SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
43




บทเรียนสําเเร็จรูป
บทเรียนสํ ร็
ตามหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544


     หมวดวิชาคณิตศาสตร
   ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
            เรื่อง เซต

          หนวยที่ 2
      ความสัมพันธของเซต
                  ของเซต
44


                                                                       หนวยที่ 2
                                              เรื่อง ความสัมพันธของเซต
                                                              นธ
จุดประสงคการเรียนรู 
จุดประสงคการเรียนรู
        เมื่อผูเรียนเรียนจบเนื้อหาเรื่อง ความสัมพันธของเซตแลว ผูเรียนสามารถ
        1. หาสับเซตของเซตที่กําหนดใหได
        2. หาจํานวนสับเซตทั้งหมดของเซตที่กําหนดใหได
        3. เขียนเพาเวอรเซตของเซตที่กําหนดใหได
        4. บอกเอกภพสัมพัทธของเซตที่กําหนดใหได
        5. เขียนแผนภาพเวนน - ออยเลอรแสดงความสัมพันธของเซตที่กําหนดใหได
สื่อการเรียน
สื่อการเรียน
        บทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง ความสัมพันธของเซต
คําาแนะนําาในการเรียน
คํ แนะนํ ในการเรียน
         ในการเรียนเนื้อหาจากบทเรียนสําเร็จรูปนี้ ผูเรียนจะตองปฏิบัติดังนี้
         1. ไมใหขีดเขียน หรือทําเครื่องหมายใด ๆ ทั้งสิ้นลงในบทเรียนสําเร็จรูป
         2. ในการเรียนบทเรียนสําเร็จรูปนี้ ใหผเู รียนอานและศึกษาในหนาแรก
         3. ตอบคําถามทายเนื้อหา โดยเลือกคําตอบที่ใหมา
         4. เมื่อเลือกคําตอบแลว ใหผูเรียนดูเลขหนาที่ระบุไวทายคําตอบแลวเปดไปดูหนานั้น
         5. ใหผูเรียนอานขอความในหนานั้น จะทําใหทราบวาคําตอบที่เลือกถูกหรือผิด ถาผิด
ใหทบทวนเนื้อหาในหนานั้นอีกครั้ง จากนั้นเปดตอไปยังหนาที่บอกตอ ๆ ไป ทําเชนนี้ไป
เรื่อย ๆ จนจบหนวย
         6. เนื้อหา และกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูเรียนศึกษานี้เปนบทเรียนไมใชขอสอบ
         7. ผูเรียนตองมีความซื่อสัตยตอตนเอง โดยไมควรเปดดูเฉลยกอนที่จะตอบคําถาม
เพราะจะทําใหผูเรียนไมเขาใจเนื้อหาเทาที่ควร
         8. หลังจากเรียนจบหนวยแลว ใหผูเรียนทําแบบฝกหัดประจําหนวย พรอมทั้งตรวจ
คําตอบดวยตนเองจากเฉลยทายบทเรียน
45




                                    สับเซต




   บทนิยาม
   บทนิยาม

          กําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A เปนสับเซตของ B
ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B เขียนแทนดวย A ⊂ B
             สัญลักษณ “ ⊂ ” อานวา เปนสับเซต
          เชน A = {1, 2, 3}
                   B = {4, 3, 2, 1}
          จะได A ⊂ B เพราะสมาชิกของ A เปนสมาชิกของ B

      ลองคิด ลองทําา
      ลองคิด ลองทํ

       ถาให C = {2, 4, 6, 8} และ D = {2, 4, 6, 8, 10} ขอใดถูกตอง
       ก. D ⊂ C
       ข. C ⊂ D

                                               ตอบ ขอ ก..
                                               ตอบ ขอ ก       เปดไปหนาา 55
                                                                เปดไปหน
                                               ตอบ ขอ ข..
                                               ตอบ ขอ ข        เปดไปหน 3
                                                               เปดไปหนาา 113




                                                                                 1
46




                      ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                              อีกครั้งนะคะ



• ถา U = {1, 2, 3, …}
        A = {2, 4, 6}
        B = {x ⏐ x เปนจํานวนนับ และ 6< x < 14}
จะได B = {7, 8, 9, 10, 11, 12, 13}
ดังนั้น A ⊂ U เพราะสมาชิกทุกตัวของ A อยูใน U
        B ⊂ U เพราะสมาชิกทุกตัวของ B อยูใน U
        A กับ B ไมมีสมาชิกรวมกัน
สามารถเขียนแสดงความสัมพันธดวยแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้
                                                 U
                                   1 3
                                         5
                  13 7 9                     A
                       8 10
                    11 12
              B


         เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 17
                                       ลองคิ ดลองทํ           หน 17




                                                                         2
47



                                              เกงมากคะที่ตอบขอ ก
                                     จากแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                     จะได U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม} และ
                                                {x ⏐x
                                     A = {-1, -2, -3, …, -10 }
                       เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                                       จากกรอบข

แผนภาพเวนน - ออยเลอร

       ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A ⊂ B จะเขียนไดดงรูป
                                                                     ั

                                                 U
                             B       A



      ลองคิด ลองทําา
      ลองคิด ลองทํ

       ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มบวก}

                                                 U
                             B       A


       จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง
       ก. A = {1, 3, 5, 7} B = {x ⏐x เปนจํานวนคี่ และ 1 < x < 7}
       ข. A = {1, 3, 5, 7} B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 1 ≤ x < 10}
                                                 ตอบ ขอ ก..
                                                 ตอบ ขอ ก     เปดไปหนาา 114
                                                                เปดไปหน 4
                                                 ตอบ ขอ ข..
                                                 ตอบ ขอ ข     เปดไปหนาา 17
                                                                เปดไปหน 17
                                                                                     3
48



                                      เกงมากคะที่ตอบขอ ก
                         B = {2, 4, 6}        P(B) = {∅, {2}, {4}, {6},
                         {2, 4}, {2, 6}, {4, 6}, {2, 4, 6}}

                                                     จากกรอบ                  ...

เอกภพสัมพัทธ

       บทนิยาม

       เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดในขอบขายที่กําลัง
พิจารณาอยูในขณะนั้น เขียนแทนดวย U
       เชน U = เซตของอักษรในภาษาอังกฤษ
                A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ
                B = เซตของคําวา “Math”
       ดังนั้น A ⊂ U , B ⊂ U


       ลองคิด ลองทําา
       ลองคิด ลองทํ

       กําหนดให A = {1, 2, 3, ..., 10} ขอใดเปนเอกภพสัมพัทธของ A
       ก. U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มลบ }
       ข. U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มบวก}

                                             ตอบ ขอ ก..
                                             ตอบ ขอ ก      เปดไปหนาา 110
                                                             เปดไปหน 0
                                             ตอบ ขอ ข..
                                             ตอบ ขอ ข       เปดไปหน 0
                                                            เปดไปหนาา 220
                                                                                    4
49




                             ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                                     อีกครั้งนะคะ



        จากบทนิยามกลาวไววา ถากําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา
A เปนสับเซตของ B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B



       จะเห็นไดวา
       สมาชิกของ C ประกอบไปดวย 1, 3, 5, 7

       สมาชิกของ D ประกอบไปดวย 3, 7, 5, 1, 9

       ซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซต C เปนสมาชิกของเซต D




                  เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 1
                                                ลองคิ ดลองทํ           หน 1




                                                                                 5
50



                                          เกงมากคะที่ตอบขอ ก
                                                   -
                                  จะได A = {1, 3, 5} และ
                                            {1,
                                  B = {x ⏐x                       5 ≤ x < 13}

                                                       จากกรอบ                  ...


แผนภาพเวนน - ออยเลอร

         ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A กับ B มีสมาชิก
บางตัวซ้ํากัน จะเขียนไดดังรูป
                                                  U
                              B
                                           A


      ลองคิด ลองทําา
      ลองคิด ลองทํ

       ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม}
                                                  U
                              B
                                           A


       จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง
       ก. A = {2, 4, 6, 8} B = {x ⏐x เปนจํานวนคู และ 8 < x < 18}
       ข. A = {2, 4, 6, 8} B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 6 ≤ x < 10}
                                               ตอบ ขอ ก..
                                               ตอบ ขอ ก     เปดไปหนาา 16
                                                              เปดไปหน 16
                                               ตอบ ขอ ข..
                                               ตอบ ขอ ข     เปดไปหนาา 23
                                                              เปดไปหน 23            6
51




          จากบทนิยาม
            ถากําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A เปนสับเซตของ B
ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B
            เซต A ไมเปนสับเซตของ B ถามีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของ A ที่ไม
เปนสมาชิกของ B เขียนแทนดวย A ⊄ B




       ซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซต C เปนสมาชิกของเซต D
       ดังนั้น C เปนสับเซตของ D เขียนแทนดวย C ⊂ D
       แต สมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของ D คือ 9 ไมเปนสมาชิกของ C
       ดังนั้น D จึงไมเปนสับเซตของ C เขียนแทนดวย D ⊄ C



                  เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 13
                                                ลองคิ ดลองทํ           หน 13


                                                                                  7
52



                                                        ข
                     B = {x ⏐x                     21 < x < 26}
                      B = {22, 23, 24, 25}                     B=4
                                    = 2n = 24 = 16

                                             จากกรอบ                 ...




ดังนั้น A เปนสับเซตแทของ B




                                             .                19
                                             .                11
                                                               1
                                                                           8
53




        ถามีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต A ไมเปนสมาชิกของ B หรือมีสมาชิก
อยางนอย 1 ตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของ A เรากลาววา A ไมเทากับ B เขียน
แทนดวย A ≠ B

       •

               B = {8, 4, 1}

       •

       เชน     A = {1, 2} มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ 2
                B = {2, 2, 1} มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ 2
       ถือวา เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B


                 เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 11
                                               ลองคิ ดลองทํ           หน 11


                                                                                 9
54




                              ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                                      อีกครั้งนะคะ
                                        กครั


       กําหนดเอกภพสัมพัทธ (U) เปนเซตของจํานวนนับ
       ถา      A = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ x ≤ 5}
                B = {x ⏐3 ≤ x + 2 ≤ 14 }
                C = {x ⏐x เปนจํานวนนับที่หารดวย 6 ลงตัว }
       จะเห็นไดวา A ⊂ U , B ⊂ U, C ⊂ U
       นั่นคือ ขอบขายที่กําลังพิจารณาอยูคือเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกที่เปน
จํานวนนับ
       U = {1, 2, 3, …}
       A = {1, 2, 3, 4, 5}
       ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ A เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ
       ดังนั้น A ⊂ U
       B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12}
       ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ B เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ
       ดังนั้น B ⊂ U
       C = {6, 12, 18, … }
       ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ C เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ
       ดังนั้น C ⊂ U

                   เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 4
                                                 ลองคิ ดลองทํ           หน 4

                                                                                  10
55




                                         เกงมากคะที่ตอบขอ ข
                             A = {1, 3, 5, 7} และ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
                                                      {1,
                        ดังนัน A เปนสับเซตแทของ C เพราะ A ⊂ B แต A ≠ B
                             ้


                     เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                                     จากกรอบข




       • กําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A = B ก็ตอเมื่อ A ⊂ B
และ B ⊂ A หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา เซต A และเซต B จะเทากันก็ตอเมื่อเซตทั้ง
สองเหมือนกันทุกตัว เขียนแทนดวย A = B
       เชน A = {1, 8, 4} และ B = {8, 4, 1}
              จะได A = B เพราะ A ⊂ B และ B ⊂ A

       ลองคิด ลองทําา
       ลองคิด ลองทํ

       ถาให A = {1, 1, 2, 3, 3, 4, 5, 5} และ B = {1, 3, 1, 4, 4, 2, 5}
       ขอใดถูกตอง
       ก. A = B
       ข. B ≠ A
                                                ตอบ ขอ ก.. เปดไปหนาา 18
                                                 ตอบ ขอ ก         เปดไปหน 18
                                                ตอบ ขอ ข.. เปดไปหนาา 99
                                                 ตอบ ขอ ข         เปดไปหน
                                                                                   11
56




                       ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                               อีกครั้งนะคะ



กําหนดให



       ดังนั้น A ⊂ U



                                   U




                                   U
                          A




                                                   20

                                                        12
57




                                  เกงมากคะที่ตอบขอ ข

                          C = {2, 4, 6, 8} และ D = {2, 4, 6, 8, 10}
                                                   {2,
                          ดังนัน C ⊂ D เพราะสมาชิกทุกตัวของ C
                               ้
                     เปนสมาชิกของ D

                 เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                                 จากกรอบข




จะได A ⊄ B เพราะวา b เปนสมาชิกของ A แตไมเปนสมาชิกของ B
และจะได B ⊄ A เพราะวา i เปนสมาชิกของ B แตไมเปนสมาชิกของ A

ลองคิด ลองทําา
ลองคิด ลองทํ

ถาให C = {a, e, i, o} และ D = {e, u, a, o, i} ขอใดถูกตอง
ก. D ⊄ C และ C ⊂ D
ข. D ⊂ C และ C ⊄ D
                                          ตอบ ขอ ก.. เปดไปหนาา 115
                                          ตอบ ขอ ก        เปดไปหน 5
                                          ตอบ ขอ ข.. เปดไปหนาา 77
                                          ตอบ ขอ ข        เปดไปหน


                                                                               13
58




                       ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                       ลองทบทวนใหม
                               อีกครั้งนะคะ




      A = {2, 4, 6, 8}

จะได B = {2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9. 10}




                                             U
                     10           2 6
                                       4 A
                          9        8
                      5              3
                B             7


          เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 3
                                        ลองคิ ดลองทํ           หน 3




                                                                         14
59




                                                 ก
               C = {a, e, i, e} D = {e, u, a, e, i}
                     C⊂D                            C
                          D D C

        เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                        จากกรอบข




ก. 24

                               ตอบ ขอ ก..
                               ตอบ ขอ ก      เปดไปหนาา 22
                                               เปดไปหน 22
                                        .                  8
                                                                      15
60




                    ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้
                            อีกครั้งนะคะ



• ถา U = {1, 2, 3, …}
      A = {3, 5, 7, 9}




                                   U
                         10
                 B 8          9 3 7 A
                                 5




                                                6




                                                     16
61


                                         เกงมากคะที่ตอบขอ ข
                                  จากแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                       A = {1, 3, 5, 7} และ
                                  B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 1 ≤ x < 10}

                                                  จากกรอบ                   ...

แผนภาพเวนน - ออยเลอร

        ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A กับ B ไมมสมาชิก
                                                                 ี
รวมกัน จะเขียนไดดงรูป
                   ั


                                          A
                              B

      ลองคิด ลองทําา
      ลองคิด ลองทํ

       ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม}



                              B




                                                     .               6
                                                     .               2
                                                                                  17
62


                                                                     ก
                                    A=B                      A   1, 2, 3, 4, 5 และ
                                      B      1, 2, 3, 4, 5
                    เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                                    จากกรอบข



       บทนิยาม
       กําหนดให A เปนเซตใด ๆ เพาเวอรเซตของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเปน
สับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนดวย P(A)
       เขียนใหอยูในรูปเซต นั่นคือ P(A) = { x ⏐x ⊂ A }
                  
       วิธีเขียนเซต
       ถา A เปนเซตใด ๆ ที่มีสมาชิก n ตัว การหาจํานวนสับเซตของ A = 2n
       การเขียนสับเซต จะตองเขียนเซตซึ่งประกอบดวย
       1. เซตวาง
       2. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 1 ตัว
       3. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 2 ตัว
       4. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก n ตัว
       เชน A = {1, 2}
       จะไดสับเซตของ A คือ ∅, {1}, {2}, {1, 2}




       ก. P(B) = {∅, {2}, {4}, {6}, {2, 4}, {2, 6}, {4, 6}, {2, 4, 6}}


                                                       .                  4
                                                                                     18
                                                       .                 21
63




        A เปนสับเซตแทของ B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซตA เปนสมาชิกของ
เซต B นั่นก็คอ เซต A เปนสับเซตของเซต B แต เซต A ไมเทากับเซต B นั่นก็คือ
               ื
เซต A มีจํานวนสมาชิกไมเทากับเซต B
        เชน
        A = {2, 4, 6, 8}
        B = { x ⏐x เปนจํานวนคู และ 2 ≤ x ≤ 8 }
        จะได B = {2, 4, 6, 8}
        C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
        ดังนั้น
        A ไมเปนสับเซตแทของ B เพราะ เซต A เทากับ B (เขียนแทนดวย A = B )
        A เปนสับเซตแทของ C เพราะ สมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ C แต
เซต A ไมเทากับ C (เขียนแทนดวย A ≠ C )



                  เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 8
                                                ลองคิ ดลองทํ           หน 8




                                                                                 19
64



                                             เกงมากคะที่ตอบขอ ข
                             A = {1, 2, 3, …, 10} ดังนั้น เอกภพสัมพัทธของ A คือ
                             U={                            }
                       เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ...
                                                       จากกรอบข

แผนภาพเวนน - ออยเลอร


                                                             U


                                                U
                                    A



      ลองคิด ลองทําา
      ลองคิด ลองทํ



                                    A


       จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง




                                               ตอบ ขอ ก..
                                               ตอบ ขอ ก         เปดไปหนาา 33
                                                                  เปดไปหน
                                               ตอบ ขอ ข..
                                               ตอบ ขอ ข         เปดไปหนาา 112
                                                                  เปดไปหน 2        20
65




• เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นันคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A⊂A
•                                ่
•




2. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 1 ตัว นั่นคือ {1}, {2}, {3}




          เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 18
                                        ลองค ดลองทํ
                                        ลองคิ                   หน 18


                                                                           21
66




                            ะ




จําานวนสับเซตของเซต = 2nn
จํ นวนสับเซตของเซต = 2




                                15




                                     22
67




                                                               ข
                                                    -
                                         A = {2, 4, 6, 8} และ
                                    B = {x ⏐x                 6 ≤ x < 10}




             A                      B                      A
B                A⊂B



              จํานวนสับเซตของเซต = 2n

                            A                                           A
             P(A)

            เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดในขอบขายที่
กําลังพิจารณาอยูในขณะนั้น เขียนแทนดวย U

                        –
                                -


                                                                            23
68




                            2




     ถาามั่นใจแลวเชิญทําาแบบฝกหัดประจําา
      ถ มั่นใจแลวเชิญทํ แบบฝกหัดประจํ
หนวยที่ ่ 2 ไดเเลยคะ
หนวยที 2 ได ลยคะ




                                              24

More Related Content

What's hot

การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาDarika Roopdee
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้องจะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้องJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันAon Narinchoti
 

What's hot (20)

31201mid531
31201mid53131201mid531
31201mid531
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
31201final521
31201final52131201final521
31201final521
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้องจะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
31202 mid512
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
31202 mid502
31202 mid50231202 mid502
31202 mid502
 
2587
25872587
2587
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 

Viewers also liked

Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อnarinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1Aon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2Aon Narinchoti
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อAon Narinchoti
 

Viewers also liked (16)

Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
4 statistic
4 statistic4 statistic
4 statistic
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Similar to 2

เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯkrupatcharin
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลยHamlaz
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4Jirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551krulerdboon
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3benjalakpitayaschool
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 

Similar to 2 (20)

เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Headpon1
Headpon1Headpon1
Headpon1
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
Eq5
Eq5Eq5
Eq5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 3
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

2

  • 1. 43 บทเรียนสําเเร็จรูป บทเรียนสํ ร็ ตามหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หมวดวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง เซต หนวยที่ 2 ความสัมพันธของเซต ของเซต
  • 2. 44 หนวยที่ 2 เรื่อง ความสัมพันธของเซต นธ จุดประสงคการเรียนรู  จุดประสงคการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบเนื้อหาเรื่อง ความสัมพันธของเซตแลว ผูเรียนสามารถ 1. หาสับเซตของเซตที่กําหนดใหได 2. หาจํานวนสับเซตทั้งหมดของเซตที่กําหนดใหได 3. เขียนเพาเวอรเซตของเซตที่กําหนดใหได 4. บอกเอกภพสัมพัทธของเซตที่กําหนดใหได 5. เขียนแผนภาพเวนน - ออยเลอรแสดงความสัมพันธของเซตที่กําหนดใหได สื่อการเรียน สื่อการเรียน บทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง ความสัมพันธของเซต คําาแนะนําาในการเรียน คํ แนะนํ ในการเรียน ในการเรียนเนื้อหาจากบทเรียนสําเร็จรูปนี้ ผูเรียนจะตองปฏิบัติดังนี้ 1. ไมใหขีดเขียน หรือทําเครื่องหมายใด ๆ ทั้งสิ้นลงในบทเรียนสําเร็จรูป 2. ในการเรียนบทเรียนสําเร็จรูปนี้ ใหผเู รียนอานและศึกษาในหนาแรก 3. ตอบคําถามทายเนื้อหา โดยเลือกคําตอบที่ใหมา 4. เมื่อเลือกคําตอบแลว ใหผูเรียนดูเลขหนาที่ระบุไวทายคําตอบแลวเปดไปดูหนานั้น 5. ใหผูเรียนอานขอความในหนานั้น จะทําใหทราบวาคําตอบที่เลือกถูกหรือผิด ถาผิด ใหทบทวนเนื้อหาในหนานั้นอีกครั้ง จากนั้นเปดตอไปยังหนาที่บอกตอ ๆ ไป ทําเชนนี้ไป เรื่อย ๆ จนจบหนวย 6. เนื้อหา และกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูเรียนศึกษานี้เปนบทเรียนไมใชขอสอบ 7. ผูเรียนตองมีความซื่อสัตยตอตนเอง โดยไมควรเปดดูเฉลยกอนที่จะตอบคําถาม เพราะจะทําใหผูเรียนไมเขาใจเนื้อหาเทาที่ควร 8. หลังจากเรียนจบหนวยแลว ใหผูเรียนทําแบบฝกหัดประจําหนวย พรอมทั้งตรวจ คําตอบดวยตนเองจากเฉลยทายบทเรียน
  • 3. 45 สับเซต บทนิยาม บทนิยาม กําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A เปนสับเซตของ B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B เขียนแทนดวย A ⊂ B สัญลักษณ “ ⊂ ” อานวา เปนสับเซต เชน A = {1, 2, 3} B = {4, 3, 2, 1} จะได A ⊂ B เพราะสมาชิกของ A เปนสมาชิกของ B ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให C = {2, 4, 6, 8} และ D = {2, 4, 6, 8, 10} ขอใดถูกตอง ก. D ⊂ C ข. C ⊂ D ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 55 เปดไปหน ตอบ ขอ ข.. ตอบ ขอ ข เปดไปหน 3 เปดไปหนาา 113 1
  • 4. 46 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ อีกครั้งนะคะ • ถา U = {1, 2, 3, …} A = {2, 4, 6} B = {x ⏐ x เปนจํานวนนับ และ 6< x < 14} จะได B = {7, 8, 9, 10, 11, 12, 13} ดังนั้น A ⊂ U เพราะสมาชิกทุกตัวของ A อยูใน U B ⊂ U เพราะสมาชิกทุกตัวของ B อยูใน U A กับ B ไมมีสมาชิกรวมกัน สามารถเขียนแสดงความสัมพันธดวยแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้ U 1 3 5 13 7 9 A 8 10 11 12 B เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 17 ลองคิ ดลองทํ หน 17 2
  • 5. 47 เกงมากคะที่ตอบขอ ก จากแผนภาพเวนน-ออยเลอร จะได U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม} และ {x ⏐x A = {-1, -2, -3, …, -10 } เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข แผนภาพเวนน - ออยเลอร ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A ⊂ B จะเขียนไดดงรูป ั U B A ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มบวก} U B A จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง ก. A = {1, 3, 5, 7} B = {x ⏐x เปนจํานวนคี่ และ 1 < x < 7} ข. A = {1, 3, 5, 7} B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 1 ≤ x < 10} ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 114 เปดไปหน 4 ตอบ ขอ ข.. ตอบ ขอ ข เปดไปหนาา 17 เปดไปหน 17 3
  • 6. 48 เกงมากคะที่ตอบขอ ก B = {2, 4, 6} P(B) = {∅, {2}, {4}, {6}, {2, 4}, {2, 6}, {4, 6}, {2, 4, 6}} จากกรอบ ... เอกภพสัมพัทธ บทนิยาม เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดในขอบขายที่กําลัง พิจารณาอยูในขณะนั้น เขียนแทนดวย U เชน U = เซตของอักษรในภาษาอังกฤษ A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ B = เซตของคําวา “Math” ดังนั้น A ⊂ U , B ⊂ U ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ กําหนดให A = {1, 2, 3, ..., 10} ขอใดเปนเอกภพสัมพัทธของ A ก. U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มลบ } ข. U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็มบวก} ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 110 เปดไปหน 0 ตอบ ขอ ข.. ตอบ ขอ ข เปดไปหน 0 เปดไปหนาา 220 4
  • 7. 49 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ อีกครั้งนะคะ จากบทนิยามกลาวไววา ถากําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A เปนสับเซตของ B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B จะเห็นไดวา สมาชิกของ C ประกอบไปดวย 1, 3, 5, 7 สมาชิกของ D ประกอบไปดวย 3, 7, 5, 1, 9 ซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซต C เปนสมาชิกของเซต D เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 1 ลองคิ ดลองทํ หน 1 5
  • 8. 50 เกงมากคะที่ตอบขอ ก - จะได A = {1, 3, 5} และ {1, B = {x ⏐x 5 ≤ x < 13} จากกรอบ ... แผนภาพเวนน - ออยเลอร ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A กับ B มีสมาชิก บางตัวซ้ํากัน จะเขียนไดดังรูป U B A ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม} U B A จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง ก. A = {2, 4, 6, 8} B = {x ⏐x เปนจํานวนคู และ 8 < x < 18} ข. A = {2, 4, 6, 8} B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 6 ≤ x < 10} ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 16 เปดไปหน 16 ตอบ ขอ ข.. ตอบ ขอ ข เปดไปหนาา 23 เปดไปหน 23 6
  • 9. 51 จากบทนิยาม ถากําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A เปนสับเซตของ B ก็ตอเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ B เซต A ไมเปนสับเซตของ B ถามีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของ A ที่ไม เปนสมาชิกของ B เขียนแทนดวย A ⊄ B ซึ่งสมาชิกทุกตัวของเซต C เปนสมาชิกของเซต D ดังนั้น C เปนสับเซตของ D เขียนแทนดวย C ⊂ D แต สมาชิกอยางนอยหนึ่งตัวของ D คือ 9 ไมเปนสมาชิกของ C ดังนั้น D จึงไมเปนสับเซตของ C เขียนแทนดวย D ⊄ C เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 13 ลองคิ ดลองทํ หน 13 7
  • 10. 52 ข B = {x ⏐x 21 < x < 26} B = {22, 23, 24, 25} B=4 = 2n = 24 = 16 จากกรอบ ... ดังนั้น A เปนสับเซตแทของ B . 19 . 11 1 8
  • 11. 53 ถามีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวของเซต A ไมเปนสมาชิกของ B หรือมีสมาชิก อยางนอย 1 ตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของ A เรากลาววา A ไมเทากับ B เขียน แทนดวย A ≠ B • B = {8, 4, 1} • เชน A = {1, 2} มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ 2 B = {2, 2, 1} มีจํานวนสมาชิก 2 ตัว คือ 1 และ 2 ถือวา เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 11 ลองคิ ดลองทํ หน 11 9
  • 12. 54 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ อีกครั้งนะคะ กครั กําหนดเอกภพสัมพัทธ (U) เปนเซตของจํานวนนับ ถา A = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ x ≤ 5} B = {x ⏐3 ≤ x + 2 ≤ 14 } C = {x ⏐x เปนจํานวนนับที่หารดวย 6 ลงตัว } จะเห็นไดวา A ⊂ U , B ⊂ U, C ⊂ U นั่นคือ ขอบขายที่กําลังพิจารณาอยูคือเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกที่เปน จํานวนนับ U = {1, 2, 3, …} A = {1, 2, 3, 4, 5} ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ A เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้น A ⊂ U B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12} ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ B เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้น B ⊂ U C = {6, 12, 18, … } ซึ่งสมาชิกทุกตัวของ C เปนจํานวนนับและอยูในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้น C ⊂ U เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 4 ลองคิ ดลองทํ หน 4 10
  • 13. 55 เกงมากคะที่ตอบขอ ข A = {1, 3, 5, 7} และ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} {1, ดังนัน A เปนสับเซตแทของ C เพราะ A ⊂ B แต A ≠ B ้ เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข • กําหนดให A และ B เปนเซตใด ๆ เรากลาววา A = B ก็ตอเมื่อ A ⊂ B และ B ⊂ A หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา เซต A และเซต B จะเทากันก็ตอเมื่อเซตทั้ง สองเหมือนกันทุกตัว เขียนแทนดวย A = B เชน A = {1, 8, 4} และ B = {8, 4, 1} จะได A = B เพราะ A ⊂ B และ B ⊂ A ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให A = {1, 1, 2, 3, 3, 4, 5, 5} และ B = {1, 3, 1, 4, 4, 2, 5} ขอใดถูกตอง ก. A = B ข. B ≠ A ตอบ ขอ ก.. เปดไปหนาา 18 ตอบ ขอ ก เปดไปหน 18 ตอบ ขอ ข.. เปดไปหนาา 99 ตอบ ขอ ข เปดไปหน 11
  • 14. 56 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ อีกครั้งนะคะ กําหนดให ดังนั้น A ⊂ U U U A 20 12
  • 15. 57 เกงมากคะที่ตอบขอ ข C = {2, 4, 6, 8} และ D = {2, 4, 6, 8, 10} {2, ดังนัน C ⊂ D เพราะสมาชิกทุกตัวของ C ้ เปนสมาชิกของ D เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข จะได A ⊄ B เพราะวา b เปนสมาชิกของ A แตไมเปนสมาชิกของ B และจะได B ⊄ A เพราะวา i เปนสมาชิกของ B แตไมเปนสมาชิกของ A ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให C = {a, e, i, o} และ D = {e, u, a, o, i} ขอใดถูกตอง ก. D ⊄ C และ C ⊂ D ข. D ⊂ C และ C ⊄ D ตอบ ขอ ก.. เปดไปหนาา 115 ตอบ ขอ ก เปดไปหน 5 ตอบ ขอ ข.. เปดไปหนาา 77 ตอบ ขอ ข เปดไปหน 13
  • 16. 58 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ ลองทบทวนใหม อีกครั้งนะคะ A = {2, 4, 6, 8} จะได B = {2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9. 10} U 10 2 6 4 A 9 8 5 3 B 7 เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 3 ลองคิ ดลองทํ หน 3 14
  • 17. 59 ก C = {a, e, i, e} D = {e, u, a, e, i} C⊂D C D D C เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข ก. 24 ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 22 เปดไปหน 22 . 8 15
  • 18. 60 ลองทบทวนใหมจากกรอบขางลางนี้ อีกครั้งนะคะ • ถา U = {1, 2, 3, …} A = {3, 5, 7, 9} U 10 B 8 9 3 7 A 5 6 16
  • 19. 61 เกงมากคะที่ตอบขอ ข จากแผนภาพเวนน-ออยเลอร A = {1, 3, 5, 7} และ B = {x ⏐x เปนจํานวนนับ และ 1 ≤ x < 10} จากกรอบ ... แผนภาพเวนน - ออยเลอร ถา A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U และ A กับ B ไมมสมาชิก ี รวมกัน จะเขียนไดดงรูป ั A B ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ ถาให U = {x ⏐x เปนจํานวนเต็ม} B . 6 . 2 17
  • 20. 62 ก A=B A 1, 2, 3, 4, 5 และ B 1, 2, 3, 4, 5 เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข บทนิยาม กําหนดให A เปนเซตใด ๆ เพาเวอรเซตของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเปน สับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนดวย P(A) เขียนใหอยูในรูปเซต นั่นคือ P(A) = { x ⏐x ⊂ A }  วิธีเขียนเซต ถา A เปนเซตใด ๆ ที่มีสมาชิก n ตัว การหาจํานวนสับเซตของ A = 2n การเขียนสับเซต จะตองเขียนเซตซึ่งประกอบดวย 1. เซตวาง 2. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 1 ตัว 3. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 2 ตัว 4. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก n ตัว เชน A = {1, 2} จะไดสับเซตของ A คือ ∅, {1}, {2}, {1, 2} ก. P(B) = {∅, {2}, {4}, {6}, {2, 4}, {2, 6}, {4, 6}, {2, 4, 6}} . 4 18 . 21
  • 21. 63 A เปนสับเซตแทของ B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซตA เปนสมาชิกของ เซต B นั่นก็คอ เซต A เปนสับเซตของเซต B แต เซต A ไมเทากับเซต B นั่นก็คือ ื เซต A มีจํานวนสมาชิกไมเทากับเซต B เชน A = {2, 4, 6, 8} B = { x ⏐x เปนจํานวนคู และ 2 ≤ x ≤ 8 } จะได B = {2, 4, 6, 8} C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} ดังนั้น A ไมเปนสับเซตแทของ B เพราะ เซต A เทากับ B (เขียนแทนดวย A = B ) A เปนสับเซตแทของ C เพราะ สมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของ C แต เซต A ไมเทากับ C (เขียนแทนดวย A ≠ C ) เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 8 ลองคิ ดลองทํ หน 8 19
  • 22. 64 เกงมากคะที่ตอบขอ ข A = {1, 2, 3, …, 10} ดังนั้น เอกภพสัมพัทธของ A คือ U={ } เมื่อเขาใจแลว ศึกษาเนื้อหาใหมจากกรอบขางลางไดเลยคะ... จากกรอบข แผนภาพเวนน - ออยเลอร U U A ลองคิด ลองทําา ลองคิด ลองทํ A จากแผนภาพเวนน - ออยเลอรที่กําหนดให ขอใดถูกตอง ตอบ ขอ ก.. ตอบ ขอ ก เปดไปหนาา 33 เปดไปหน ตอบ ขอ ข.. ตอบ ขอ ข เปดไปหนาา 112 เปดไปหน 2 20
  • 23. 65 • เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นันคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A⊂A • ่ • 2. เซตที่ประกอบไปดวยสมาชิก 1 ตัว นั่นคือ {1}, {2}, {3} เมื่อศึกษาเขาใจแลว ใหกลับไปลองคิิดลองทําาอีกครั้งในหนาา 18 ลองค ดลองทํ ลองคิ หน 18 21
  • 24. 66 ะ จําานวนสับเซตของเซต = 2nn จํ นวนสับเซตของเซต = 2 15 22
  • 25. 67 ข - A = {2, 4, 6, 8} และ B = {x ⏐x 6 ≤ x < 10} A B A B A⊂B จํานวนสับเซตของเซต = 2n A A P(A) เอกภพสัมพัทธ คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดในขอบขายที่ กําลังพิจารณาอยูในขณะนั้น เขียนแทนดวย U – - 23
  • 26. 68 2 ถาามั่นใจแลวเชิญทําาแบบฝกหัดประจําา ถ มั่นใจแลวเชิญทํ แบบฝกหัดประจํ หนวยที่ ่ 2 ไดเเลยคะ หนวยที 2 ได ลยคะ 24