื่นได้หรือไม่ (เกลือละลายในนํ้า แต่พิมเสนไม่ละลาย) ๔.๒ ในการทำ�ขนมที่มีแป้งเป็นส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร เฉลย ๔.๑ วิธีแยกพิมเสนออกจากเกลือนอกจากโดยวิธีการระเหิด แล้วอาจแยกโดยวิธีการนำ�สารผสมไปละลาย นํ้า พิมเสนไม่ละลายในนํ้า แต่เกลือละลายได้ในนํ้าจึงแยกพิมเสนออกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง พิมเสนจะติดอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนสารละลายที่กรองได้จะมีเกลือละลายอยู่ ซึ่งนำ�มาแยกเกลือออก จากสารละลาย โดยวิธีการระเหยแห้ง ๔.๒ ในการทำ�ขนมที่มีแป้งส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อแยกแป้งที่มีก้อนขนาดใหญ่ออกเหลือแต่ แป้งเม็ดละเอียด ซึ่งจะทำ�ให้เนื้อขนมละเอียดและนุ่ม
  • 25. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 727 เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด ผสมกัน อาจเป็นของแข็งกับของเหลว เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม ของเหลวกับของเหลวเช่น แอลกอฮอล์ ๗๐% ใช้เช็ดแผลเป็นสารผสมระหว่างเอทิลแอลกอฮอล์ ๗๐ ส่วน กับนํ้า ๓๐ ส่วน โดยปริมาตร แก๊สกับของเหลว เช่น นํ้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูงลงไปในนํ้าหวาน ของแข็งกับของแข็งเช่นนากทองเหลืองซึ่งนากเป็นสารผสมระหว่างทองคำ�กับทองแดงส่วนทองเหลืองเป็น ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี การแยกสารละลายแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบจึงต้องแยกด้วยวิธีการต่างๆ กัน เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีมากมายเป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคสารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น สารเคมีเมื่อพิจารณาตามการนำ�ไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจำ�แนกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ สารปรุงรสอาหาร และสารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช การใช้สารในชีวิตประจำ�วันต้องเลือกใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์และต้องใช้อย่างถูกต้อง เพื่อความปลอดภัย ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรด - เบส สามารถ ใช้กระดาษลิตมัสหรือนํ้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็น กรด เช่น นํ้ามะนาว นํ้าส้มสายชู นํ้ามะขาม นํ้าผลไม้ต่างๆ สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็นเบส เช่น นํ้าสบู่ นํ้าผงซักฟอก นํ้าขี้เถ้า นํ้ายาล้างจาน แต่นํ้ายาล้างจานชนิดที่ผสมนะนาวจะสมบัติเป็นกรด สารที่มีสมบัติเป็นกลางจะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีนํ้าเงิน เช่น นํ้า นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรด - เบส ของสารแล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ตรวจสอบ ความเป็นกรด - เบสของสารอีก เช่น กระดาษ pH นักวิทยาศาสตร์ใช้เลข ๐ - ๑๔ แสดงค่าความเป็น กรด - เบส ของสารซึ่งเรียกค่านี้ว่า ค่า pH กระดาษลิตมัส pH มิเตอร์ กระดาษ pH ๐ ๗ ๑๔ กรด กลาง เบส
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 728 การประเมินผล ๑. ประเมินผลจากความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลภายในกลุ่ม ๒. ประเมินผลจากความตั้งใจในการนำ�เสนอข้อมูลในชั้นเรียน ๓. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๓.๑ สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่อะไรบ้าง ๓.๒ เกณฑ์ที่นักเรียนคิดว่าจะนำ�มาใช้จำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วัน มีอะไรบ้าง เฉลย ๓.๑ สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ – สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร – สารทำ�ความสะอาด – สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ๓.๒ เกณฑ์ที่นำ�มาใช้ในการจำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วันอาจเป็นดังนี้ – กินได้/กินไม่ได้ – มีสี/ไม่มีสี – เป็นกรด/เบส/กลาง – ใช้ในครัว/ใช้ในห้องนํ้า w w w w w w w w
  • 27. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 729 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความเป็นกรดเป็นด่าง สารที่สมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๐-๖ สารที่มีสมบััติเป็นเบสมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๘ - ๑๔ สารที่มี สมบัติเป็นกลางมีค่า pH เท่ากับ ๗ ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัส นํ้าสี ที่สกัดจากพืชธรรมชาติยูนิเวอแซลอินดิเคเตอร์ กระดาษ pH pH มิเตอร์ สารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด - เบส เรียกว่า อินดิเคเตอร์ (indicator) สารที่มีสมบัติเป็นกรด (acid) คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เช่น กรดนํ้าส้ม หรือกรดแอซีติก (acetic acid) มีสูตรโมเลกุลคือ CH3 COOH เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ H+ ดังนี้ CH3 COOH → CH3 COO– + H+ นํ้าส้มสายชูจึงมีสมบัติเป็นกรดเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงินเป็นสีแดง เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์ จะได้ตัวเลขที่มีค่าตํ่ากว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสี กระดาษ pH จากเหลืองเป็นส้มหรือแดง ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของกรด สีของ กระดาษ pH ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับแถบสีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารนั้น สารที่มีสมบัติเป็นเบส(base)คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถ แตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) เช่น นํ้าขี้เถ้า มีชื่อทางเคมีว่า โพแทสเซียม ไฮดรอกไซด์ (potassiumhydroxide, KOH) เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ OH– ดังนี้ KOH → K+ + OH–
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 730 นํ้าขี้เถ้าจึงมีสมบัติเป็นเบสเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนํ้าเงิน เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์จะได้ตัวเลขที่มีค่ามากกว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสีกระดาษ pH จาก สีเหลืองเป็นสีเขียวหรือนํ้าเงินตามลำ�ดับความเข้มข้นของเบส และเมื่อนำ�สีที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกับแถบ สีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารที่ทดสอบได้ ข้อเสนอแนะ ๑. รายชื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่สำ�รวจได้จากบ้านของนักเรียนแต่ละกลุ่มอาจจะมากน้อยไม่เท่ากันและ ไม่เหมือนกันบางกลุ่มอาจจะสำ�รวจมาได้มาก บางกลุ่มอาจจะได้น้อยขึ้นอยู่กับครอบครัวของนักเรียนแต่ละคนใน แต่ละกลุ่ม ๒. ครูควรนำ�สารต่างๆ มาทำ�ให้เป็นสารละลายใส่ไว้ในบีกเกอร์ สำ�หรับให้นักเรียนใช้ร่วมกันทั้งห้องเพื่อ ประหยัดเวลาและเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยเตรียมสารไว้ประมาณ ๓ ชุด/ห้องเรียนและควรใส่ไม้จิ้มฟันไว้ใน บีกเกอร์สารละลายแต่ละชนิดชนิดละ ๑ อัน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากสารอื่น w w w w w w w w