SlideShare a Scribd company logo
ลำดับ
พิจารณาแบบรูปของจำนวน  1, 3, 5, 7, 9, . . . , 2 n  – 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำดับที่กับจำนวนแต่ละจำนวนในรูปได้ดังนี้ จากตารางจะเห็นว่า ความสัมพันธ์ข้างต้นเป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น  {1, 2, 3, 4, 5, …}   จะมีเรนจ์เป็น  {1, 3, 5, 7, 9, …}  (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .   ลำดับที่ 1 2 3 4 5 ... จำนวน 1 3 5 7 9 ...
1 5 2 3 4 6 2 12 10 4 6 8 n 2n  (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . .,  (n,2n)   
1.   (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .   2.   (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . ., (n,2n)   ________________________________  ×  ×  ×  ×   เป็นฟังก์ชัน    เป็นลำดับ ×  ไม่เป็นลำดับ
ลำดับ ฟังก์ชัน ที่มี โดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก ที่เรียง จากน้อยไปมาก โดยเริ่มตั้งแต่  1   เรียกว่า
1.   (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .   2.   (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . ., (n,2n)   ________________________________  ×   ×     เป็นลำดับจำกัด ×  เป็นลำดับอนันต์
ในกรณีที่ฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น  {1, 2, 3, …, n}  จะเรียกลำดับดังกล่าวว่า  ลำดับจำกัด  ในกรณีที่ฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น  {1, 2, 3, …}  จะเรียกลำดับ  ดังกล่าวว่า  ลำดับอนันต์ วิธีการเขียนลำดับ #   การแจงพจน์   #  พจน์ทั่วไป   ลำดับ  1, 3, 6, 10, 15 , . . . เมื่อ ลำดับ  1, 3, 5, 7, 9, ...  เมื่อ  n  เป็นจำนวนเต็ม
ในการเขียนลำดับ จะเขียนเฉพาะ สมาชิก ของเรนจ์เรียงกันไป กล่าวคือ ถ้า  a  เป็นลำดับจำกัดจะเขียนแทนด้วย  a 1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n   ในกรณีที่  a   เป็นลำดับอนันต์จะเขียนแทนด้วย   a 1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เรียก  a 1   ว่า พจน์ที่  1  ของลำดับ a 2   ว่า พจน์ที่  2  ของลำดับ a 3   ว่า   พจน์ที่  3  ของลำดับ a n   ว่า พจน์ที่  n   หรือพจน์ทั่วไป (  general term  )   ของลำดับจากตัวอย่างที่กล่าวมา
ตัวอย่างที่  1  จงหาสี่พจน์แรกของลำดับ  วิธีทำ ดังนั้นสี่พจน์แรกของลำดับนี้คือ  1, 4, 7, 10 = 3(1) – 2 = 1 = 3(2) – 2 = 4 = 3(3) – 2 = 7 = 3(4) – 2 = 10
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ คือ การเขียนแสดงพจน์ทั่วไป  ในรูปที่มี  n  เป็นตัวแปร และเมื่อแทน  n  ด้วยสมาชิกในเซต  {1, 2, …, m}  แล้วได้พจน์ที่  1, 2, 3, ...,  m   ของลำดับตรงตามที่กำหนดวิธีการหาพจน์ทั่วไปเช่นนี้ โดยทั่วไปใช้การสังเกตความสัมพันธ์ของพจน์ต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างพจน์กับลำดับที่ของพจน์ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่  1  จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดต่อไปนี้ ,[object Object],= 1 = 4 = 1 + 3   = 1 + 3(1)   = 7 = 1 + 3  + 3  = 1 + 3(2) = 16 = 1 + 3  + 3 + 3 + 3 + 3  = 1 + 3(5) = 13 = 1 + 3  + 3 + 3 + 3  = 1 + 3(4) = 10 = 1 + 3  + 3 + 3  = 1 + 3(3) จะได้  = 1 + 3(n - 1)   = 3n – 2  เมื่อ  n  {1,2,3,4,5,6}
ตัวอย่างที่  1   จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด  3, 4, 5, 6, 7 จะได้  a 1  =  3  =  1  + 2  a 2  =  4  =  2  + 2  a 3  =  5  =  3  + 2 a 4  =  6  =  4  + 2 a 5  =  7  =  5  + 2 วิธีทำ จากลำดับจำกัด  3, 4, 5, 6, 7 ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้  คือ  a n  =  n +2  เมื่อ  n = 1, 2, 3, 4, 5
ตัวอย่างที่  2   จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด  2, 4, 8, 16, 32 วิธีทำ จากลำดับจำกัด  2, 4, 8, 16, 32   จะได้  a 1  =  2  =  2 1 a 2  =  4  =  2 2 a 3  =  8  =  2 3 a 4  = 16  =  2 4 a 5  = 32  =  2 5 ดังนั้น   พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้ คือ  a n  = 2 n   เมื่อ  n = 1, 2, 3, 4, 5
ตัวอย่างที่  4 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด  1, -2, 3, -4, 5   จะได้  a 1  =  1  =  (-1) 1 +1   ( 1 ) a 2  = -2  =  (-1) 2 +1   ( 2 ) a 3  =  3  =  (-1) 3 +1   ( 3 ) a 4  = -4  =  (-1) 4 +1   ( 4 ) a 5  =  5  =  (-1) 5 +1   ( 5 ) วิธีทำ  จากลำดับจำกัด  1, -2, 3, -4, 5 ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้  a n  =  (-1) n +1  ( n )  เมื่อ  n = 1, 2, 3, 4, 5
ตัวอย่างที่  5 ,[object Object],[object Object],a n  = n + 4 a n  = n + 5 พจน์ทั่วไปของลำดับนี้คือ  เมื่อ  n = 1,2,3,4,5 เศษ ส่วน a n  =
ตัวอย่างที่  6  6, 10, 18, 30, 46, . . . 6, 10, 18,  30,  46,  . . . 4 8 16 12 4 a n   =  an 2  + bn + c a 1   =  a(1) 2  + b(1) + c 6   =  a  + b  + c 4   =  3a + b,  b  =  4 - 3a a 2   =  a(2) 2  + b(2) + c 10 =  4a + 2b  + c ……  ……     -   a 3   =  a(3) 2  + b(3) + c 30 =  9a  + 3b + c ……     -   24   =  8a + 2b, b  = 12 - 4a a  =  8 ,  b  =  -20   , c  =  18  a n   =  8n 2   - 20n + 18 เมื่อ  n  =  1, 2, 3, 4,   
ลำดับ 1 1,4,7,10,…,3n-5,3n-2,… 2 1,3,5,7,…,2n-3,2n-1,… 3 3,10,17,24,…,7n-11,7n-4,… 4 5,1,-3,-7,…,13-4n,9-4n,… 5 6 a 2  - a 1 a 3  – a 2 a 4  – a 3 a n  – a n-1 4 - 1 = 3 7- 4 = 3 10–7= 3 3 2 2 2 2 7 7 7 7 -4 -4 -4 -4
ลำดับเลขคณิต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สิ่งที่ต้องการหา สิ่งที่กำหนดให้ ความรู้ที่ใช้ แก้ปัญหา ตรวจสอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ตอบ
ตัวอย่าง ที่  1  จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต  6, 2, -2, -6,... a n a 1 ,a 2 สูตร หา  d,a n แก้สมการ  a n  = a 1 +(n-1)d ตรวจสอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ตอบ
ตัวอย่างที่  1  จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต  6, 2, -2, -6,... ,[object Object],จากลำดับเลขคณิต  6, 2, -2, -6, ... จะได้  d = 2 – 6 = -4 และ  = 6 จาก  =  + (n - 1)d  จะได้  =  6  + (n - 1)(-4)  =  6 – 4n + 4 =  10 – 4n นั่นคือ พจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิตนี้ หรือ  = 10 – 4n
ตัวอย่างที่  2   กำหนดให้พจน์ที่  10  และพจน์ที่  18  ของลำดับเลขคณิต    เท่ากับ  32  และ  48  ตามลำดับจงหาพจน์ที่  28 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างที่  3  -36  เป็นพจน์ที่เท่าไรของลำดับเลขคณิต  21,  18,  15, … ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างที่  3  ถ้า  5, a, b, c, 21  เป็นพจน์  5  พจน์  ที่เรียงกันในลำดับเลขคณิต จงหาค่าของ  a, b  และ  c ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีวิเคราะห์    จำนวนนับที่หารด้วย  9  ลงตัว  แต่ละพจน์จะต่างกันอยู่  9  จึงเป็นลำดับเลขคณิต     วิธีหา  a 1   ให้นำ  9  ไปหาร  200  เหลือเศษ  2  ต้องนำ  7  ไป   บวก กับเศษ  2  เพื่อรวมกันให้เศษเป็น  9  พจน์แรก คือ  a 1  = 207  และ  d = 9 ดังนั้น  200+7 = 207  เป็นพจน์แรกที่  9  หารลงตัว พจน์สุดท้าย คือ  a n วิธีหา  a n นำ  9  ไปหาร  800  เหลือเศษ  8  นำเศษ  8  ไปลบออกจาก  800    จะได้  800 - 8 = 792  เป็นพจน์สุดท้ายที่  9  หารลงตัว ดังนั้น  จำนวนนับที่  9  หารลงตัว คือ  207, 216, 225, …, 792    เป็นลำดับเลขคณิต มี  a n  = 792  และ  d = 9  แทนค่าในสูตร  a n  = a 1  +(n-1)d  แก้สมการ จะได้ค่า  n
1.  จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่  200  ถึง  800  ที่หารด้วย  9  ลงตัว 2.  จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่  200  ถึง  800  ที่หารด้วย  9  ไม่ลงตัว
1.  จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่  200  ถึง  800  ที่หารด้วย  9  ลงตัว 2.  จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่  200  ถึง  800  ที่หารด้วย  9  ไม่ลงตัว   a 1  = 207  d  =  9  a n   =  792 ลำดับเลขคณิต คือ 207,  216,  223,  …,  792 จาก    a n  = a 1  +(n-1)d 792  = 207+(n-1)(9)     =  n-1   n  =  66 ดังนั้น  จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่  200  ถึง 800  ที่หารด้วย  9  ลงตัวมี  66  พจน์   จำนวนพจน์ที่หารด้วย  9  ไม่ลงตัว  =  จำนวนพจน์ทั้งหมด  –  จำนวนพจน์ที่หารด้วย  9  ลงตัว =  (800-200+1)-6 =  601 – 66  =  535  พจน์
แบบฝึกหัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แบบฝึกหัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เฉลยแบบฝึกหัด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
krurutsamee
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
KruGift Girlz
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
Pang Pond
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
krulef1805
 
พื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลมพื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลม
ทับทิม เจริญตา
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
krurutsamee
 

What's hot (20)

เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
พื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลมพื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลม
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 

Viewers also liked

1 ลำดับเลขคณิต
1 ลำดับเลขคณิต1 ลำดับเลขคณิต
1 ลำดับเลขคณิต
Toongneung SP
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
TAMU Case Competition: IT at Mobile Music
TAMU Case Competition: IT at Mobile MusicTAMU Case Competition: IT at Mobile Music
TAMU Case Competition: IT at Mobile Music
Scott Brier
 
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556somdetpittayakom school
 
Gaby´s news
Gaby´s newsGaby´s news
Gaby´s news
gabriela
 
Tugas Kurikulum Dan Pembelajaran
Tugas Kurikulum Dan PembelajaranTugas Kurikulum Dan Pembelajaran
Tugas Kurikulum Dan Pembelajaranlindiani
 
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
somdetpittayakom school
 
Applying Cognitive Science to User Assistance
Applying Cognitive Science to User AssistanceApplying Cognitive Science to User Assistance
Applying Cognitive Science to User Assistance
The Transformation Society
 
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
somdetpittayakom school
 
Digipak Magazine Ad
Digipak Magazine AdDigipak Magazine Ad
Digipak Magazine Ad
guest5b35936d
 
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledgeThe Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
The Transformation Society
 

Viewers also liked (20)

ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
1 ลำดับเลขคณิต
1 ลำดับเลขคณิต1 ลำดับเลขคณิต
1 ลำดับเลขคณิต
 
ตัวอย่างการหาค่าความจริง
ตัวอย่างการหาค่าความจริงตัวอย่างการหาค่าความจริง
ตัวอย่างการหาค่าความจริง
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
92
9292
92
 
TAMU Case Competition: IT at Mobile Music
TAMU Case Competition: IT at Mobile MusicTAMU Case Competition: IT at Mobile Music
TAMU Case Competition: IT at Mobile Music
 
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556
ประกาศรับสมัครลูกจ้างชั่วคราว ปีการศึกษา 2556
 
Gaby´s news
Gaby´s newsGaby´s news
Gaby´s news
 
Tugas Kurikulum Dan Pembelajaran
Tugas Kurikulum Dan PembelajaranTugas Kurikulum Dan Pembelajaran
Tugas Kurikulum Dan Pembelajaran
 
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
ตารางสอบวัดผลกลางภาค(ภาคเรียน1 2557)
 
Applying Cognitive Science to User Assistance
Applying Cognitive Science to User AssistanceApplying Cognitive Science to User Assistance
Applying Cognitive Science to User Assistance
 
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
รางวัลระดับเหรียญทอง ศิลปะ เข้าร่วมงานนิทรรศน์ศิลป์ ศิลปินน้อย สพฐ.
 
Digipak Magazine Ad
Digipak Magazine AdDigipak Magazine Ad
Digipak Magazine Ad
 
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledgeThe Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
The Quantum Funnel: Working with the black holes of knowledge
 

Similar to ลำดับ11

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
krurutsamee
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
PumPui Oranuch
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
iheartboutigue
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
PumPui Oranuch
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆเทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
ทับทิม เจริญตา
 
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899Beer Aksornsart
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
Tonson Lalitkanjanakul
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
Tonson Lalitkanjanakul
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
Thanuphong Ngoapm
 

Similar to ลำดับ11 (20)

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆเทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
 
Real
RealReal
Real
 
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
E0b888e0b8b3e0b899e0b8a7e0b899e0b980e0b88ae0b8b4e0b887e0b88be0b989e0b8ade0b899
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 

More from อรุณศรี

การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
อรุณศรี
 
คณิตกับชีวิตประจำวัน
คณิตกับชีวิตประจำวันคณิตกับชีวิตประจำวัน
คณิตกับชีวิตประจำวัน
อรุณศรี
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
อรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 

More from อรุณศรี (7)

การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
คณิตกับชีวิตประจำวัน
คณิตกับชีวิตประจำวันคณิตกับชีวิตประจำวัน
คณิตกับชีวิตประจำวัน
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 

ลำดับ11

  • 2. พิจารณาแบบรูปของจำนวน 1, 3, 5, 7, 9, . . . , 2 n – 1 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างลำดับที่กับจำนวนแต่ละจำนวนในรูปได้ดังนี้ จากตารางจะเห็นว่า ความสัมพันธ์ข้างต้นเป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น {1, 2, 3, 4, 5, …} จะมีเรนจ์เป็น {1, 3, 5, 7, 9, …}  (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .  ลำดับที่ 1 2 3 4 5 ... จำนวน 1 3 5 7 9 ...
  • 3. 1 5 2 3 4 6 2 12 10 4 6 8 n 2n  (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . ., (n,2n) 
  • 4. 1.  (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .  2.  (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . ., (n,2n)  ________________________________  ×  ×  ×  ×   เป็นฟังก์ชัน  เป็นลำดับ × ไม่เป็นลำดับ
  • 5. ลำดับ ฟังก์ชัน ที่มี โดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก ที่เรียง จากน้อยไปมาก โดยเริ่มตั้งแต่ 1 เรียกว่า
  • 6. 1.  (1,1), (2,3) , (3,5) ,(4,7), (5,9), . . .  2.  (1,2), (2,4) , (3,6) ,(4,8), (5,10), . . ., (n,2n)  ________________________________  ×   ×   เป็นลำดับจำกัด × เป็นลำดับอนันต์
  • 7. ในกรณีที่ฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น {1, 2, 3, …, n} จะเรียกลำดับดังกล่าวว่า ลำดับจำกัด ในกรณีที่ฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น {1, 2, 3, …} จะเรียกลำดับ ดังกล่าวว่า ลำดับอนันต์ วิธีการเขียนลำดับ # การแจงพจน์ # พจน์ทั่วไป ลำดับ 1, 3, 6, 10, 15 , . . . เมื่อ ลำดับ 1, 3, 5, 7, 9, ... เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม
  • 8. ในการเขียนลำดับ จะเขียนเฉพาะ สมาชิก ของเรนจ์เรียงกันไป กล่าวคือ ถ้า a เป็นลำดับจำกัดจะเขียนแทนด้วย a 1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ในกรณีที่ a เป็นลำดับอนันต์จะเขียนแทนด้วย a 1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เรียก a 1 ว่า พจน์ที่ 1 ของลำดับ a 2 ว่า พจน์ที่ 2 ของลำดับ a 3 ว่า พจน์ที่ 3 ของลำดับ a n ว่า พจน์ที่ n หรือพจน์ทั่วไป ( general term ) ของลำดับจากตัวอย่างที่กล่าวมา
  • 9. ตัวอย่างที่ 1 จงหาสี่พจน์แรกของลำดับ วิธีทำ ดังนั้นสี่พจน์แรกของลำดับนี้คือ 1, 4, 7, 10 = 3(1) – 2 = 1 = 3(2) – 2 = 4 = 3(3) – 2 = 7 = 3(4) – 2 = 10
  • 10. การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ คือ การเขียนแสดงพจน์ทั่วไป ในรูปที่มี n เป็นตัวแปร และเมื่อแทน n ด้วยสมาชิกในเซต {1, 2, …, m} แล้วได้พจน์ที่ 1, 2, 3, ..., m ของลำดับตรงตามที่กำหนดวิธีการหาพจน์ทั่วไปเช่นนี้ โดยทั่วไปใช้การสังเกตความสัมพันธ์ของพจน์ต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างพจน์กับลำดับที่ของพจน์ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 11.
  • 12. ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด 3, 4, 5, 6, 7 จะได้ a 1 = 3 = 1 + 2 a 2 = 4 = 2 + 2 a 3 = 5 = 3 + 2 a 4 = 6 = 4 + 2 a 5 = 7 = 5 + 2 วิธีทำ จากลำดับจำกัด 3, 4, 5, 6, 7 ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้ คือ a n = n +2 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5
  • 13. ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด 2, 4, 8, 16, 32 วิธีทำ จากลำดับจำกัด 2, 4, 8, 16, 32 จะได้ a 1 = 2 = 2 1 a 2 = 4 = 2 2 a 3 = 8 = 2 3 a 4 = 16 = 2 4 a 5 = 32 = 2 5 ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้ คือ a n = 2 n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5
  • 14. ตัวอย่างที่ 4 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับจำกัด 1, -2, 3, -4, 5 จะได้ a 1 = 1 = (-1) 1 +1 ( 1 ) a 2 = -2 = (-1) 2 +1 ( 2 ) a 3 = 3 = (-1) 3 +1 ( 3 ) a 4 = -4 = (-1) 4 +1 ( 4 ) a 5 = 5 = (-1) 5 +1 ( 5 ) วิธีทำ จากลำดับจำกัด 1, -2, 3, -4, 5 ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับจำกัดนี้ a n = (-1) n +1 ( n ) เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5
  • 15.
  • 16. ตัวอย่างที่ 6 6, 10, 18, 30, 46, . . . 6, 10, 18, 30, 46, . . . 4 8 16 12 4 a n = an 2 + bn + c a 1 = a(1) 2 + b(1) + c 6 = a + b + c 4 = 3a + b, b = 4 - 3a a 2 = a(2) 2 + b(2) + c 10 = 4a + 2b + c ……  ……   -  a 3 = a(3) 2 + b(3) + c 30 = 9a + 3b + c ……   -  24 = 8a + 2b, b = 12 - 4a a = 8 , b = -20 , c = 18 a n = 8n 2 - 20n + 18 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 
  • 17. ลำดับ 1 1,4,7,10,…,3n-5,3n-2,… 2 1,3,5,7,…,2n-3,2n-1,… 3 3,10,17,24,…,7n-11,7n-4,… 4 5,1,-3,-7,…,13-4n,9-4n,… 5 6 a 2 - a 1 a 3 – a 2 a 4 – a 3 a n – a n-1 4 - 1 = 3 7- 4 = 3 10–7= 3 3 2 2 2 2 7 7 7 7 -4 -4 -4 -4
  • 18.
  • 19. หลักการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สิ่งที่ต้องการหา สิ่งที่กำหนดให้ ความรู้ที่ใช้ แก้ปัญหา ตรวจสอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ตอบ
  • 20. ตัวอย่าง ที่ 1 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต 6, 2, -2, -6,... a n a 1 ,a 2 สูตร หา d,a n แก้สมการ a n = a 1 +(n-1)d ตรวจสอบ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ตอบ
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. วิธีวิเคราะห์ จำนวนนับที่หารด้วย 9 ลงตัว แต่ละพจน์จะต่างกันอยู่ 9 จึงเป็นลำดับเลขคณิต วิธีหา a 1 ให้นำ 9 ไปหาร 200 เหลือเศษ 2 ต้องนำ 7 ไป บวก กับเศษ 2 เพื่อรวมกันให้เศษเป็น 9 พจน์แรก คือ a 1 = 207 และ d = 9 ดังนั้น 200+7 = 207 เป็นพจน์แรกที่ 9 หารลงตัว พจน์สุดท้าย คือ a n วิธีหา a n นำ 9 ไปหาร 800 เหลือเศษ 8 นำเศษ 8 ไปลบออกจาก 800 จะได้ 800 - 8 = 792 เป็นพจน์สุดท้ายที่ 9 หารลงตัว ดังนั้น จำนวนนับที่ 9 หารลงตัว คือ 207, 216, 225, …, 792 เป็นลำดับเลขคณิต มี a n = 792 และ d = 9 แทนค่าในสูตร a n = a 1 +(n-1)d แก้สมการ จะได้ค่า n
  • 26. 1. จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่ 200 ถึง 800 ที่หารด้วย 9 ลงตัว 2. จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่ 200 ถึง 800 ที่หารด้วย 9 ไม่ลงตัว
  • 27. 1. จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่ 200 ถึง 800 ที่หารด้วย 9 ลงตัว 2. จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่ 200 ถึง 800 ที่หารด้วย 9 ไม่ลงตัว a 1 = 207 d = 9 a n = 792 ลำดับเลขคณิต คือ 207, 216, 223, …, 792 จาก a n = a 1 +(n-1)d 792 = 207+(n-1)(9) = n-1 n = 66 ดังนั้น จำนวนนับที่มีค่าตั้งแต่ 200 ถึง 800 ที่หารด้วย 9 ลงตัวมี 66 พจน์ จำนวนพจน์ที่หารด้วย 9 ไม่ลงตัว = จำนวนพจน์ทั้งหมด – จำนวนพจน์ที่หารด้วย 9 ลงตัว = (800-200+1)-6 = 601 – 66 = 535 พจน์
  • 28.
  • 29.
  • 30.