SlideShare a Scribd company logo
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                      เรื่อง
              โครงงานคณิตศาสตร
                   (ตอนที่ 3)
               การถอดรากที่สาม
                      โดย
  ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ


      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                               สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร
              สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย

       1. SET50
       2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
       3. การถอดรากที่สาม
       4. เสนตรงลอมเสนโคง
       5. กระเบื้องที่ยืดหดได

               คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู
       และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ
       สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และ
       ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                          1	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       เรื่อง           โครงงานคณิตศาสตร
       หมวด             โครงงานคณิตศาสตร
       ตอนที่           3 (3/5)

       หัวขอยอย       -

       จุดประสงคการเรียนรู
            เพื่อใหผูเรียนพัฒนาความชางสงสัยและหมั่นตั้งคําถาม      แมแตกับสิ่งที่เห็นจนเจนตาแตไมเคยทราบ
       เหตุผลมากอน รวมทั้งเห็นตัวอยางของการแสดงวาเปนจริงที่อาจนําไปสูการคนพบใหม ๆ ทั้งนี้ทั้งนั้น
       เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้น           มิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียนตองเรียนรูอยางจริงจัง
                                                                                                      
       หากเปนเพียงพาหนะเพื่อชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งที่แสดงใหเห็นความสําคัญของการพิสูจนเทานั้น




                                                           2	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                            โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร

       โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย
       หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบ ของ
       ปญหาทางคณิตศาสตร


                                       สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร

       สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม
       ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต
       ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจำแนกแยกแยะ
       และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร          ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงาน
       คณิตศาสตรคือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง


                                              วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้

       สื่อฯตอนนีจะนำเสนอกระบวนการทําความเขาใจขั้นตอนการหารากที่สองของจํานวนทศนิยม จนกระทั่ง
                  ้
       สามารถนํามาใชในการคิดคนและอธิบายวิธีการถอดรากที่สามได ซึ่งในการทําเชนนี้ เราจําเปนตอง
       เขาใจขั้นตอนการคํานวณอยางถองแท รวมทั้งสามารถแสดงหรือพิสูจนไดวาขั้นตอนดังกลาวนํามาซึ่ง
       ผลลัพธที่ตองการ

       เนื้อหาที่นําเสนอในสื่อฯตอนนี้ มิไดนํามาจากโครงงานคณิตศาสตรใด ๆ แตหากเปนตัวอยางที่แสดงให
       เห็นความสําคัญของการเขาใจอยางถองแทและความสามารถในการพิสูจน ซึงบอยครั้งที่นําไปสูปญหา
                                                                             ่
       และแนวความคิดใหม ๆ ที่อาจทําใหเกิดโครงงานคณิตศาสตรที่นาสนใจตอไป




                                                          3	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                          เนื้อหาในสื่อการสอน
       สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย

1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:43)
2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 03:22)
3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:16)




                                                        4	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                  1. ชวงเปดตอน




                                           5	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                          1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:43)

       ผูบรรยาย(ทั้งสอง) ดังแสดงในรูปที่ 1 เริ่มจากตัวอยางการหาสูตรผลบวกของจํานวนนับ 1+2 = 2x3/2,
       1+2+3 = 3x4/2, 1+2+3+4 = 4x5/2 ซึ่งนําไปสูขอสังเกตวา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ นั้น 1+2+…+n =
       nx(n+1)/2 อยางไรก็ตาม หากตองการยืนยันวาขอสรุปดังกลาวเปนจริงโดยทั่วไป นั่นคือ เปนจริงสําหรับ
       ทุกจํานวนนับ n เราจําเปนตองทําการพิสูจน วิธีหนึ่งในการพิสูจนสมการนี้ทคอนขางใกลเคียงกับการให
                                                                                ี่
       เหตุผลโดยวิธีอุปนัย คือการพิสูจนโดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร (Mathematical induction) ซึ่งสามารถศึกษา
       เพิ่มเติมไดจากสื่อเรื่องการใหเหตุผลและตรรกศาสตร

       หลังจากนั้นผูบรรยายจึงอธิบายถึงความแตกตางที่สําคัญขอหนึ่งระหวางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ถึงแม
       วา ทั้งสองศาสตรนั้นตองการความชางสังเกต ตั้งคําถาม และหาคําตอบ แตสิ่งที่ไมเหมือนกันอยางหนึงคือ
                                                                                                       ่
       วิทยาศาสตรจะตั้งสมมติฐาน และหาวิธีทดสอบสมมติฐานวาจริงหรือไมผานการทดลองที่ออกแบบไวดีแลว
       ในขณะทีคณิตศาสตรหาคําตอบของปญหาที่เกิดจากการสังเกตโดยการ “พิสูจน” นั่นเอง
                 ่

       การพิสูจนขอความ(ทางคณิตศาสตร)หนึ่ง ๆ คือการใชหลักตรรกศาสตรในการแสดงใหเห็นอยางชัดแจงวา
       ขอความนั้นเปนจริงอยางไมมีขอโตแยงใด ๆ เลย




                                                 รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน


                                                             6	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                    2. ชวงสารคดี




                                           7	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                              2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 03:22)

         ชวงสารคดีนี้ เริ่มดวยการเลาประวัตโดยสังเขปของเรขาคณิตตั้งแตยุคโบราณ จนถึงยุคของยูคลิดแหงอเล็ก-
                                             ิ
         ซานเดรียในอารยธรรมกรีกโบราณ ผูเขียนหนังสือ The Elements ที่วางรากฐานของเรขาคณิตแบบยูคลิด
         และพิสูจนวา ทรงตันเพลโต (Platonic solid) มีเพียง 5 แบบเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 2(ง)
         การกลาวถึงยูคลิดและผลงานของเขานั้น นอกจากตองการเลาประวัติของเรขาคณิตแลว ยังตองการแสดงให
         เห็นวาทฤษฎีคณิตศาสตรที่ไดรับการพิสูจนวาเปนจริงแลวนั้น เปนสิ่งที่จีรังและจริงแทแนนอน โดยมิอาจมี
         ผูใดมาเปลี่ยนแปลงได ไมวาเวลาจะผานไปนานเพียงใด ดังเชนทฤษฎีบทตาง ๆ ในหนังสือของยูคลิดที่ยัง
         เปนจริงและควรคาแกการศึกษาจวบจนปจจุบัน




               (ก) ตัวอยางการศึกษาเรขาคณิตในยุคโบราณ                                  (ข) ยูคลิดแหงอเล็กซานเดรีย




               (ค) หนาหนึ่งจากหนังสือ The Elements                    (ง) ทรงตันเพลโตทั้ง 5 แบบ
                       รูปที่ 2 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติยอของเรขาคณิตจนถึงยุคของยูคลิด

       ทรงตันเพลโต (Platonic solid) หมายถึงทรงตันนูนหลายหนาปรกติ (regular convex polyhedron) นั่นคือ
       หนาของทรงตันเปนรูปหลายเหลี่ยมปรกติที่มีจํานวนเหลี่ยมและขนาดเทากันทุกหนา และแตละจุดยอดเกิดจาก
       การเขามุมของหนาจํานวนเทากัน เชน ทรงสี่หนาปรกติ (regular tetrahedron) ที่อยูทางขวาสุดของรูปที่ 2(ง)
       เปนทรงหลายหนาที่ประกอบดวยหนารูปสามเหลี่ยมดานเทา 4 หนา มี 4 จุดยอด 6 ขอบ โดยที่แตจุดยอด
       เกิดจากหนารูปสามเหลี่ยมดานเทา 3 หนา

                                                                8	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                     (ก) พีทาโกรัสแหงซามอส                                         (ข) ทฤษฎีบทพีทาโกรัส




                    (ค) ภาพแสดงคา c2                                  (ง) ภาพแสดงคา a2 + b2
                           รูปที่ 3 ภาพประกอบคําอธิบายทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทพิสูจน
                 ภาพ (ค) และ (ง) เปนภาพที่ชวยทําความเขาใจบทพิสูจนบทหนึ่งของทฤษฎีบทพีทาโกรัส

       ตอจากนั้น สื่อฯไดกลาวถึงนักคณิตศาสตรชาวกรีกโบราณ นายพีทาโกรัสแหงซามอส (รูปที่ 3(ก)) ผูที่เปน
       นักคณิตศาสตรที่ไดรับการกลาวถึงมากที่สุดคนหนึ่งของโลก อันเนืองมาจากทฤษฎีบทพีทาโกรัสที่บอกความ
                                                                       ่
       สัมพันธ ระหวางความยาวดานทั้งสามของสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ (รูปที่ 3(ข)) ทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปน
       แนวคิดที่เปนรากฐานของทฤษฎีคณิตศาสตรมากมายจนถึงปจจุบัน เฉกเชนเดียวกับทฤษฎีบทคณิตศาสตรอื่น ๆ
       อีกมากมาย ทฤษฎีบทพีทาโกรัสก็มีบทพิสูจนที่แตกตางกันหลากหลายวิธี บทพิสูจนเหลานี้ตางมีความสําคัญ
       และคุณคาแกคณิตศาสตรที่ไมยิ่งหยอนไปกวาการพิสูจนทฤษฎีใหม ๆ เลย ในสื่อฯตอนนี้ ไดอธิบายบทพิสูจน
       ดวยภาพ 2 บท เปนตัวอยาง นอกจากนั้น ทฤษฎีบทพีทาโกรัสยังเปนตัวอยางหนึ่งของการเชื่อมโยงแนวคิด
       ทางเรขาคณิตกับพีชคณิตเขาดวยกัน ซึ่งตอมานายอัลควาริซมีเปนผูวางรากฐานการเชื่อมโยงแนวคิดทางเรขา-
       คณิตและพีชคณิตไวอยางเปนระบบ ในหนังสือของเขา (รูปที่ 4)




                                                               9	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                               (ก)                                               (ข)
                                  รูปที่ 4 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติของอัลควาริซมี

       อันดับตอไปเปนการนําเสนอความตองการถอดรากที่สามที่มีมาเนิ่นนานตั้งแตโบราณกาล เชน ปญหาการหา
       ความยาวดานของลูกบาศกที่มีปริมาตร 2 ลูกบาศกหนวย

       ตอจากนั้น จึงไดพรรณนาถึงความสําคัญในการพิสูจนยืนยันวากระบวนการคํานวณตาง ๆ ที่เรารูจักคุนเคยและ
       ใชไดอยางคลองแคลว จะใหผลลัพธอยางที่ตองการเสมอ และอาจารยรังสิมากลาวถึงความสําคัญของการพิสูจน
       ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร

       หลังจากนั้นจึงไดกลาวถึงเครื่องมือหรือนวัตกรรมทางคณิตศาสตรจากยุคโบราณที่ชวยใหกระบวนการคํานวณหา
       รากที่ n ดําเนินไปอยางงายดายขึ้นมาก เครื่องมือนั้นคือระบบเลขฐานซึ่งก็คือการเขียนแทนจํานวนทศนิยมใด ๆ
       ดวยเลขโดดเพียงไมกี่ตัว โดยที่คาของเลขโดดแตละตัวขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน เปนที่ทราบดีวาระบบเลขฐาน
       เปนพื้นฐานที่สําคัญอยางยิงในวิทยาการคอมพิวเตอร นอกจากนั้นแลว ระบบเลขฐานยังเปนตัวผลักดันที่สําคัญ
                                   ่
       ที่สุดตัวหนึ่งที่ทําใหคณิตศาสตรไดรับการพัฒนาตอยอดอยางกาวกระโดดมาจนทุกวันนี้ แตไมวาจะเปนคณิต-
       ศาสตรแขนงใด สิ่งที่ขาดไมไดคือบทพิสูจนที่ถูกตองรัดกุม พรอมทั้งแนวคิดเบื้องหลังที่สอดคลองรองรับกัน




                                                              10	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รูปที่ 5 อาจารยรังสิมา สายรัตนทองคํา ครูชํานาญการสาขาวิชาคณิตศาสตร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
                                       อธิบายเกร็ดความรูเกี่ยวกับรากที่สอง




                            (ก)                                       (ข)
                     รูปที่ 6 ภาพประกอบคําอธิบายเรื่องระบบเลขฐานและการประยุกต




                                                          11	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                      3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา




                                          12	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                  3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:16)

       ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร ตั้งแตที่มาและความสําคัญจนถึง
       สรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้

       3.1. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:02)
            พื้นฐานคณิตศาสตรที่ตองใชในสื่อฯตอนนี้มีเพียง 2 เรื่อง คือ
           1. สูตรพีชคณิตเบื้องตน ไดแก สูตร (a+b)2 และ (a+b)3 ดังแสดงในรูปที่ 7(ก)
           2. ระบบเลขฐาน โดยไดอธิบายผานตัวอยาง ดังแสดงในรูปที่ 7(ข)




                             (ก)                                             (ข)
                รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้

       3.2. การคูณเลขหลายหลัก (เริ่ม ณ 16:56)
            ในมุมหนึ่ง การคูณเลขหลายหลักนี้เปนตัวอยางของการคํานวณเบื้องตนที่สามารถแสดงใหเห็นจริงไดวา
            ใหผลลัพธที่ตองการ และในอีกมุมหนึ่ง การคูณนีเปนตัวอยางพื้นฐานที่สุดของการใชระบบเลขฐาน
                                                            ้
            ชวยทําใหการคํานวณงายขึ้นมาก ลองนึกภาพการคูณเลขโรมัน XV กับ VIII โดยไมแปลงเปน 15 กับ 8
            กอน




                                                  รูปที่ 8 การคูณเลขหลายหลัก
                                                            13	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       3.3. สูตรลัดการหารลงตัว (เริ่ม ณ 18:46)
            ดังไดทราบกันมาแลววามีวิธีลัดในการทดสอบวาจํานวนเต็มหนึ่ง ๆ หารดวย 3 ลงตัวหรือไม โดยการ
            ทดสอบการหารดวย 3 ลงตัวของผลบวกของเลขโดดทุกตัวนั่นเอง ในที่นี้ สื่อฯจะแสดงผานตัวอยางวา
            วิธีลัดดังกลาวเปนจริง โดยใชระบบเลขฐานชวยนั่นเอง นักเรียนควรจะสามารถอธิบายไดวา ทําไมวิธีนี้
            จึงสามารถใชกับการหารดวย 9 ลงตัวไดดวย และอาจจะสามารถขยายวิธีลัดนี้ไปยังเลขฐานอื่น ๆ




                 รูปที่ 9 แสดงตัวอยางการใชสูตรลัดการหารดวย 3 ลงตัว พรอมบทพิสูจนอยางงาย

       3.4. สูตรลัดการคูณ (เริ่ม ณ 22:18)
            สูตรลัดการยกกําลังสองจํานวนเต็มที่ลงทายดวย 5 นี้ (รูปที่ 10(ก)) เปนอีกกระบวนการหนึ่งที่สามารถ
            แสดงใหเห็นจริงวาใหผลลัพธที่ตองการได (รูปที่ 10(ข)) ในที่นี้ นอกจากจะใชระบบเลขฐานชวยในการ
            แสดงดังกลาวแลว ยังอธิบายกระบวนการนี้โดยอาศัยรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทีมีพื้นที่เทากับผลคูณในพจน
                                                                                     ่
            ตางๆ (รูปที่ 10(ค))




       (ก)                                                           (ข)




                                 (ค)
                 รูปที่ 10 อธิบายสูตรลัดการคูณ บทพิสูจนโดยระบบเลขฐาน และการตีความดวยภาพ

                                                            14	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       3.5. ทําไมจึงถอดรากที่สอง? (เริ่ม ณ 28:06)
            ยกตัวอยางปญหางาย ๆ ที่จําเปนตองใชการถอดรากที่สอง ซึ่งโดยทั่วไปนั้น มักเกิดจากการหาคําตอบ
            ของสมการพหุนามกําลังสองนั่นเอง




                             (ก)                                                               (ข)
                                       รูปที่ 11 ปญหาที่ตองใชการถอดรากที่สอง

       3.6. การถอดรากที่สอง (เริ่ม ณ 29:58)
            อธิบายวิธีการคํานวณหารากที่สองของจํานวนเต็มที่ลงตัว                โดยการตั้งหารยาว             สําหรับขั้นตอนโดย
            ละเอียด สามารถศึกษาไดจาก 3.7




                             (ก)                                                               (ข)
                                      รูปที่ 12 การคํานวณหารากที่สองของ 1369

       3.7. การถอดรากที่สองที่ไมลงตัว (เริ่ม ณ 32:52)
            อธิบายวิธีการคํานวณหารากที่สองของจํานวนเต็มทีไมลงตัว โดยการตั้งหารยาว ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
                                                               ่
            1. แบงเลขโดดของจํานวนที่ตองการถอดรากออกเปนกลุมละ 2 ตัว โดยนับจากจุดทศนิยมไปทางซาย
            และขวา (รูปที่ 13(ก))
            2. เริ่มพิจารณาจากกลุมเลขโดดซายสุด ซึ่งมีคาที่เปนไปไดจาก 1 ถึง 99 โดยหาจํานวนเต็มที่มากที่สุด
            ที่ยกกําลังสองแลวไมเกินคานั้น จํานวนเต็มนี้คือหลักซายสุดของรากที่สองนั่นเอง (รูปที่ 13(ข))

                                                             15	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       3. หักลบคาที่ไดจากการคํานวณนี้ออกจากกลุมเลขโดด เหลือเศษเทาไร ใหนำกลุมเลขโดดถัดไปลงมา
       ตอทาย (รูปที่ 13(ค))
       4. นําคารากที่สองที่ไดจากการคํานวณที่ผานมา คูณดวยสองแลวตั้งไว พิจารณาหาเลขโดดที่มีคา
       มากที่สุดที่ทําให เมื่อนําไปตอทายเปนหลักหนวยของจํานวนที่ตั้งไว และคูณดวยเลขโดดนี้ แลวมีคา
       ไมเกินจํานวนที่ไดมาจากขอ 3. (รูปที่ 13(ง))
       5. ทําขอ 3 และ 4 ไปเรื่อย ๆ จนกวาจะเหลือเศษ 0 หรือหยุดเมื่อไดจํานวนตําแหนงทศนิยมของ
       คารากที่สองตามที่ตองการ (รูปที่ 13(จ)-(ฉ))




                        (ก)                                                               (ข)




                        (ค)                                                               (ง)




                        (จ)                                                               (ฉ)
                                   รูปที่ 13 การคํานวณหารากที่สองของ 5

                                                        16	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



       3.8. เบื้องหลังของการถอดรากที่สอง (เริ่ม ณ 35:32)
            แสดงใหเห็นแนวคิดเบื้องหลังวา เพราะเหตุใดวิธีการคํานวณโดยการตั้งหารยาวในขอ 3.6 และ 3.7
            จึงใหคารากที่สองตามตองการได        แนวคิดดังกลาวเริ่มจากการพิจารณากําลังสองของเลขสองหลัก
                     2        2             2
            (10x+y) = 100x + 20xy + y เมื่อ x และ y เปนเลขโดด จะเห็นวา เราสามารถหาหลักสิบของราก
            ที่สองของ (10x+y)2 (ซึ่งก็คือ x) ไดจากเลขโดดที่มากที่สุดซึ่งกําลังสองมีคาไมเกินหลักรอยและหลักพัน
            ของ (10x+y)2 และสามารถหาหลักหนวย y โดยการหาเลขโดด y ที่ทําให (20x+y)y = (10x+y)2 - 100x2
            นั่นเอง แตหากเปนการหารากที่สองที่ไมลงตัวนั้น เราจะหา y ที่ทําให (20x+y)y <= Z - 100x2 เมื่อ Z
            คือจํานวนที่ตองการหารากที่สอง และใชเศษที่เหลือ (Z - 100x2 - (20x+y)y) เพื่อหาทศนิยมตําแหนง
            ตาง ๆ ของรากที่สองตอไป




                             (ก)                                                               (ข)




                             (ค)                                                               (ง)
                                    รูปที่ 14 แนวคิดเบื้องหลังการคํานวณรากที่สอง

       3.9. ทําไมจึงถอดรากที่สาม ? (เริ่ม ณ 39:50)
            ในชวงนี้ เราสมมติสถานการณที่จําเปนตองหารากที่สาม ตัวอยางนี้ตองการหารัศมีของลูกโบวลิ่งที่มี
            น้ําหนักที่ตองการ โดยไมคํานึงถึงรายละเอียดเชนปริมาตรของรูนิ้วทั้ง 3 ที่หายไป



                                                             17	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                            (ก)                                                (ข)
                             รูปที่ 15 อีกตัวอยางหนึ่งของความตองการถอดรากที่สอง

       3.10. การถอดรากที่สาม (เริ่ม ณ 41:24)
             จากการใชสูตร (10x+y)2 = 100x2 + 20xy + y2 เปนแนวคิดในการอธิบายวิธีการหารากที่สองโดยการ
             หารยาวนั้น เราจึงนําสูตร (10x+y)3 = 1000x3 + 300x2y + 30xy2 + y3 มาเปนเครื่องมือสําคัญในการ
             หาวิธีการถอดรากที่สามโดยการหารยาว วิธีการหารากที่สามแตกตางจากวิธีการหารากที่สองดังนี้
             1. แบงเลขโดดเปนกลุมละ 3 เลข
             2. หลักแรก (หลักซายสุด) คือคา x ที่มากที่สุดที่กําลังสามมีคาไมเกินเลขกลุมแรก
             3. ดึงลงมาทีละ 3 หลัก
             4. สําหรับหลักตอ ๆ ไป ใหใชสูตร (300x2 + 30xy + y2) y เพื่อหาคา y




                            (ก)                                                               (ข)
                                                          รูปที่ 16




                                                            18	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



       3.11. ปดตอน (เริ่ม ณ 46:04)
             แกนแทหรือจุดประสงคหลักของสื่อฯตอนนี้คือ การสงเสริมใหนักเรียนหมั่นสงสัย หมั่นตั้งคําถาม
             แมแตกับสิ่งที่รูแลวและบางครั้งเกิดเปนความเคยชิน และที่สําคัญไมแพกันคือความพยายามในการ
             หาคําตอบ ซึ่งในคณิตศาสตร การแสดงวาขอความหนึ่ง ๆ เปนจริงโดยใชเหตุผลที่ถูกตองรัดกุม ก็คือ
             การพิสูจนนั่นเอง

         .                   คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นคิด                                            .




                                                            19	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                 กิตติกรรมประกาศ
ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ อาจารยรังสิมา สายรัตนทองคํา ครูชํานาญการสาขาวิชาคณิต-
ศาสตร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับรากที่สองและกลาวถึง ความ
สําคัญของการพิสูจน ขอขอบพระคุณ อาจารย ดร.รตินันท บุญเคลือบ และอาจารย ดร. จิณดิษฐ ละออปกษิณ
ที่ชวยทําใหเนื้อหาในชวงสารคดีมีความสมบูรณและสอดคลองกลมกลืนกันมากยิ่งขึ้น      และขอขอบพระคุณ
คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอแนวคิดจนกอใหเกิดสื่อใน รูปแบบนี้ขึ้น




                                                        20	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                           จํานวน 92 ตอน




                                          21	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                   รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                        เรื่อง                                                               ตอน
       เซต                                       บทนํา เรื่อง เซต
                                                 ความหมายของเซต
                                                 เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                                 เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
       การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                 บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                                 การใหเหตุผล
                                                 ประพจนและการสมมูล
                                                 สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                                 ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
       จํานวนจริง                                บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                                 สมบัติของจํานวนจริง
                                                 การแยกตัวประกอบ
                                                 ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                                 สมการพหุนาม
                                                 อสมการ
                                                 เทคนิคการแกอสมการ
                                                 คาสัมบูรณ
                                                 การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                                 กราฟคาสัมบูรณ
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                                 สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
       ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                      บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                                 การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                                 (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก)
                                                 ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
       ความสัมพันธและฟงกชัน                   บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน
                                                 ความสัมพันธ



                                                                 22	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                    เรื่อง                                                                     ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                        โดเมนและเรนจ
                                               อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                               ฟงกชันเบื้องตน
                                               พีชคณิตของฟงกชัน
                                               อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                               ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม          บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               เลขยกกําลัง
                                               ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                               ลอการิทึม
                                               อสมการเลขชี้กําลัง
                                               อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                     บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                               อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                               เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                               กฎของไซนและโคไซน
                                               กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                               สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                              บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                               การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                               การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                                บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                               ลําดับ
                                               การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                               ลิมิตของลําดับ
                                               ผลบวกยอย
                                               อนุกรม
                                               ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม

                                                                         23	
  
	
  
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                           เรื่อง                                                                 ตอน
       การนับและความนาจะเปน                        บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                                                     การนับเบื้องตน
                                                     การเรียงสับเปลี่ยน
                                                     การจัดหมู
                                                     ทฤษฎีบททวินาม
                                                     การทดลองสุม
                                                     ความนาจะเปน 1
                                                     ความนาจะเปน 2
       สถิติและการวิเคราะหขอมูล                    บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                                     บทนํา เนื้อหา
                                                     แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                                     แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                                     แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                                     การกระจายของขอมูล
                                                     การกระจายสัมบูรณ 1
                                                     การกระจายสัมบูรณ 2
                                                     การกระจายสัมบูรณ 3
                                                     การกระจายสัมพัทธ
                                                     คะแนนมาตรฐาน
                                                     ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                                     ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                                     โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                                     โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
       โครงงานคณิตศาสตร                             การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                                     ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                                     การถอดรากที่สาม
                                                     เสนตรงลอมเสนโคง
                                                     กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                   24	
  
	
  

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
Jutarat Bussadee
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
Math and Brain @Bangbon3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Similar to 90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3

Similar to 90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3 (20)

01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร (ตอนที่ 3) การถอดรากที่สาม โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทรงเกียรติ สุเมธกิจการ สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอน เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 5 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. SET50 2. ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส 3. การถอดรากที่สาม 4. เสนตรงลอมเสนโคง 5. กระเบื้องที่ยืดหดได คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร นอกจากนี้หากทานสนใจ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่น ๆ ที่คณะผูจัดทําไดดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และ ชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมดในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 1    
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง โครงงานคณิตศาสตร หมวด โครงงานคณิตศาสตร ตอนที่ 3 (3/5) หัวขอยอย - จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนพัฒนาความชางสงสัยและหมั่นตั้งคําถาม แมแตกับสิ่งที่เห็นจนเจนตาแตไมเคยทราบ เหตุผลมากอน รวมทั้งเห็นตัวอยางของการแสดงวาเปนจริงที่อาจนําไปสูการคนพบใหม ๆ ทั้งนี้ทั้งนั้น เนื้อหาของโครงงานที่นําเสนอในสื่อตอนนี้นั้น มิใชสาระที่คาดหวังใหนักเรียนตองเรียนรูอยางจริงจัง  หากเปนเพียงพาหนะเพื่อชวยแสดงใหเห็นตัวอยางหนึ่งที่แสดงใหเห็นความสําคัญของการพิสูจนเทานั้น 2    
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โครงงานคณิตศาสตรคืออะไร โครงงานคณิตศาสตร คือ โครงงานที่ฝกฝนกระบวนการทําวิจัยทางคณิตศาสตร ซึ่งประกอบไปดวย หลายขั้นตอน ตั้งแตการเรียนรู สังเกต ตั้งคําถาม คนควา วิเคราะห จนถึงการคิดคนหาคําตอบ ของ ปญหาทางคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตร สื่อการสอนเรื่องโครงงานคณิตศาสตรทั้ง 5 ตอนนี้ เปนตัวอยางของโครงงานคณิตศาสตรที่ครอบคลุม ปญหาทางคณิตศาสตรที่หลากหลาย ทั้งปญหาในเชิงประยุกตที่นําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกต ใชในการแกปญหาอื่น ๆ ปญหาที่ขยายหรือตอเติมขึ้นจากปญหาเดิม ปญหาในเชิงจำแนกแยกแยะ และปญหาที่เกี่ยวกับการมีอยูของวัตถุทางคณิตศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสิ่งที่ขาดไมไดในโครงงาน คณิตศาสตรคือการแสดงใหเห็นจริงโดยปราศจากขอสงสัย หรือการพิสูจนนั่นเอง วัตถุประสงคของสื่อตอนนี้ สื่อฯตอนนีจะนำเสนอกระบวนการทําความเขาใจขั้นตอนการหารากที่สองของจํานวนทศนิยม จนกระทั่ง ้ สามารถนํามาใชในการคิดคนและอธิบายวิธีการถอดรากที่สามได ซึ่งในการทําเชนนี้ เราจําเปนตอง เขาใจขั้นตอนการคํานวณอยางถองแท รวมทั้งสามารถแสดงหรือพิสูจนไดวาขั้นตอนดังกลาวนํามาซึ่ง ผลลัพธที่ตองการ เนื้อหาที่นําเสนอในสื่อฯตอนนี้ มิไดนํามาจากโครงงานคณิตศาสตรใด ๆ แตหากเปนตัวอยางที่แสดงให เห็นความสําคัญของการเขาใจอยางถองแทและความสามารถในการพิสูจน ซึงบอยครั้งที่นําไปสูปญหา ่ และแนวความคิดใหม ๆ ที่อาจทําใหเกิดโครงงานคณิตศาสตรที่นาสนใจตอไป 3    
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน สื่อการสอนตอนนี้ ประกอบดวย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:43) 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 03:22) 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:16) 4    
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน 5    
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ชวงเปดตอน (เริ่ม ณ 00:43) ผูบรรยาย(ทั้งสอง) ดังแสดงในรูปที่ 1 เริ่มจากตัวอยางการหาสูตรผลบวกของจํานวนนับ 1+2 = 2x3/2, 1+2+3 = 3x4/2, 1+2+3+4 = 4x5/2 ซึ่งนําไปสูขอสังเกตวา สําหรับจํานวนนับ n ใด ๆ นั้น 1+2+…+n = nx(n+1)/2 อยางไรก็ตาม หากตองการยืนยันวาขอสรุปดังกลาวเปนจริงโดยทั่วไป นั่นคือ เปนจริงสําหรับ ทุกจํานวนนับ n เราจําเปนตองทําการพิสูจน วิธีหนึ่งในการพิสูจนสมการนี้ทคอนขางใกลเคียงกับการให ี่ เหตุผลโดยวิธีอุปนัย คือการพิสูจนโดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร (Mathematical induction) ซึ่งสามารถศึกษา เพิ่มเติมไดจากสื่อเรื่องการใหเหตุผลและตรรกศาสตร หลังจากนั้นผูบรรยายจึงอธิบายถึงความแตกตางที่สําคัญขอหนึ่งระหวางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ถึงแม วา ทั้งสองศาสตรนั้นตองการความชางสังเกต ตั้งคําถาม และหาคําตอบ แตสิ่งที่ไมเหมือนกันอยางหนึงคือ ่ วิทยาศาสตรจะตั้งสมมติฐาน และหาวิธีทดสอบสมมติฐานวาจริงหรือไมผานการทดลองที่ออกแบบไวดีแลว ในขณะทีคณิตศาสตรหาคําตอบของปญหาที่เกิดจากการสังเกตโดยการ “พิสูจน” นั่นเอง ่ การพิสูจนขอความ(ทางคณิตศาสตร)หนึ่ง ๆ คือการใชหลักตรรกศาสตรในการแสดงใหเห็นอยางชัดแจงวา ขอความนั้นเปนจริงอยางไมมีขอโตแยงใด ๆ เลย รูปที่ 1 ภาพชวงเปดตอน 6    
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี 7    
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชวงสารคดี (เริ่ม ณ 03:22) ชวงสารคดีนี้ เริ่มดวยการเลาประวัตโดยสังเขปของเรขาคณิตตั้งแตยุคโบราณ จนถึงยุคของยูคลิดแหงอเล็ก- ิ ซานเดรียในอารยธรรมกรีกโบราณ ผูเขียนหนังสือ The Elements ที่วางรากฐานของเรขาคณิตแบบยูคลิด และพิสูจนวา ทรงตันเพลโต (Platonic solid) มีเพียง 5 แบบเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 2(ง) การกลาวถึงยูคลิดและผลงานของเขานั้น นอกจากตองการเลาประวัติของเรขาคณิตแลว ยังตองการแสดงให เห็นวาทฤษฎีคณิตศาสตรที่ไดรับการพิสูจนวาเปนจริงแลวนั้น เปนสิ่งที่จีรังและจริงแทแนนอน โดยมิอาจมี ผูใดมาเปลี่ยนแปลงได ไมวาเวลาจะผานไปนานเพียงใด ดังเชนทฤษฎีบทตาง ๆ ในหนังสือของยูคลิดที่ยัง เปนจริงและควรคาแกการศึกษาจวบจนปจจุบัน (ก) ตัวอยางการศึกษาเรขาคณิตในยุคโบราณ (ข) ยูคลิดแหงอเล็กซานเดรีย (ค) หนาหนึ่งจากหนังสือ The Elements (ง) ทรงตันเพลโตทั้ง 5 แบบ รูปที่ 2 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติยอของเรขาคณิตจนถึงยุคของยูคลิด ทรงตันเพลโต (Platonic solid) หมายถึงทรงตันนูนหลายหนาปรกติ (regular convex polyhedron) นั่นคือ หนาของทรงตันเปนรูปหลายเหลี่ยมปรกติที่มีจํานวนเหลี่ยมและขนาดเทากันทุกหนา และแตละจุดยอดเกิดจาก การเขามุมของหนาจํานวนเทากัน เชน ทรงสี่หนาปรกติ (regular tetrahedron) ที่อยูทางขวาสุดของรูปที่ 2(ง) เปนทรงหลายหนาที่ประกอบดวยหนารูปสามเหลี่ยมดานเทา 4 หนา มี 4 จุดยอด 6 ขอบ โดยที่แตจุดยอด เกิดจากหนารูปสามเหลี่ยมดานเทา 3 หนา 8    
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) พีทาโกรัสแหงซามอส (ข) ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ค) ภาพแสดงคา c2 (ง) ภาพแสดงคา a2 + b2 รูปที่ 3 ภาพประกอบคําอธิบายทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทพิสูจน ภาพ (ค) และ (ง) เปนภาพที่ชวยทําความเขาใจบทพิสูจนบทหนึ่งของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตอจากนั้น สื่อฯไดกลาวถึงนักคณิตศาสตรชาวกรีกโบราณ นายพีทาโกรัสแหงซามอส (รูปที่ 3(ก)) ผูที่เปน นักคณิตศาสตรที่ไดรับการกลาวถึงมากที่สุดคนหนึ่งของโลก อันเนืองมาจากทฤษฎีบทพีทาโกรัสที่บอกความ ่ สัมพันธ ระหวางความยาวดานทั้งสามของสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ (รูปที่ 3(ข)) ทฤษฎีบทพีทาโกรัสเปน แนวคิดที่เปนรากฐานของทฤษฎีคณิตศาสตรมากมายจนถึงปจจุบัน เฉกเชนเดียวกับทฤษฎีบทคณิตศาสตรอื่น ๆ อีกมากมาย ทฤษฎีบทพีทาโกรัสก็มีบทพิสูจนที่แตกตางกันหลากหลายวิธี บทพิสูจนเหลานี้ตางมีความสําคัญ และคุณคาแกคณิตศาสตรที่ไมยิ่งหยอนไปกวาการพิสูจนทฤษฎีใหม ๆ เลย ในสื่อฯตอนนี้ ไดอธิบายบทพิสูจน ดวยภาพ 2 บท เปนตัวอยาง นอกจากนั้น ทฤษฎีบทพีทาโกรัสยังเปนตัวอยางหนึ่งของการเชื่อมโยงแนวคิด ทางเรขาคณิตกับพีชคณิตเขาดวยกัน ซึ่งตอมานายอัลควาริซมีเปนผูวางรากฐานการเชื่อมโยงแนวคิดทางเรขา- คณิตและพีชคณิตไวอยางเปนระบบ ในหนังสือของเขา (รูปที่ 4) 9    
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) รูปที่ 4 ภาพประกอบคําอธิบายประวัติของอัลควาริซมี อันดับตอไปเปนการนําเสนอความตองการถอดรากที่สามที่มีมาเนิ่นนานตั้งแตโบราณกาล เชน ปญหาการหา ความยาวดานของลูกบาศกที่มีปริมาตร 2 ลูกบาศกหนวย ตอจากนั้น จึงไดพรรณนาถึงความสําคัญในการพิสูจนยืนยันวากระบวนการคํานวณตาง ๆ ที่เรารูจักคุนเคยและ ใชไดอยางคลองแคลว จะใหผลลัพธอยางที่ตองการเสมอ และอาจารยรังสิมากลาวถึงความสําคัญของการพิสูจน ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร หลังจากนั้นจึงไดกลาวถึงเครื่องมือหรือนวัตกรรมทางคณิตศาสตรจากยุคโบราณที่ชวยใหกระบวนการคํานวณหา รากที่ n ดําเนินไปอยางงายดายขึ้นมาก เครื่องมือนั้นคือระบบเลขฐานซึ่งก็คือการเขียนแทนจํานวนทศนิยมใด ๆ ดวยเลขโดดเพียงไมกี่ตัว โดยที่คาของเลขโดดแตละตัวขึ้นอยูกับตําแหนงของมัน เปนที่ทราบดีวาระบบเลขฐาน เปนพื้นฐานที่สําคัญอยางยิงในวิทยาการคอมพิวเตอร นอกจากนั้นแลว ระบบเลขฐานยังเปนตัวผลักดันที่สําคัญ ่ ที่สุดตัวหนึ่งที่ทําใหคณิตศาสตรไดรับการพัฒนาตอยอดอยางกาวกระโดดมาจนทุกวันนี้ แตไมวาจะเปนคณิต- ศาสตรแขนงใด สิ่งที่ขาดไมไดคือบทพิสูจนที่ถูกตองรัดกุม พรอมทั้งแนวคิดเบื้องหลังที่สอดคลองรองรับกัน 10    
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รูปที่ 5 อาจารยรังสิมา สายรัตนทองคํา ครูชํานาญการสาขาวิชาคณิตศาสตร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ อธิบายเกร็ดความรูเกี่ยวกับรากที่สอง (ก) (ข) รูปที่ 6 ภาพประกอบคําอธิบายเรื่องระบบเลขฐานและการประยุกต 11    
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา 12    
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ชวงโครงงานฯและเนื้อหา (เริ่ม ณ 13:16) ชวงโครงงานฯและเนื้อหานี้จะอธิบายรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตร ตั้งแตที่มาและความสําคัญจนถึง สรุปโครงงาน ซึ่งประกอบไปดวยสวนตาง ๆ ตามลําดับเวลา ดังนี้ 3.1. ความรูทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของ (เริ่ม ณ 14:02) พื้นฐานคณิตศาสตรที่ตองใชในสื่อฯตอนนี้มีเพียง 2 เรื่อง คือ 1. สูตรพีชคณิตเบื้องตน ไดแก สูตร (a+b)2 และ (a+b)3 ดังแสดงในรูปที่ 7(ก) 2. ระบบเลขฐาน โดยไดอธิบายผานตัวอยาง ดังแสดงในรูปที่ 7(ข) (ก) (ข) รูปที่ 7 ภาพสื่อฯขณะแสดงรายละเอียดของโครงงานคณิตศาสตรที่นําเสนอในสื่อตอนนี้ 3.2. การคูณเลขหลายหลัก (เริ่ม ณ 16:56) ในมุมหนึ่ง การคูณเลขหลายหลักนี้เปนตัวอยางของการคํานวณเบื้องตนที่สามารถแสดงใหเห็นจริงไดวา ใหผลลัพธที่ตองการ และในอีกมุมหนึ่ง การคูณนีเปนตัวอยางพื้นฐานที่สุดของการใชระบบเลขฐาน ้ ชวยทําใหการคํานวณงายขึ้นมาก ลองนึกภาพการคูณเลขโรมัน XV กับ VIII โดยไมแปลงเปน 15 กับ 8 กอน รูปที่ 8 การคูณเลขหลายหลัก 13    
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.3. สูตรลัดการหารลงตัว (เริ่ม ณ 18:46) ดังไดทราบกันมาแลววามีวิธีลัดในการทดสอบวาจํานวนเต็มหนึ่ง ๆ หารดวย 3 ลงตัวหรือไม โดยการ ทดสอบการหารดวย 3 ลงตัวของผลบวกของเลขโดดทุกตัวนั่นเอง ในที่นี้ สื่อฯจะแสดงผานตัวอยางวา วิธีลัดดังกลาวเปนจริง โดยใชระบบเลขฐานชวยนั่นเอง นักเรียนควรจะสามารถอธิบายไดวา ทําไมวิธีนี้ จึงสามารถใชกับการหารดวย 9 ลงตัวไดดวย และอาจจะสามารถขยายวิธีลัดนี้ไปยังเลขฐานอื่น ๆ รูปที่ 9 แสดงตัวอยางการใชสูตรลัดการหารดวย 3 ลงตัว พรอมบทพิสูจนอยางงาย 3.4. สูตรลัดการคูณ (เริ่ม ณ 22:18) สูตรลัดการยกกําลังสองจํานวนเต็มที่ลงทายดวย 5 นี้ (รูปที่ 10(ก)) เปนอีกกระบวนการหนึ่งที่สามารถ แสดงใหเห็นจริงวาใหผลลัพธที่ตองการได (รูปที่ 10(ข)) ในที่นี้ นอกจากจะใชระบบเลขฐานชวยในการ แสดงดังกลาวแลว ยังอธิบายกระบวนการนี้โดยอาศัยรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทีมีพื้นที่เทากับผลคูณในพจน ่ ตางๆ (รูปที่ 10(ค)) (ก) (ข) (ค) รูปที่ 10 อธิบายสูตรลัดการคูณ บทพิสูจนโดยระบบเลขฐาน และการตีความดวยภาพ 14    
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.5. ทําไมจึงถอดรากที่สอง? (เริ่ม ณ 28:06) ยกตัวอยางปญหางาย ๆ ที่จําเปนตองใชการถอดรากที่สอง ซึ่งโดยทั่วไปนั้น มักเกิดจากการหาคําตอบ ของสมการพหุนามกําลังสองนั่นเอง (ก) (ข) รูปที่ 11 ปญหาที่ตองใชการถอดรากที่สอง 3.6. การถอดรากที่สอง (เริ่ม ณ 29:58) อธิบายวิธีการคํานวณหารากที่สองของจํานวนเต็มที่ลงตัว โดยการตั้งหารยาว สําหรับขั้นตอนโดย ละเอียด สามารถศึกษาไดจาก 3.7 (ก) (ข) รูปที่ 12 การคํานวณหารากที่สองของ 1369 3.7. การถอดรากที่สองที่ไมลงตัว (เริ่ม ณ 32:52) อธิบายวิธีการคํานวณหารากที่สองของจํานวนเต็มทีไมลงตัว โดยการตั้งหารยาว ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ่ 1. แบงเลขโดดของจํานวนที่ตองการถอดรากออกเปนกลุมละ 2 ตัว โดยนับจากจุดทศนิยมไปทางซาย และขวา (รูปที่ 13(ก)) 2. เริ่มพิจารณาจากกลุมเลขโดดซายสุด ซึ่งมีคาที่เปนไปไดจาก 1 ถึง 99 โดยหาจํานวนเต็มที่มากที่สุด ที่ยกกําลังสองแลวไมเกินคานั้น จํานวนเต็มนี้คือหลักซายสุดของรากที่สองนั่นเอง (รูปที่ 13(ข)) 15    
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. หักลบคาที่ไดจากการคํานวณนี้ออกจากกลุมเลขโดด เหลือเศษเทาไร ใหนำกลุมเลขโดดถัดไปลงมา ตอทาย (รูปที่ 13(ค)) 4. นําคารากที่สองที่ไดจากการคํานวณที่ผานมา คูณดวยสองแลวตั้งไว พิจารณาหาเลขโดดที่มีคา มากที่สุดที่ทําให เมื่อนําไปตอทายเปนหลักหนวยของจํานวนที่ตั้งไว และคูณดวยเลขโดดนี้ แลวมีคา ไมเกินจํานวนที่ไดมาจากขอ 3. (รูปที่ 13(ง)) 5. ทําขอ 3 และ 4 ไปเรื่อย ๆ จนกวาจะเหลือเศษ 0 หรือหยุดเมื่อไดจํานวนตําแหนงทศนิยมของ คารากที่สองตามที่ตองการ (รูปที่ 13(จ)-(ฉ)) (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) รูปที่ 13 การคํานวณหารากที่สองของ 5 16    
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.8. เบื้องหลังของการถอดรากที่สอง (เริ่ม ณ 35:32) แสดงใหเห็นแนวคิดเบื้องหลังวา เพราะเหตุใดวิธีการคํานวณโดยการตั้งหารยาวในขอ 3.6 และ 3.7 จึงใหคารากที่สองตามตองการได แนวคิดดังกลาวเริ่มจากการพิจารณากําลังสองของเลขสองหลัก 2 2 2 (10x+y) = 100x + 20xy + y เมื่อ x และ y เปนเลขโดด จะเห็นวา เราสามารถหาหลักสิบของราก ที่สองของ (10x+y)2 (ซึ่งก็คือ x) ไดจากเลขโดดที่มากที่สุดซึ่งกําลังสองมีคาไมเกินหลักรอยและหลักพัน ของ (10x+y)2 และสามารถหาหลักหนวย y โดยการหาเลขโดด y ที่ทําให (20x+y)y = (10x+y)2 - 100x2 นั่นเอง แตหากเปนการหารากที่สองที่ไมลงตัวนั้น เราจะหา y ที่ทําให (20x+y)y <= Z - 100x2 เมื่อ Z คือจํานวนที่ตองการหารากที่สอง และใชเศษที่เหลือ (Z - 100x2 - (20x+y)y) เพื่อหาทศนิยมตําแหนง ตาง ๆ ของรากที่สองตอไป (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 14 แนวคิดเบื้องหลังการคํานวณรากที่สอง 3.9. ทําไมจึงถอดรากที่สาม ? (เริ่ม ณ 39:50) ในชวงนี้ เราสมมติสถานการณที่จําเปนตองหารากที่สาม ตัวอยางนี้ตองการหารัศมีของลูกโบวลิ่งที่มี น้ําหนักที่ตองการ โดยไมคํานึงถึงรายละเอียดเชนปริมาตรของรูนิ้วทั้ง 3 ที่หายไป 17    
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ก) (ข) รูปที่ 15 อีกตัวอยางหนึ่งของความตองการถอดรากที่สอง 3.10. การถอดรากที่สาม (เริ่ม ณ 41:24) จากการใชสูตร (10x+y)2 = 100x2 + 20xy + y2 เปนแนวคิดในการอธิบายวิธีการหารากที่สองโดยการ หารยาวนั้น เราจึงนําสูตร (10x+y)3 = 1000x3 + 300x2y + 30xy2 + y3 มาเปนเครื่องมือสําคัญในการ หาวิธีการถอดรากที่สามโดยการหารยาว วิธีการหารากที่สามแตกตางจากวิธีการหารากที่สองดังนี้ 1. แบงเลขโดดเปนกลุมละ 3 เลข 2. หลักแรก (หลักซายสุด) คือคา x ที่มากที่สุดที่กําลังสามมีคาไมเกินเลขกลุมแรก 3. ดึงลงมาทีละ 3 หลัก 4. สําหรับหลักตอ ๆ ไป ใหใชสูตร (300x2 + 30xy + y2) y เพื่อหาคา y (ก) (ข) รูปที่ 16 18    
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3.11. ปดตอน (เริ่ม ณ 46:04) แกนแทหรือจุดประสงคหลักของสื่อฯตอนนี้คือ การสงเสริมใหนักเรียนหมั่นสงสัย หมั่นตั้งคําถาม แมแตกับสิ่งที่รูแลวและบางครั้งเกิดเปนความเคยชิน และที่สําคัญไมแพกันคือความพยายามในการ หาคําตอบ ซึ่งในคณิตศาสตร การแสดงวาขอความหนึ่ง ๆ เปนจริงโดยใชเหตุผลที่ถูกตองรัดกุม ก็คือ การพิสูจนนั่นเอง . คณิตศาสตรอยูรอบตัวเรา จงหมั่นคิด . 19    
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กิตติกรรมประกาศ ผูจัดทําสื่อการสอนตอนนี้ตองขอขอบพระคุณ อาจารยรังสิมา สายรัตนทองคํา ครูชํานาญการสาขาวิชาคณิต- ศาสตร โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ที่กรุณาสละเวลามาใหเกร็ดความรูเกี่ยวกับรากที่สองและกลาวถึง ความ สําคัญของการพิสูจน ขอขอบพระคุณ อาจารย ดร.รตินันท บุญเคลือบ และอาจารย ดร. จิณดิษฐ ละออปกษิณ ที่ชวยทําใหเนื้อหาในชวงสารคดีมีความสมบูรณและสอดคลองกลมกลืนกันมากยิ่งขึ้น และขอขอบพระคุณ คุณกันตพชญ ธีระจันทเศรษฐ ที่เปนสวนสําคัญในการเสนอแนวคิดจนกอใหเกิดสื่อใน รูปแบบนี้ขึ้น 20    
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 21    
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัวหารรวมมาก) ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน ความสัมพันธ 22    
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชัน อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 23    
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 24