SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
คําชี้แจง


           กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551โดยกําหนดให
สถานศึกษานําหลักสูตรดังกลาวไปจัดทําเปนหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนตามที่หลักสูตร
แกนกลางกําหนด สอดคลองกับบริบทของแตละพื้นที่และบริบทของสถานศึกษา ทั้งนี้ใหเริ่มใชหลักสูตรนี้ตั้งแตปการ
ศึกษา 2552 เปนตนไปในโรงเรียนแกนนําและโรงเรียนที่มีความพรอม สวนโรงเรียนทั่วไปใหเริ่มในปการศึกษา 2553
           ดวยตระหนักในภารกิจสําคัญในการผลิตสื่อการเรียนรูท่มีคุณภาพ ทันสมัย สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง
                                                                       ี
ทุกดาน บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด จึงไดระดมคณาจารย ผูเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอนดานหลักสูตรและ
ดานการวัดผลประเมินผล พัฒนาสื่อการเรียนรูหนังสือเรียนแม็คสําหรับใชประกอบการเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู
ทั้ง 8 กลุมสาระ ทุกระดับชั้น ทั้งนี้หนังสือเรียนทุกเลมไดผานการตรวจสอบคุณภาพวามีเนื้อหาและการนําเสนอ
กิจกรรมตางๆ สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ทุกประการ
           แตอยางไรก็ตามเพื่อใหครูผูสอนสามารถจัดการเรียนการสอนไดสอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปและมาตรฐาน
การเรียนรูที่กําหนดไวในหนังสือเรียนของแม็คในแตละหนวยการเรียน บริษัทจึงไดเรียนเชิญผูเขียนและผูทรงคุณวุฒิ
จัดทําแผนการจัดการเรียนรูประกอบหนังสือเรียนทุกเลม เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกครูที่ใชหนังสือเรียนของแม็คได
ใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน โดยการนําแผนการจัดการเรียนรูไปใชนั้นมีขอแนะนําการใชดังนี้
           1. ครูควรศึกษาโครงสรางหนวยการเรียน ซึ่งประกอบดวยชื่อหนวยการเรียน ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานการ
                 ศึกษาดานผูเรียนและตัวบงชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ของ สมศ. และเวลาเรียนในแตละหนวย
                 เพื่อใหทราบภาพรวมในแตละหนวยการเรียน และสามารถปรับปรุงเวลาแตละหนวยใหเหมาะสมกับ
                 หลักสูตรสถานศึกษาได
           2. แผนการจัดการเรียนรูนี้ ใช แนวทางของ Backward Design ในการออกแบบ เพื่ อให สอดคลองกั บ
                 การจัดการสอนที่อิงมาตรฐาน ดังนั้น ครูควรศึกษาภาพรวมของการออกแบบการเรียนการสอนซึ่งจะอยู
                 ในตอนต ของแต ล ะหน วย เพื่ อจะได ทราบถึงเป าหมายการเรียน ภาระงานของนั กเรียนที่ ครูตองให
                 นักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติตลอดทั้งหนวยการเรียน
           3. ครูควรศึกษารายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรูในแตละแผนยอยทุกหัวขอ และอาจปรับปรุงโดย
                 เพิ่มเติมหรือลดทอนไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้แผนการจัดการเรียนรูที่จัดทําไดยึดมาตรฐานหลักสูตร
                 เปนหลัก เมื่อนําไปใชจริงครูควรปรับใหสอดคลองกับความพรอมของโรงเรียนและผูเรียนเปนสําคัญ
           4. กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนทุ ก ขั้ น ตอนจะแทรกการฝ ก ทั ก ษะการคิ ด และคุ ณ ธรรม จริย ธรรม ตาม
                 คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ งประสงค ที่ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 กํ าหนด
และคุ ณ ธรรม จริย ธรรมที่ ส อดคล อ งกั บ ตั ว ชี้ วัด ของมาตรฐานการเรี ยนรูใ นแต ล ะกลุ ม สาระให แ ก
                นักเรียน ครูไมควรละเลยที่จะเนนย้ําและตรวจสอบวานักเรียนทุกคนไดฝกทักษะการคิดและไดรับการ
                ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตามกิจกรรมที่กําหนดในแผนหรือไม
           5. กิจกรรมเสนอแนะเปนกิจกรรมที่จะนําไปสูการเกิดนวัตกรรมเพื่อสงเสริมการคิดวิเคราะหและการสอน
                แบบบูรณาการ หากมีเวลาครูควรนําไปใชทุกแผน
           6. ทุกหนวยการเรียน ครูควรสรุปขอมูลจากการประเมินผล เพื่อนํามากําหนดเปนปญหาสําหรับการวิจัย
                ในชั้นเรียน ซึ่งจะทําใหครูมีผลงานสําหรับนําไปใชในการประเมินวิทยฐานะครูไดในภายหลัง
           7. ทุกหนวยการเรียนรูของแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 8 กลุมสาระ คณาจารยผูเขียนไดนํามาตรฐานการ
                ศึกษาดานผูเรียนและตัวบงชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักรับรองมาตรฐานและประเมิน
                คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) มากํ าหนดเป น เป าหมายในการพั ฒ นาผู เรี ย นด ว ย (ดู ได จ ากโครงสร าง
                การเรียน) ดังนั้น หากครูไดจัดการเรียนการสอนตามแนวทางที่กําหนดในแผนแตละแผน ก็ยอมแสดง
                ใหเห็นวา ครูไดมีความตระหนัก (Awareness) และ ความพยายาม (Attempt) ที่จะจัดการเรียนการสอน
                เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามมาตรฐานการศึกษา
           บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด ตองขอขอบพระคุณทุกทานที่ใหความไววางใจเลือกใชสื่อการเรียนรูของสํานัก
                                                                                                               
พิมพดวยดีเสมอมา ทั้งนี้ สํานักพิมพมุงหวังวา สื่อการเรียนรูทุกชุดที่ไดจัดทําขึ้นคงมีสวนชวยใหการปฏิรูปการศึกษา
ของประเทศไทย และการปรับเปลี่ยนหลักสูตรไดบรรลุผลตามเปาหมายทุกประการ และขอตั้งปณิ ธานวาจะผลิต
สื่อการเรียนรูที่ดี และมีคุณคาสําหรับผูเรียนตลอดจนครูอาจารยตลอดไป

                                                                                          บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด
1



                                             โครงสรางรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑
                                                จํานวนหนวยทั้งหมด ๑๐ หนวย เวลาเรียนรวม ๑๖๐ ชั่วโม
           หนวยการเรียนรูที่             สาระการเรียนรูประจําหนวย              ตัวชี้วัดชั้นป        มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้เพื่อ   เวลาเรียน
                                                                               ตามมาตรฐานการเรียนรู            ประเมินคุณภาพภายนอก               (ชั่วโมง)
๑. การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร     การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร           ส ๕.๑ ม.๑/๑,๒             มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                            ๑๕
                                         ๑) แผนที่                                                     มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                         ๒) เครื่องมือและเทคโนโลยีทาง                                  มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                         ภูมิศาสตร
๒. กายภาพของไทย เอเชีย ออสเตรเลียและ กายภาพของไทย เอเชีย ออสเตรเลียและ ส ๔.๒ ม.๑/๑,๒                   มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                          ๑๕
โอเชียเนีย                           โอเชียเนีย                              ส ๕.๑ ม.๑/๑,๒,๓           มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                         ๑) สภาพทางกายภาพของไทย เอ           ส ๕.๒ ม.๑/๒               มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                         เชีย ออสเตรเลียและโอเชีย-เนีย                                 มฐ.๗ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                         ๒) การแบงวันเวลาของประเทศ
                                         ไทยและประเทศตางๆ
                                         ๓) ภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่
                                         เกิดขึ้นในประเทศไทย ทวีปเอเชีย
                                         ออสเตรเลียและ โอเชีย-เนีย
                                         ๔) ความรวมมือในการแกปญหาสิ่ง
                                         แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
2



           หนวยการเรียนรูที่        สาระการเรียนรูประจําหนวย         ตัวชี้วัดชั้นป          มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้   เวลาเรียน
                                                                     ตามมาตรฐานการเรียนรู         เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก          (ชั่วโมง)
๓. สภาพเศรษฐกิจและสังคมของไทย    สภาพเศรษฐกิจและสังคมของไทย เอเชีย ส ๕.๒ ม.๑ / ๑,๓           มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                       ๒๐
เอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนีย    ออสเตรเลียและโอเชียเนีย                                     มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                                                                             มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
๔. สมดุลเศรษฐกิจ                 สมดุลเศรษฐกิจ                          ส ๓.๑ ม.๑/๑,๒,๓      มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                       ๒๐
                                     ๑) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐ     ส ๓.๒ ม.๑/๑,๒,๓,๔    มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                     ศาสตร                                                  มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                     ๒) สถาบันการเงิน                                        มฐ.๗ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                     ๓) การบริโภค
                                     ๔) การพึ่งพาและการแขงขันทาง
                                          เศรษฐกิจในประเทศไทย
                                     ๕) เศรษฐกิจพอเพียง
                                     ๖) กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทาง
                                     ปญญา
๕. การดํารงชีวิตในสังคม          การดํารงชีวิตในสังคม                   ส ๒.๑ ม.๑/๑,๒,๓,๔    มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕                      ๑๕
                                     ๑) การปฏิบัติตามกฎหมายในการ                             มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔
                                     คุมครองสิทธิของบุคคล                                   มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                            - กฎหมายคุมครองเด็ก                             มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                            - กฎหมายการศึกษา                                 มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                            - กฎหมายคุมครองผูบริโภค
                                           - กฎหมายลิขสิทธิ์
3



           หนวยการเรียนรูที่           สาระการเรียนรูประจําหนวย          ตัวชี้วัดชั้นป         มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้   เวลาเรียน
                                                                         ตามมาตรฐานการเรียนรู        เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก          (ชั่วโมง)
                                         ๒) การปฏิบัติตนในการเคารพใน
                                         สิทธิของตนเองและผูอื่น
                                         ๓) จิตสาธารณะตอสังคมและ
                                         ประเทศชาติ
                                         ๔) ความสัมพันธที่ดีทางวัฒนธรรม
                                         ของไทยกับประเทศเพื่อนบาน
๖. รัฐธรรมนูญ                       รัฐธรรมนูญ                           ส ๒.๒ ม.๑/๑,๒,๓         มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                      ๑๕
                                         ๑) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร                            มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                         ไทย พุทธศักราช 2550                                     มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                         ๒) การนําหลักการของรัฐธรรมนูญ
                                         มาใชในการ ดําเนินชีวิต
                                         ๓) การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ
                                         ของรัฐธรรมนูญ
๗. เวลาและวิธีการทางประวัติศาสตร   เวลาและวิธีการทางประวัติศาสตร       ส ๔.๑ ม.๑/๑,๒,๓         มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕                      ๘
                                         ๑) เวลาในประวัติศาสตร                                  มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔
                                         ๒) วิธีการทางประวัติศาสตร                              มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                                                                                 มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                                                                                 มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
4



           หนวยการเรียนรูที่              สาระการเรียนรูประจําหนวย            ตัวชี้วัดชั้นป          มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้   เวลาเรียน
                                                                              ตามมาตรฐานการเรียนรู         เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก          (ชั่วโมง)
๘. พัฒนาการของชาติไทย                  พัฒนาการของชาติไทย                   ส ๔.๑ ม.๑/๓               มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒                       ๒๐
                                           ๑) พัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของ                               มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                           มนุษยกอนประวัติศาสตรในดิน                               มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                           แดนประเทศไทย
                                           ๒) พัฒนาการของอาณาจักรโบราณ
                                           ในดินแดนประเทศไทยกอนสมัย
                                           สุโขทัย
                                           ๓) พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย
๙. พัฒนาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต   พัฒนาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต      ส ๔.๒ ม.๑/๑,๒           มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕                      ๑๒
                                           ๑) ปจจัยที่มีผลตอพัฒนาการการตั้ง                         มฐ.๒ ตัวบงชี้ ๔
                                           ถิ่นฐานของประชากรไทยและเอเชีย                              มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔
                                           ตะวันออกเฉียงใต                                           มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                           ๒) พัฒนาการทางประวัติศาสตร                                มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                           ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต                                  มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                           ๓) การสรางสรรคอารยธรรมในเอ                               มฐ. ๗ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                           เชียตะวันออกเฉียงใต
                                           ๔) การดําเนินชีวิตของประชากร
                                           ไทยและประชากรในเอเชียตะวัน
                                           ออกเฉียงใต
5



           หนวยการเรียนรูที่        สาระการเรียนรูประจําหนวย               ตัวชี้วัดชั้นป         มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้   เวลาเรียน
                                                                          ตามมาตรฐานการเรียนรู         เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก          (ชั่วโมง)
๑๐. ศาสนากับการดํารงชีวิต        ศาสนากับการดํารงชีวิต                  ส ๑.๑ ม.๑ /๑,๓,๕,๘,๙,๑๐   มฐ. ๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕                     ๒๐
                                    ๑) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับศาสนา   ส ๑.๒ ม.๑/๑               มฐ.๒ ตัวบงชี้ ๔
                                            - ความหมายของ                                         มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔
                                                   ศาสนา                                          มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒
                                            - มูลเหตุของการเกิด                                   มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔
                                                   ศาสนา                                          มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                            - องคประกอบของ                                       มฐ. ๗ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
                                                   ศาสนา
                                            - ประเภทของศาสนา
                                            - ความสําคัญของ
                                                   ศาสนา
                                            - ประโยชนของ
                                                   ศาสนา
                                    ๒) ศาสนาสําคัญในประเทศไทย
                                            - พระพุทธศาสนา
                                            - ศาสนาคริสต
                                            - ศาสนาอิสลาม
                                            - ศาสนาพราหมณ -
                                                   ฮินดู
6



หนวยการเรียนรูที่       สาระการเรียนรูประจําหนวย        ตัวชี้วัดชั้นป     มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้   เวลาเรียน
                                                        ตามมาตรฐานการเรียนรู    เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก          (ชั่วโมง)
                      ๓) ความสอดคลองของหลักคําสอนของ
                      ศาสนาที่สําคัญในประเทศไทย
มาตรฐานการศึกษาตามเกณฑ์การประเมินภายนอก
                                                                         มาตรฐานที่ 4
                                                              มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
                                                           คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด
                         มาตรฐานที่ 5                      สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์                   มาตรฐานที่ 3
                       มีความรู้และทักษะที่                                                                 มีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัย
                       จำเป็นตามหลักสูตร                                                                      ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา


             มาตรฐานที่ 6                                                                                                   มาตรฐานที่ 2
    มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย                                                                                        มีสุขนิสัย สุขภาพกาย
    ตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา                                                                                          และสุขภาพจิตที่ดี
          ตนเองอย่างต่อเนื่อง                                               ด้าน
                                                                           ผู้เรียน
           มาตรฐานที่ 7                                                                                                        มาตรฐานที่ 1
                                                                                                                           มีคุณธรรม จริยธรรม
  มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน                                                                                           และค่านิยมที่พึงประสงค์
     สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
     และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต


                มาตรฐานที่ 8
        มีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถ
                                                                                                                  ด้าน
         ตรงกับงานที่รับผิดชอบ และ
                 มีครูเพียงพอ
                                                                                                               ผู้บริหาร

                                                                                                                                  มาตรฐานที่ 14
       มาตรฐานที่ 9                                                                                                              สถานศึกษาส่งเสริม
   มีความสามารถในการจัดการ                                                                                                          ความสัมพันธ์
เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ                      ด้าน                                                                           และความร่วมมือ
     และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ                                                                                                        กับชุมชนใน
                                                    ครู                                                                          การพัฒนาการศึกษา


                                                                                                                        มาตรฐานที่ 13
                                                                                                                สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสม
               มาตรฐานที่ 10                                                                                   กับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียน
           มีภาวะผู้นำและมีความ                                                                                    การสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
         สามารถในการบริหารจัดการ

                                                                                               มาตรฐานที่ 12
                                                มาตรฐานที่ 11                              สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม
                                          สถานศึกษามีการจัดองค์กร                         และการเรียนการสอนโดยเน้น
                                         โครงสร้างและการบริหารงาน                              ผู้เรียนเป็นสำคัญ
                                           อย่างเป็นระบบ ครบวงจร
                                          ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา


                      บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด
      9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
      โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
ตัวบ่งชี้
                             มาตรฐานที่ 1                           1. มีวินัย มีความรับผิดชอบ
                         มีคุณธรรม จริยธรรม                         2. มีความซื่อสัตย์สุจริต
                        และค่านิยมที่พึงประสงค์                     3. มีความกตัญญูกตเวที
                                                                    4. มีความเมตตากรุณา โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และไม่เห็นแก่ตัว
                                                                    5. มีความประหยัด และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
                                                                    6. ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

                             มาตรฐานที่ 2                              ตัวบ่งชี้
                          มีสุขนิสัย สุขภาพกาย                      1. รู้จักดูแลสุขภาพ สุขนิสัย และออกกำลังกายสม่ำเสมอ
                            และสุขภาพจิตที่ดี                       2. มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
                                                                    3. ไม่เสพหรือแสวงหาผลประโยชน์จากสิ่งเสพติด และสิ่งมอมเมา หลีกเลี่ยง
                                                                       สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย และอุบัติเหตุ รวมทั้งปัญหาทางเพศ
                                                                    4. มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น
                                                                    5. ร่าเริงแจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น และชอบมาโรงเรียน
                             มาตรฐานที่ 3
                       มีสุนทรียภาพ และลักษณะ                             ตัวบ่งชี้
                          นิสัยด้านศิลปะ ดนตรี                      1.    มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
                                 และกีฬา                            2.    มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านดนตรี/นาฏศิลย์ โดยไม่ขัดหลักศาสนา
                                                                    3.    มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านกีฬา/นันทนาการ
                                                                    4.    มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่ดีงาม
                                                                          ของท้องถิ่นและของไทย
                              มาตรฐานที่ 4
 ด้าน                     มีความสามารถในการ
                       คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
                                                                       ตัวบ่งชี้
                                                                    1. มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สรุปความคิดอย่างเป็นระบบ
ผู้เรียน               มีวิจารณญาณ มีความคิด
                        สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง
                                                                       และมีการคิดแบบองค์รวม
                                                                    2. มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดไตร่ตรอง
                             และมีวิสัยทัศน์                        3. มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ

                                                                          ตัวบ่งชี้
                                                                     1.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                            มาตรฐานที่ 5                             2.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                          มีความรู้และทักษะ                          3.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                         ที่จำเป็นตามหลักสูตร                        4.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
                                                                          ศาสนาและวัฒนธรรม
                                                                     5.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
                                                                     6.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
                                                                     7.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                             มาตรฐานที่ 6                            8.   มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
                     มีทักษะในการแสวงหาความรู้
                     ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และ                      ตัวบ่งชี้
                       พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง                     1. มีนิสัยรักการอ่าน สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว
                                                                    2. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สนุกกับการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
                                                                    3. สามารถใช้ห้องสมุด ใช้แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ ทั้งภายในและนอก
                             มาตรฐานที่ 7                              สถานศึกษา
                          มีทักษะในการทำงาน
                         รักการทำงาน สามารถ                            ตัวบ่งชี้
                          ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้                    1. สามารถวางแผน ทำงานตามลำดับขั้นตอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                            และมีเจตคติที่ดีต่อ                     2. รักการทำงาน สามารถปรับตัวและทำงานเป็นทีมได้
                               อาชีพสุจริต                          3. มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ


                   บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด
   9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
   โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
ตัวบ่งชี้
                                         มาตรฐานที่ 8                                1.   มีคุณลักษณะที่เหมาะสม
                                 มีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถ                         2.   จบระดับปริญญาตรีขึ้นไป
                                  ตรงกับงานที่รับผิดชอบ และ                          3.   สอนตรง ตามวิชาเอก/โท หรือความถนัด
                                          มีครูเพียงพอ                               4.   ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนตามที่คุรุสภากำหนด
                                                                                     5.   สถานศึกษามีจำนวนครูตามเกณฑ์




ด้าน
 ครู


                                                                                          ตัวบ่งชี้
                                                                                     1.   กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
                                                                                     2.   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
                                         มาตรฐานที่ 9                                3.   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                  มีความสามารถในการจัดการ                            4.   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
                               เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ                         5.   กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
                                    และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ                         6.   กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
                                                                                     7.   กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                                                                                     8.   กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ




                 บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด
 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
 โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
ตัวบ่งชี้
                                          มาตรฐานที่ 10                                 1.   มีคุณธรรม จริยธรรม มีความมุ่งมั่น และอุทิศตนในการทำงาน
                                       มีภาวะผู้นำและมีความ                             2.   มีความคิดริเริ่มและมีวิสัยทัศน์
                                       สามารถในการบริหาร                                3.   มีความสามารถในการบริหารวิชาการและเป็นผู้นำทางวิชาการ
                                              จัดการ                                    4.   มีการบริหารที่มีประสิทธิผลและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจในการบริหาร




                                                                                             ตัวบ่งชี้
                                                                                        1.   สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้างการบริหาร และระบบ
                                         มาตรฐานที่ 11                                       การบริ ห ารที่ มี ค วามคล่ อ งตั ว สู ง ปรั บ เปลี่ ย นได้ ต ามความ
                                   สถานศึกษามีการจัดองค์กร                                   เหมาะสม
                                  โครงสร้างและการบริหารงาน                              2.   สถานศึกษามีการบริหารเชิงกลยุทธ์
                                  อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้                             3.   สถานศึกษามีการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม และมีการ
                                    บรรลุเป้าหมายการศึกษา                                    ตรวจสอบ ถ่วงดุล
                                                                                        4.   สถานศึกษามีระบบและดำเนินการประชุมการประกันคุณภาพ
                                                                                             ภายในเป็นไปตามกฎกระทรวง


   ด้าน
ผู้บริหาร                                                                                  ตัวบ่งชี้
                                                                                        1. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริม
                                           มาตรฐานที่ 12                                   ให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ
                                     สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม                           2. สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น
                                    และการเรียนการสอนโดยเน้น                               สำคัญ
                                         ผู้เรียนเป็นสำคัญ                              3. สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นอย่ า ง
                                                                                           หลากหลาย



                                                                                           ตัวบ่งชี้
                                          มาตรฐานที่ 13                                 1. สถานศึกษามีหลักสูตรและเนื้อหาสาระการเรียนรู้ระดับสากล
                                     สถานศึกษามีหลักสูตรที่                                ระดั บ ชาติ และระดั บ ท้ อ งถิ่ น ที่ เ หมาะสม สอดคล้ อ งกั บ
                                  เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น                            หลักสูตรแกนกลางและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
                                     มีสื่อการเรียนการสอน                               2. สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเอื้อต่อการ
                                       ที่เอื้อต่อการเรียนรู้                              เรียนรู้



                                         มาตรฐานที่ 14
                                        สถานศึกษาส่งเสริม                                  ตัวบ่งชี้
                                           ความสัมพันธ์                                 1. สถานศึ ก ษามี ร ะบบและกลไกในการส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์
                                         และความร่วมมือ                                    และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
                                            กับชุมชนใน                                  2. สถานศึ ก ษามี กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ แ ละความ
                                        การพัฒนาการศึกษา                                   ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา



                    บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด
    9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
    โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com

More Related Content

What's hot

คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55krupornpana55
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101kooda112233
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจkrupanjairs
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 

What's hot (18)

คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 

Similar to โครงสร้างรายวิชา

บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)chuvub
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
ประวัติ.
ประวัติ.ประวัติ.
ประวัติ.Jaturong Yanu
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 

Similar to โครงสร้างรายวิชา (20)

บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
ประวัติ.
ประวัติ.ประวัติ.
ประวัติ.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 

โครงสร้างรายวิชา

  • 1. คําชี้แจง กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551โดยกําหนดให สถานศึกษานําหลักสูตรดังกลาวไปจัดทําเปนหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนตามที่หลักสูตร แกนกลางกําหนด สอดคลองกับบริบทของแตละพื้นที่และบริบทของสถานศึกษา ทั้งนี้ใหเริ่มใชหลักสูตรนี้ตั้งแตปการ ศึกษา 2552 เปนตนไปในโรงเรียนแกนนําและโรงเรียนที่มีความพรอม สวนโรงเรียนทั่วไปใหเริ่มในปการศึกษา 2553 ดวยตระหนักในภารกิจสําคัญในการผลิตสื่อการเรียนรูท่มีคุณภาพ ทันสมัย สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง ี ทุกดาน บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด จึงไดระดมคณาจารย ผูเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอนดานหลักสูตรและ ดานการวัดผลประเมินผล พัฒนาสื่อการเรียนรูหนังสือเรียนแม็คสําหรับใชประกอบการเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู ทั้ง 8 กลุมสาระ ทุกระดับชั้น ทั้งนี้หนังสือเรียนทุกเลมไดผานการตรวจสอบคุณภาพวามีเนื้อหาและการนําเสนอ กิจกรรมตางๆ สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกประการ แตอยางไรก็ตามเพื่อใหครูผูสอนสามารถจัดการเรียนการสอนไดสอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปและมาตรฐาน การเรียนรูที่กําหนดไวในหนังสือเรียนของแม็คในแตละหนวยการเรียน บริษัทจึงไดเรียนเชิญผูเขียนและผูทรงคุณวุฒิ จัดทําแผนการจัดการเรียนรูประกอบหนังสือเรียนทุกเลม เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกครูที่ใชหนังสือเรียนของแม็คได ใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน โดยการนําแผนการจัดการเรียนรูไปใชนั้นมีขอแนะนําการใชดังนี้ 1. ครูควรศึกษาโครงสรางหนวยการเรียน ซึ่งประกอบดวยชื่อหนวยการเรียน ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานการ ศึกษาดานผูเรียนและตัวบงชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ของ สมศ. และเวลาเรียนในแตละหนวย เพื่อใหทราบภาพรวมในแตละหนวยการเรียน และสามารถปรับปรุงเวลาแตละหนวยใหเหมาะสมกับ หลักสูตรสถานศึกษาได 2. แผนการจัดการเรียนรูนี้ ใช แนวทางของ Backward Design ในการออกแบบ เพื่ อให สอดคลองกั บ การจัดการสอนที่อิงมาตรฐาน ดังนั้น ครูควรศึกษาภาพรวมของการออกแบบการเรียนการสอนซึ่งจะอยู ในตอนต ของแต ล ะหน วย เพื่ อจะได ทราบถึงเป าหมายการเรียน ภาระงานของนั กเรียนที่ ครูตองให นักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติตลอดทั้งหนวยการเรียน 3. ครูควรศึกษารายละเอียดของแผนการจัดการเรียนรูในแตละแผนยอยทุกหัวขอ และอาจปรับปรุงโดย เพิ่มเติมหรือลดทอนไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้แผนการจัดการเรียนรูที่จัดทําไดยึดมาตรฐานหลักสูตร เปนหลัก เมื่อนําไปใชจริงครูควรปรับใหสอดคลองกับความพรอมของโรงเรียนและผูเรียนเปนสําคัญ 4. กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนทุ ก ขั้ น ตอนจะแทรกการฝ ก ทั ก ษะการคิ ด และคุ ณ ธรรม จริย ธรรม ตาม คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ งประสงค ที่ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 กํ าหนด
  • 2. และคุ ณ ธรรม จริย ธรรมที่ ส อดคล อ งกั บ ตั ว ชี้ วัด ของมาตรฐานการเรี ยนรูใ นแต ล ะกลุ ม สาระให แ ก นักเรียน ครูไมควรละเลยที่จะเนนย้ําและตรวจสอบวานักเรียนทุกคนไดฝกทักษะการคิดและไดรับการ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตามกิจกรรมที่กําหนดในแผนหรือไม 5. กิจกรรมเสนอแนะเปนกิจกรรมที่จะนําไปสูการเกิดนวัตกรรมเพื่อสงเสริมการคิดวิเคราะหและการสอน แบบบูรณาการ หากมีเวลาครูควรนําไปใชทุกแผน 6. ทุกหนวยการเรียน ครูควรสรุปขอมูลจากการประเมินผล เพื่อนํามากําหนดเปนปญหาสําหรับการวิจัย ในชั้นเรียน ซึ่งจะทําใหครูมีผลงานสําหรับนําไปใชในการประเมินวิทยฐานะครูไดในภายหลัง 7. ทุกหนวยการเรียนรูของแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 8 กลุมสาระ คณาจารยผูเขียนไดนํามาตรฐานการ ศึกษาดานผูเรียนและตัวบงชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักรับรองมาตรฐานและประเมิน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) มากํ าหนดเป น เป าหมายในการพั ฒ นาผู เรี ย นด ว ย (ดู ได จ ากโครงสร าง การเรียน) ดังนั้น หากครูไดจัดการเรียนการสอนตามแนวทางที่กําหนดในแผนแตละแผน ก็ยอมแสดง ใหเห็นวา ครูไดมีความตระหนัก (Awareness) และ ความพยายาม (Attempt) ที่จะจัดการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามมาตรฐานการศึกษา บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด ตองขอขอบพระคุณทุกทานที่ใหความไววางใจเลือกใชสื่อการเรียนรูของสํานัก  พิมพดวยดีเสมอมา ทั้งนี้ สํานักพิมพมุงหวังวา สื่อการเรียนรูทุกชุดที่ไดจัดทําขึ้นคงมีสวนชวยใหการปฏิรูปการศึกษา ของประเทศไทย และการปรับเปลี่ยนหลักสูตรไดบรรลุผลตามเปาหมายทุกประการ และขอตั้งปณิ ธานวาจะผลิต สื่อการเรียนรูที่ดี และมีคุณคาสําหรับผูเรียนตลอดจนครูอาจารยตลอดไป บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด
  • 3. 1 โครงสรางรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ จํานวนหนวยทั้งหมด ๑๐ หนวย เวลาเรียนรวม ๑๖๐ ชั่วโม หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้เพื่อ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู ประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๑. การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร การใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร ส ๕.๑ ม.๑/๑,๒ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๑๕ ๑) แผนที่ มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ๒) เครื่องมือและเทคโนโลยีทาง มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ภูมิศาสตร ๒. กายภาพของไทย เอเชีย ออสเตรเลียและ กายภาพของไทย เอเชีย ออสเตรเลียและ ส ๔.๒ ม.๑/๑,๒ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๑๕ โอเชียเนีย โอเชียเนีย ส ๕.๑ ม.๑/๑,๒,๓ มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ๑) สภาพทางกายภาพของไทย เอ ส ๕.๒ ม.๑/๒ มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ เชีย ออสเตรเลียและโอเชีย-เนีย มฐ.๗ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๒) การแบงวันเวลาของประเทศ ไทยและประเทศตางๆ ๓) ภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่ เกิดขึ้นในประเทศไทย ทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชีย-เนีย ๔) ความรวมมือในการแกปญหาสิ่ง แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
  • 4. 2 หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๓. สภาพเศรษฐกิจและสังคมของไทย สภาพเศรษฐกิจและสังคมของไทย เอเชีย ส ๕.๒ ม.๑ / ๑,๓ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๒๐ เอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ๔. สมดุลเศรษฐกิจ สมดุลเศรษฐกิจ ส ๓.๑ ม.๑/๑,๒,๓ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๒๐ ๑) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐ ส ๓.๒ ม.๑/๑,๒,๓,๔ มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ศาสตร มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ๒) สถาบันการเงิน มฐ.๗ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๓) การบริโภค ๔) การพึ่งพาและการแขงขันทาง เศรษฐกิจในประเทศไทย ๕) เศรษฐกิจพอเพียง ๖) กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทาง ปญญา ๕. การดํารงชีวิตในสังคม การดํารงชีวิตในสังคม ส ๒.๑ ม.๑/๑,๒,๓,๔ มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕ ๑๕ ๑) การปฏิบัติตามกฎหมายในการ มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔ คุมครองสิทธิของบุคคล มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ - กฎหมายคุมครองเด็ก มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ - กฎหมายการศึกษา มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ - กฎหมายคุมครองผูบริโภค - กฎหมายลิขสิทธิ์
  • 5. 3 หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๒) การปฏิบัติตนในการเคารพใน สิทธิของตนเองและผูอื่น ๓) จิตสาธารณะตอสังคมและ ประเทศชาติ ๔) ความสัมพันธที่ดีทางวัฒนธรรม ของไทยกับประเทศเพื่อนบาน ๖. รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ ส ๒.๒ ม.๑/๑,๒,๓ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๑๕ ๑) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ไทย พุทธศักราช 2550 มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ๒) การนําหลักการของรัฐธรรมนูญ มาใชในการ ดําเนินชีวิต ๓) การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญ ๗. เวลาและวิธีการทางประวัติศาสตร เวลาและวิธีการทางประวัติศาสตร ส ๔.๑ ม.๑/๑,๒,๓ มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕ ๘ ๑) เวลาในประวัติศาสตร มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔ ๒) วิธีการทางประวัติศาสตร มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓
  • 6. 4 หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๘. พัฒนาการของชาติไทย พัฒนาการของชาติไทย ส ๔.๑ ม.๑/๓ มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๒๐ ๑) พัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของ มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ มนุษยกอนประวัติศาสตรในดิน มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ แดนประเทศไทย ๒) พัฒนาการของอาณาจักรโบราณ ในดินแดนประเทศไทยกอนสมัย สุโขทัย ๓) พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ๙. พัฒนาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต พัฒนาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ส ๔.๒ ม.๑/๑,๒ มฐ.๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕ ๑๒ ๑) ปจจัยที่มีผลตอพัฒนาการการตั้ง มฐ.๒ ตัวบงชี้ ๔ ถิ่นฐานของประชากรไทยและเอเชีย มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔ ตะวันออกเฉียงใต มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ ๒) พัฒนาการทางประวัติศาสตร มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ๓) การสรางสรรคอารยธรรมในเอ มฐ. ๗ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ เชียตะวันออกเฉียงใต ๔) การดําเนินชีวิตของประชากร ไทยและประชากรในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต
  • 7. 5 หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๑๐. ศาสนากับการดํารงชีวิต ศาสนากับการดํารงชีวิต ส ๑.๑ ม.๑ /๑,๓,๕,๘,๙,๑๐ มฐ. ๑ ตัวบงชี้ ๑,๔,๕ ๒๐ ๑) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับศาสนา ส ๑.๒ ม.๑/๑ มฐ.๒ ตัวบงชี้ ๔ - ความหมายของ มฐ.๓ ตัวบงชี้ ๔ ศาสนา มฐ. ๔ ตัวบงชี้ ๑,๒ - มูลเหตุของการเกิด มฐ. ๕ ตัวบงชี้ ๔ ศาสนา มฐ. ๖ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ - องคประกอบของ มฐ. ๗ ตัวบงชี้ ๑,๒,๓ ศาสนา - ประเภทของศาสนา - ความสําคัญของ ศาสนา - ประโยชนของ ศาสนา ๒) ศาสนาสําคัญในประเทศไทย - พระพุทธศาสนา - ศาสนาคริสต - ศาสนาอิสลาม - ศาสนาพราหมณ - ฮินดู
  • 8. 6 หนวยการเรียนรูที่ สาระการเรียนรูประจําหนวย ตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานดานผูเรียนและตัวบงชี้ เวลาเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก (ชั่วโมง) ๓) ความสอดคลองของหลักคําสอนของ ศาสนาที่สําคัญในประเทศไทย
  • 9. มาตรฐานการศึกษาตามเกณฑ์การประเมินภายนอก มาตรฐานที่ 4 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด มาตรฐานที่ 5 สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 3 มีความรู้และทักษะที่ มีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัย จำเป็นตามหลักสูตร ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานที่ 2 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย มีสุขนิสัย สุขภาพกาย ตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา และสุขภาพจิตที่ดี ตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้าน ผู้เรียน มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานที่ 1 มีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน และค่านิยมที่พึงประสงค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ 8 มีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถ ด้าน ตรงกับงานที่รับผิดชอบ และ มีครูเพียงพอ ผู้บริหาร มาตรฐานที่ 14 มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษาส่งเสริม มีความสามารถในการจัดการ ความสัมพันธ์ เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ด้าน และความร่วมมือ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กับชุมชนใน ครู การพัฒนาการศึกษา มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสม มาตรฐานที่ 10 กับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียน มีภาวะผู้นำและมีความ การสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สามารถในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 12 มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม สถานศึกษามีการจัดองค์กร และการเรียนการสอนโดยเน้น โครงสร้างและการบริหารงาน ผู้เรียนเป็นสำคัญ อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
  • 10. ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 1. มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต และค่านิยมที่พึงประสงค์ 3. มีความกตัญญูกตเวที 4. มีความเมตตากรุณา โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และไม่เห็นแก่ตัว 5. มีความประหยัด และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 6. ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ มีสุขนิสัย สุขภาพกาย 1. รู้จักดูแลสุขภาพ สุขนิสัย และออกกำลังกายสม่ำเสมอ และสุขภาพจิตที่ดี 2. มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 3. ไม่เสพหรือแสวงหาผลประโยชน์จากสิ่งเสพติด และสิ่งมอมเมา หลีกเลี่ยง สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย และอุบัติเหตุ รวมทั้งปัญหาทางเพศ 4. มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น 5. ร่าเริงแจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น และชอบมาโรงเรียน มาตรฐานที่ 3 มีสุนทรียภาพ และลักษณะ ตัวบ่งชี้ นิสัยด้านศิลปะ ดนตรี 1. มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ และกีฬา 2. มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านดนตรี/นาฏศิลย์ โดยไม่ขัดหลักศาสนา 3. มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้านกีฬา/นันทนาการ 4. มีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่ดีงาม ของท้องถิ่นและของไทย มาตรฐานที่ 4 ด้าน มีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ตัวบ่งชี้ 1. มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สรุปความคิดอย่างเป็นระบบ ผู้เรียน มีวิจารณญาณ มีความคิด สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีการคิดแบบองค์รวม 2. มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ 3. มีทักษะการคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ ตัวบ่งชี้ 1. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มาตรฐานที่ 5 2. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีความรู้และทักษะ 3. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่จำเป็นตามหลักสูตร 4. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 6. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 7. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาตรฐานที่ 6 8. มีความรู้และทักษะทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และ ตัวบ่งชี้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 1. มีนิสัยรักการอ่าน สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว 2. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สนุกกับการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 3. สามารถใช้ห้องสมุด ใช้แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ ทั้งภายในและนอก มาตรฐานที่ 7 สถานศึกษา มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถ ตัวบ่งชี้ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 1. สามารถวางแผน ทำงานตามลำดับขั้นตอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเจตคติที่ดีต่อ 2. รักการทำงาน สามารถปรับตัวและทำงานเป็นทีมได้ อาชีพสุจริต 3. มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
  • 11. ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 8 1. มีคุณลักษณะที่เหมาะสม มีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถ 2. จบระดับปริญญาตรีขึ้นไป ตรงกับงานที่รับผิดชอบ และ 3. สอนตรง ตามวิชาเอก/โท หรือความถนัด มีครูเพียงพอ 4. ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนตามที่คุรุสภากำหนด 5. สถานศึกษามีจำนวนครูตามเกณฑ์ ด้าน ครู ตัวบ่งชี้ 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มาตรฐานที่ 9 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการจัดการ 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com
  • 12. ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 10 1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีความมุ่งมั่น และอุทิศตนในการทำงาน มีภาวะผู้นำและมีความ 2. มีความคิดริเริ่มและมีวิสัยทัศน์ สามารถในการบริหาร 3. มีความสามารถในการบริหารวิชาการและเป็นผู้นำทางวิชาการ จัดการ 4. มีการบริหารที่มีประสิทธิผลและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจในการบริหาร ตัวบ่งชี้ 1. สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้างการบริหาร และระบบ มาตรฐานที่ 11 การบริ ห ารที่ มี ค วามคล่ อ งตั ว สู ง ปรั บ เปลี่ ย นได้ ต ามความ สถานศึกษามีการจัดองค์กร เหมาะสม โครงสร้างและการบริหารงาน 2. สถานศึกษามีการบริหารเชิงกลยุทธ์ อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้ 3. สถานศึกษามีการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม และมีการ บรรลุเป้าหมายการศึกษา ตรวจสอบ ถ่วงดุล 4. สถานศึกษามีระบบและดำเนินการประชุมการประกันคุณภาพ ภายในเป็นไปตามกฎกระทรวง ด้าน ผู้บริหาร ตัวบ่งชี้ 1. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริม มาตรฐานที่ 12 ให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม 2. สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น และการเรียนการสอนโดยเน้น สำคัญ ผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. สถานศึ ก ษามี ก ารจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นอย่ า ง หลากหลาย ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 13 1. สถานศึกษามีหลักสูตรและเนื้อหาสาระการเรียนรู้ระดับสากล สถานศึกษามีหลักสูตรที่ ระดั บ ชาติ และระดั บ ท้ อ งถิ่ น ที่ เ หมาะสม สอดคล้ อ งกั บ เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น หลักสูตรแกนกลางและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอน 2. สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเอื้อต่อการ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาส่งเสริม ตัวบ่งชี้ ความสัมพันธ์ 1. สถานศึ ก ษามี ร ะบบและกลไกในการส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ และความร่วมมือ และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา กับชุมชนใน 2. สถานศึ ก ษามี กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ แ ละความ การพัฒนาการศึกษา ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 โทรสาร : 0-2938-2028 www.MACeducation.com