SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
สรุปเนื้อหาวิชา เซต
           นิยาม : เซตเปนอนิยาม คือ ไมมีนิยามนั่นเอง
เมื่อพูดถึง เซต ใหนึกถึง ”กลุม” ซึ่งกลุมนั้นอาจจะมีสมาชิก หรือไมมีสมาชิกก็ได
           สําหรับเซตซึ่งมีสมาชิก สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ สมาชิกมีจํานวนที่แนนอน --> เราเรียกเซตนั้นวา “เซตจํากัด” หาก
จํานวนสมาชิกมีจํานวนมากมายไมสามารถบอกปริมาณที่แนนอนไดเราเรียก “เซตอนันต”
การเขียนเซต
           นิยมทํากัน 2 วิธี คือ 1. แบบแจกแจงสมาชิก, 2. แบบบอกเงื่อนไข
           ก. แบบแจกแจงสมาชิก
           เชน A = {1, 2,3} อานวา A เปนเซตซึ่งมีสมาชิกเปน 1, 2 และ 3
           ข. แบบบอกเงื่อนไข
           เชน A = { x ∈ I + 4 < x < 6} อานวา A เปนเซตของ x ซึ่ง x เปนสมาชิกของจํานวนเต็มบวก โดยที่ x มีคามากกวา 4 แตนอยกวา 6
                                                                                                              
ซึ่ง เราสามารถที่จะเขียนแทนเซต A ไดดวยการแจกแจงสมาชิก คือ A ={5}
สัญลักษณที่ใชในเซต
          1. ∈ แทน เปนสมาชิก
          เชน 2 ∈ I+ อานวา 2 เปนสมาชิกของจํานวนเต็มบวก
          2. U แทน เอกภพสัมพัทธ
          ใชเพื่อกําหนดขอบเขตของสิ่งที่เราสนใจและกําลังศึกษา
          3. ∅,{ } แทน เซตวาง
สัญลักษณของระบบจํานวนที่พบบอย
                                                        R : จํานวนจริง

                   Q : จํานวนตรรกยะ                                                            Q’ : จํานวนอตรรกยะ

                   I: จํานวนเต็ม      เศษสวน            ทศนิยมซ้ํา

I-: จํานวนเต็มลบ I0: จํานวนเต็ม 0 I+: จํานวนเต็มบวก
การเทากันของเซต
          1. จํานวนสมาชิกเทากัน              2. สมาชิกเหมือนกัน
การเทียบเทากันของเซต
          1. จํานวนสมาชิกเทากัน
การกําหนดเซต
          จะตอง 1.) มีสมาชิกแนนอน หรือ ไมมีสมาชิกเลย
                  2.) หากกําหนดเปนแบบบกเงื่อนไข จะตองไมกํากวม คือ ทุกคนตองตอบเหมือนกัน
ตัวอยางของการกําหนดเซตที่ไมถูกตอง
          ใหเซต A แทนเซตของคนที่หลอที่สุดในโรงเรียน        เปนตน
สับเซต สัญลักษณ ⊂
         A ⊂ B อานวา “A เปนสับเซตของ B”
         นิยาม : A จะเปนสับเซตของ B ได ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวในเซต A ตองอยูในเซต B
         ขอควรจํา : เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต
ตัวอยางการหาสับเซต
ตย.1 จงหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของ A เมื่อ A = {1, 2}
                   สับเซต A = ∅ , {1}, {2}, {1,2}
จะสังเกตไดวา แตละเซตของสับเซต A เชน {1} มีสมาชิกหนึ่งตัว คือ 1 ซึ่งก็เปนสมาชิกของ A ดวยเชนกัน
         จํานวนสับเซตของ A มีทั้งหมด 4 เซต
ตย.2 จงหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของ B เมื่อ B = {3, 4, 5}
                   สับเซต B = ∅ , {3}, {4}, {5}, {3,4}, {3,5}, {4,5}, {3,4,5}
         จํานวนสับเซตของ B มีทั้งหมด 8 เซต
จาก ตย.1 และ ตย.2 จะสามารถสังเกตไดวา จํานวนสับเซตมีความสัมพันธกับจํานวนสมาชิกของเซตเดิมคือ
         จํานวนสับเซต = 2 ยกกําลังจํานวนสมาชิกของเซตเดิม = 2n เมื่อ n คือจํานวนสมาชิกของเซตเดิม
         สับเซตแท คือสับเซตที่ไมใชเซตเดิม
                   เชน A = {1, 2} สับเซต A = ∅ , {1}, {2}, {1,2}
                                      สับเซตแท                 สับเซตไมแท

การ Operation ของเซต
         1. Union : รวม -> สัญลักษณ ∪                                2. Intersection : เหมือน -> สัญลักษณ ∩
         3. Difference : ตาง -> ลัญลักษณ -                          4. Complement : ไมเอา -> สัญลักษณ ‘
ตัวอยางการใชงาน
         U = {1, 2, 3, 4, …, 10}, A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {2, 4, 6, 8, 10}
         1. Union : A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} ; B ∪ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} -> A ∪ B = B ∪ A
         2. Intersection : A ∩ B = {2, 4} ; B ∩ A = {2, 4} -> A ∩ B = B ∩ A
         3. Difference : A - B = {1, 3, 5} ; B – A = {6, 8, 10} -> A – B ≠ B – A
                   จํางาย ๆ วา : เปนสมาชิกที่อยูเฉพาะในเซตหนา ไมอยูในเซตหลัง
         4. Complement : A’ = {6, 7, 8, 9, 10} ; B’ = {1, 3, 5, 7, 9}
                   ไมเอาสมาชิกในเซตที่มีเครื่องหมาย ‘ แตสมาชิกที่ไดยังคงตองอยูใน U
สมบัติของการ Operation
         1. A ∪ B = B ∪ A               การสลับที่
         2. A ∩ B = B ∩ A
         3. A ∪ ∅ = A
         4. A ∩ ∅ = ∅                   เอกลักษณ
         5. A ∪ U = U
         6. A ∩ U = A
         7. A ∪ (B ∪ C) = (A ∪ B) ∪ C                 การเปลี่ยนกลุม
         8. A ∩ (B ∩ C) = (A ∩ B) ∩ C
9. A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)
          10. A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C)           การกระจาย
          11. A – (B ∩ C) = (A – B) ∩ (A – C)
          12. A – (B ∪ C) = (A – B) ∪ (A – C)
          13. (A’)’ = A
          14. (A ∪ B)’ = A’ ∩ B’                สมบัติของ Complement
          15. A ∪ A’ = U
          16. A ∩ A’ = ∅
          17. **A - B = A ∩ B’ = B’ – A’ ** Difference
          18. A – B ≠ B – A
เพาเวอรเซต (Power Set)
          คือ เซตของสับเซต
เชน A = {1, 2} -> Subset A = ∅ , {1}, {2}, {1, 2}
               Power Set A = { ∅ , {1}, {2}, {1, 2}}
ความสัมพันธของ Power Set กับการ Operation
          P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B)
          P(A ∪ B) ≠ P(A) ∪ P(B)
          ถา A ⊂ B แลว P(A ∪ B) = P(A) ∪ P(B) -> ดังนั้นสามารถสรุปไดวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B)
          P(A – B) ≠ P(A) – P(B)
แผนภาพเวนน – ออยเลอร เปนแผนภาพหรือสัญลักษณแทนการแจกแจง
          ประโยชน คือ ทําใหงายตอการทําความเขาใจและการคํานวณ

แทน U เอกภพสัมพัทธดวย กรอบสี่เหลี่ยม

แทนเซตตาง ๆ ดวยวงกลมในกรอบ

การหาจํานวนสมาชิกของเซต
        สามารถพิสูจนไดจากการเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอร
        n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
        n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)



                                                                          สําหรับเนื้อหาในเรื่องเซต สรุปคราว ๆ ไดดังแสดงไวดานบน
                                                                                                        ตอจากนี้ลองทําโจทยดูนะครับ
                                ใหเนนเรื่องนิยาม คําจํากัดความ และหลักการกอน สวนเทคนิคจะคอย ๆเพิ่มพูนจากการทําโจทยนะครับ
                                                 จากนั้นใหเนนในเรื่องการเขียนแผนภาพโดยเฉพาะพวกโจทยที่มี เชา เย็น, ฝนตก ไมตก
                                                                                                                   ขอใหสนุกนะครับ
                                                                                                                                 ณัฐ

More Related Content

What's hot

เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตNuchita Kromkhan
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตkroojaja
 

What's hot (20)

M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
สับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซตสับเซตและพาวเวอร์เซต
สับเซตและพาวเวอร์เซต
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Set
SetSet
Set
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลkrupatcharin
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Atit Patumvan
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
เวนน์ออยเลอร์
เวนน์ออยเลอร์เวนน์ออยเลอร์
เวนน์ออยเลอร์kroojaja
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังkroojaja
 
Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsAtit Patumvan
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9saman1
 

Viewers also liked (20)

แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
 
Set
SetSet
Set
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
เวนน์ออยเลอร์
เวนน์ออยเลอร์เวนน์ออยเลอร์
เวนน์ออยเลอร์
 
2
22
2
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
 
Chapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics toolsChapter 1 mathmatics tools
Chapter 1 mathmatics tools
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9
คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 9
 

Similar to เซตตตตตต

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)Tum Anucha
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Focusjung Suchat
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 

Similar to เซตตตตตต (18)

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์6เอกภพสัมพัทธ์
6เอกภพสัมพัทธ์
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
10ยูเนียน
10ยูเนียน10ยูเนียน
10ยูเนียน
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 

เซตตตตตต

  • 1. สรุปเนื้อหาวิชา เซต นิยาม : เซตเปนอนิยาม คือ ไมมีนิยามนั่นเอง เมื่อพูดถึง เซต ใหนึกถึง ”กลุม” ซึ่งกลุมนั้นอาจจะมีสมาชิก หรือไมมีสมาชิกก็ได สําหรับเซตซึ่งมีสมาชิก สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ สมาชิกมีจํานวนที่แนนอน --> เราเรียกเซตนั้นวา “เซตจํากัด” หาก จํานวนสมาชิกมีจํานวนมากมายไมสามารถบอกปริมาณที่แนนอนไดเราเรียก “เซตอนันต” การเขียนเซต นิยมทํากัน 2 วิธี คือ 1. แบบแจกแจงสมาชิก, 2. แบบบอกเงื่อนไข ก. แบบแจกแจงสมาชิก เชน A = {1, 2,3} อานวา A เปนเซตซึ่งมีสมาชิกเปน 1, 2 และ 3 ข. แบบบอกเงื่อนไข เชน A = { x ∈ I + 4 < x < 6} อานวา A เปนเซตของ x ซึ่ง x เปนสมาชิกของจํานวนเต็มบวก โดยที่ x มีคามากกวา 4 แตนอยกวา 6  ซึ่ง เราสามารถที่จะเขียนแทนเซต A ไดดวยการแจกแจงสมาชิก คือ A ={5} สัญลักษณที่ใชในเซต 1. ∈ แทน เปนสมาชิก เชน 2 ∈ I+ อานวา 2 เปนสมาชิกของจํานวนเต็มบวก 2. U แทน เอกภพสัมพัทธ ใชเพื่อกําหนดขอบเขตของสิ่งที่เราสนใจและกําลังศึกษา 3. ∅,{ } แทน เซตวาง สัญลักษณของระบบจํานวนที่พบบอย R : จํานวนจริง Q : จํานวนตรรกยะ Q’ : จํานวนอตรรกยะ I: จํานวนเต็ม เศษสวน ทศนิยมซ้ํา I-: จํานวนเต็มลบ I0: จํานวนเต็ม 0 I+: จํานวนเต็มบวก การเทากันของเซต 1. จํานวนสมาชิกเทากัน 2. สมาชิกเหมือนกัน การเทียบเทากันของเซต 1. จํานวนสมาชิกเทากัน การกําหนดเซต จะตอง 1.) มีสมาชิกแนนอน หรือ ไมมีสมาชิกเลย 2.) หากกําหนดเปนแบบบกเงื่อนไข จะตองไมกํากวม คือ ทุกคนตองตอบเหมือนกัน ตัวอยางของการกําหนดเซตที่ไมถูกตอง ใหเซต A แทนเซตของคนที่หลอที่สุดในโรงเรียน เปนตน
  • 2. สับเซต สัญลักษณ ⊂ A ⊂ B อานวา “A เปนสับเซตของ B” นิยาม : A จะเปนสับเซตของ B ได ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวในเซต A ตองอยูในเซต B ขอควรจํา : เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต ตัวอยางการหาสับเซต ตย.1 จงหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของ A เมื่อ A = {1, 2} สับเซต A = ∅ , {1}, {2}, {1,2} จะสังเกตไดวา แตละเซตของสับเซต A เชน {1} มีสมาชิกหนึ่งตัว คือ 1 ซึ่งก็เปนสมาชิกของ A ดวยเชนกัน จํานวนสับเซตของ A มีทั้งหมด 4 เซต ตย.2 จงหาสับเซตที่เปนไปไดทั้งหมดของ B เมื่อ B = {3, 4, 5} สับเซต B = ∅ , {3}, {4}, {5}, {3,4}, {3,5}, {4,5}, {3,4,5} จํานวนสับเซตของ B มีทั้งหมด 8 เซต จาก ตย.1 และ ตย.2 จะสามารถสังเกตไดวา จํานวนสับเซตมีความสัมพันธกับจํานวนสมาชิกของเซตเดิมคือ จํานวนสับเซต = 2 ยกกําลังจํานวนสมาชิกของเซตเดิม = 2n เมื่อ n คือจํานวนสมาชิกของเซตเดิม สับเซตแท คือสับเซตที่ไมใชเซตเดิม เชน A = {1, 2} สับเซต A = ∅ , {1}, {2}, {1,2} สับเซตแท สับเซตไมแท การ Operation ของเซต 1. Union : รวม -> สัญลักษณ ∪ 2. Intersection : เหมือน -> สัญลักษณ ∩ 3. Difference : ตาง -> ลัญลักษณ - 4. Complement : ไมเอา -> สัญลักษณ ‘ ตัวอยางการใชงาน U = {1, 2, 3, 4, …, 10}, A = {1, 2, 3, 4, 5}, B = {2, 4, 6, 8, 10} 1. Union : A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} ; B ∪ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 10} -> A ∪ B = B ∪ A 2. Intersection : A ∩ B = {2, 4} ; B ∩ A = {2, 4} -> A ∩ B = B ∩ A 3. Difference : A - B = {1, 3, 5} ; B – A = {6, 8, 10} -> A – B ≠ B – A จํางาย ๆ วา : เปนสมาชิกที่อยูเฉพาะในเซตหนา ไมอยูในเซตหลัง 4. Complement : A’ = {6, 7, 8, 9, 10} ; B’ = {1, 3, 5, 7, 9} ไมเอาสมาชิกในเซตที่มีเครื่องหมาย ‘ แตสมาชิกที่ไดยังคงตองอยูใน U สมบัติของการ Operation 1. A ∪ B = B ∪ A การสลับที่ 2. A ∩ B = B ∩ A 3. A ∪ ∅ = A 4. A ∩ ∅ = ∅ เอกลักษณ 5. A ∪ U = U 6. A ∩ U = A 7. A ∪ (B ∪ C) = (A ∪ B) ∪ C การเปลี่ยนกลุม 8. A ∩ (B ∩ C) = (A ∩ B) ∩ C
  • 3. 9. A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C) 10. A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) การกระจาย 11. A – (B ∩ C) = (A – B) ∩ (A – C) 12. A – (B ∪ C) = (A – B) ∪ (A – C) 13. (A’)’ = A 14. (A ∪ B)’ = A’ ∩ B’ สมบัติของ Complement 15. A ∪ A’ = U 16. A ∩ A’ = ∅ 17. **A - B = A ∩ B’ = B’ – A’ ** Difference 18. A – B ≠ B – A เพาเวอรเซต (Power Set) คือ เซตของสับเซต เชน A = {1, 2} -> Subset A = ∅ , {1}, {2}, {1, 2} Power Set A = { ∅ , {1}, {2}, {1, 2}} ความสัมพันธของ Power Set กับการ Operation P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B) P(A ∪ B) ≠ P(A) ∪ P(B) ถา A ⊂ B แลว P(A ∪ B) = P(A) ∪ P(B) -> ดังนั้นสามารถสรุปไดวา P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) P(A – B) ≠ P(A) – P(B) แผนภาพเวนน – ออยเลอร เปนแผนภาพหรือสัญลักษณแทนการแจกแจง ประโยชน คือ ทําใหงายตอการทําความเขาใจและการคํานวณ แทน U เอกภพสัมพัทธดวย กรอบสี่เหลี่ยม แทนเซตตาง ๆ ดวยวงกลมในกรอบ การหาจํานวนสมาชิกของเซต สามารถพิสูจนไดจากการเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอร n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) สําหรับเนื้อหาในเรื่องเซต สรุปคราว ๆ ไดดังแสดงไวดานบน ตอจากนี้ลองทําโจทยดูนะครับ ใหเนนเรื่องนิยาม คําจํากัดความ และหลักการกอน สวนเทคนิคจะคอย ๆเพิ่มพูนจากการทําโจทยนะครับ จากนั้นใหเนนในเรื่องการเขียนแผนภาพโดยเฉพาะพวกโจทยที่มี เชา เย็น, ฝนตก ไมตก ขอใหสนุกนะครับ ณัฐ