SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
9 เมษายน 2557
Dave Ulrich, Wayne Brockbank, Jon Younger,
and Mike Ulrich
ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล
ที่กรุณาให้หนังสือเล่มนี้ มาศึกษา
Part 1
โลกในปัจจุบัน
 มีการเชื่อมโยงถึงกันสะดวกขึ้น มีการลงทุนข้ามชาติเพิ่มขึ้น
 ประเทศกาลังพัฒนามีการเจริญเติบโต และมีประชากรเพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็ว
 มีการออกกฏหมายควบคุมเพื่อความยั่งยืนของโลก
 มีตลาดเกิดใหม่ และการเปลี่ยนแปลงจากค่าแรงราคาถูก มา
เป็นสินค้าที่มีคุณภาพและมีนวัตกรรม
 การแข่งขันทางการตลาด มีกฏควบคุมมากขึ้น
 การติดต่อสื่อสารราคาถูกลง และมีความเร็วเพิ่มขึ้น
 ชนชั้นกลางมีกาลังซื้ อมากขึ้น โดยร้อยละ 80 มาจากประเทศ
แถบเอเซีย
ความได้เปรียบในการแข่งขัน
 เป็นสิ่งที่องค์กรต้องสร้างขึ้นมา จากการตั้งคาถามเหล่านี้ คือ :
 องค์กรมีวัฒนธรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการ
เรียนรู้หรือไม่?
 องค์กรมีวัฒนธรรมที่มีความสามารถในการอ่อนตัว การปรับตัว และ
ความคล่องตัวหรือไม่?
 องค์กรมีวัฒนธรรมด้านความคล่องแคล่ว รวดเร็ว และเป็นเชิงรุก
หรือไม่?
จุดมุ่งหมายของฝ่ ายบุคคล
 ต้องมีความรับผิดชอบในประเด็นคนเก่งและประเด็นขององค์กร
ประเด็นคนเก่งคือเสาะหาคนเก่ง ที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรม ในสายตา
ของลูกค้าและความต้องการด้านการแข่งขัน ประเด็นขององค์กรคือ
การทาให้บุคลากรทางานร่วมกัน มีวิธีคิด มีพฤติกรรมร่วมกัน ก่อเกิด
ความสามารถในการแข่งขัน
 มีส่วนในการเพิ่มรายได้ให้กับองค์กร หลักเศรษฐศาสตร์กล่าวไว้ว่า
การกระทาใดในองค์กร ที่ไม่ได้นาเงินสดเข้าองค์กร เป็นการกระทาที่
สูญเปล่า นั่นคือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมาแล้ว ไม่มีใครต้องการ มีค่า
เท่ากับศูนย์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นฝ่ ายบุคคลต้องเห็นตลอดเป็น
แนวทาง (line of sight) ถึงลูกค้าภายนอกด้วย
จุดมุ่งหมายของฝ่ ายบุคคล (ต่อ)
 สร้างทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้และความยั่งยืนขององค์กร เช่น:
 มีผลลัพธ์ที่สม่าเสมอและพยากรณ์ได้
 สร้างเสริมกลยุทธ์เพื่อธุรกิจในอนาคต สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า สร้าง
นวัตกรรม และการขยายตัวสู่ภูมิภาคอื่น ๆ
 ลงทุนในความสามารถหลัก (core competencies)
 สร้างความสามารถขององค์กร เช่น ความร่วมมือ ความรวดเร็ว ความ
รับผิดชอบ การเรียนรู้ ภาวะผู้นา และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
 ควรมองตนเองว่าเป็นพื้นฐานในการสร้างความสามารถในการ
แข่งขัน และมีแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องกับแนวคิดนี้
1987 Model
 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลมี 3
ประการคือ ความรู้ทางธุรกิจ
การทาหน้าที่ฝ่ ายบุคคล และ
บริหารการเปลี่ยนแปลง
(knowledge of the business,
delivery of HR practices, and
management of change)
 ฝ่ ายบุคคลเริ่มมีบทบาท ในการ
บริหารงานขององค์กร
1992 Model
 ความรับผิดชอบส่วนบุคคล
(personal credibility) เป็น
บทบาทที่เสริมเข้ามาในฝ่ าย
บุคคล นั่นคือการทางานร่วมกับ
ผู้นาระดับสูง มีการติดต่อสื่อสาร
ที่ดี สร้างผลลัพธ์อย่างมีคุณธรรม
 การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี
บทบาทมากขึ้ น ฝ่ ายบุคคลเริ่ม
สนใจด้านกลยุทธ์ขององค์กร
เพิ่มจากการดูด้านการปฏิบัติการ
1997 Model
 การบริหารวัฒนธรรม (cultural
management) เป็นบทบาทเพิ่มเติม
ของฝ่ ายบุคคล
 ฝ่ ายบุคคลเป็นผู้ระบุและส่งเสริม
วัฒนธรรมองค์กร ที่ช่วยให้องค์กร
บรรลุกลยุทธ์ที่วางไว้ โดยการรวบรวม
ความรู้ รูปแบบของความคิด และ
การบูรณาการของการปฏิบัติการ
 ในองค์กรที่เป็นเลิศ ฝ่ ายบุคคลจะมี
ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า คู่แข่ง แนวโน้ม
ของตลาด ในระดับโลก มากกว่า
องค์กรทั่วไป นั่นคือ มีแนวทางการ
มองถึงนอกองค์กรด้วย (an external
line of sight)
2002 Model
 บทบาทในการร่วมกาหนดกลยุทธ์ของ
องค์กร (strategic contributor)
 เป็นการบูรณาการของการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
และความต้องการของตลาด
 ความต้องการของตลาด เป็นความรู้ใหม่
ของฝ่ ายบุคคล ที่ต้องรู้สิ่งแวดล้อม
ภายนอก สิ่งแวดล้อมภายในทั้งองค์กร
เครื่องมือทางการตลาด และข่าวสารที่
สาคัญทางการตลาด
 การทาหน้าที่ดังกล่าว ทาให้ฝ่ ายบุคคลมี
ส่วนช่วยองค์กร ในการรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงของลูกค้า การแข่งขัน และ
ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2007 Model
 การสร้างขีดความสามารถขององค์กร
(organization capabilities) เป็นหน้าที่
สาคัญต่อของฝ่ ายบุคคล มี 3 ประการคือ
ประการแรก การสร้างกลยุทธ์การมุ่งเน้น
ลูกค้า ประการที่สอง การบริหารการ
เปลี่ยนแปลง ประการที่สาม การบริหาร
คนเก่งให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร
 การทางานอย่างบูรณาการของฝ่ ายบุคคล
ทาให้ทุกฝ่ ายมีความคาดหวังกับฝ่ าย
บุคคลมากขึ้น
 มีแนวโน้มเรื่องการบริหารคนเก่ง (talent
management) กับการออกแบบขององค์กร
(organization design) อย่างมีความสาคัญ
ที่ส่งผลต่อธุรกิจ
2012 Model
 ฝ่ ายบุคคล มี 6 องค์ประกอบของ
สมรรถนะที่สาคัญคือ
 1. เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือ (Credible
activist) คือทาในสิ่งที่พูด ทาให้เกิด
ความไว้วางใจ มีทักษะในการสร้าง
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล มีความอ่อน
ตัวกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ าย มี
อิทธิพลที่มีผลต่อการสร้างผลลัพธ์
ทางธุรกิจ มีการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูล
และใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
2012 Model
 2. เป็นนักกาหนดกลยุทธ์ (Strategic
positioner) มีความเข้าใจบริบทของธุรกิจ
ระดับโลก ทั้งด้านสังคม การเมือง
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี ภูมิ
ประเทศ และสามารถนามาใช้ประโยชน์
ในการวางแผนกลยุทธ์
 มีความเข้าใจโครงสร้างในอุตสาหกรรม
ของตนเอง พลวัตของการแข่งขันของ
ตลาด รวมทั้งแนวโน้มของลูกค้า คู่แข่งขัน
และผู้ส่งมอบ สามารถนาความรู้มาพัฒนา
เป็นวิสัยทัศน์ขององค์กร
 มีส่วนร่วมในการพัฒนากลยุทธ์ด้านการ
มุ่งเน้นลูกค้า กาหนดเป้าประสงค์ และ
แปลงกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการ
2012 Model
 3. เป็นนักสร้างขีดความสามารถ
(Capability builder) ฝ่ ายบุคคลเป็น
ผู้กาหนด ตรวจสอบ และควบคุม
ขีดความสามารถ ซึ่งเป็นสิ่งที่
องค์กรถนัดหรือทาได้ดีที่สุด เช่น
การสร้างนวัตกรรม ความรวดเร็ว
การมุ่งเน้นลูกค้า เป็นต้น
 ฝ่ ายบุคคลสามารถช่วยผู้จัดการสาย
งานต่าง ๆ ในการกาหนดขีด
ความสามารถของบุคลากร เพื่อใช้
สร้างคุณค่าให้กับองค์กร
2012 Model
 4. เป็นแชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง
(Change champion) ฝ่ ายบุคคลเป็นผู้สร้าง
ความสามารถในการรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงให้กับองค์กร เพื่อสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต้องอาศัยความ
จริงทางธุรกิจ และเอาชนะแรงต่อต้านการ
เปลี่ยนแปลง โดยสร้างความผูกพันกับผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ และมีความมุ่งมั่น
ในการปฏิบัติอย่างจริงจัง
 การเปลี่ยนแปลงเกิดความยั่งยืน ทาได้
โดยจัดสรรทรัพยากรคือ เวลา คน เงิน
และสารสนเทศ อีกทั้งมีการเรียนรู้ทั้งจาก
ความสาเร็จและความล้มเหลว
2012 Model
 5. เป็นนักนวัตกรรมและนักบูรณาการ
(HR innovator and integrator) ฝ่ าย
บุคคลมีความสามารถในการบูรณาการ
การปฏิบัติทางบุคลากร และประเด็น
สาคัญทางธุรกิจ
 มีการลาดับความสาคัญของผลลัพธ์ ที่
เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถไปสู่การ
ปฏิบัติ อย่างมีวินัยและมีความ
สม่าเสมอ ทาให้ผลลัพธ์ขององค์กร
ออกมาได้ดี
 มีการสร้างนวัตกรรม ของฝ่ ายบุคคล
กระบวนการ และโครงสร้าง ที่ส่งผล
ต่อผลลัพธ์ทางธุรกิจ
2012 Model
 6. เป็นผู้สนับสนุนเทคโนโลยี (Technology
proponent) ระบบสารสนเทศของฝ่ ายบุคคล ใช้
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสวัสดิการ การจ่าย
เงินเดือน ทุนด้านสุขภาพ การบันทึกประวัติ
ฯลฯ
 ในองค์กรที่เป็นเลิศ ฝ่ ายบุคคลมีการใช้
เทคโนโลยีเพิ่มอีก 2 ประการ ประการแรกคือ
โลกสังคมออนไลน์ ที่ช่วยให้บุคลากรมีการ
ติดต่อกันภายใน รวมถึงการติดต่อของ
บุคลากรกับลูกค้าภายนอกด้วย ประการที่สอง
คือ ฝ่ ายบุคคลมีบทบาทมากขึ้นทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการคัดกรอง
สารสนเทศที่นามาเป็นความรู้ขององค์กร และ
มีการแบ่งปันความรู้ในองค์กรด้วย
 บทบาทใหม่ของฝ่ ายบุคคลทางด้านเทคโนโลยี
จึงเป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับองค์กร
 ฝ่ ายบุคคลต้องมุ่งเน้นการมองจากภายนอกเข้ามาในองค์กร
 สร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภายนอกและภายใน
องค์กร
 เป็นผู้นาและผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง
 สร้างขีดความสามารถให้องค์กร โดยการปฏิบัติของฝ่ ายบุคคลที่
เป็นการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ
 มีการใช้เทคโนโลยีอย่างมีกลยุทธ์ เพื่อความมีประสิทธิภาพ และ
การเชื่อมโยงขององค์กร
Walt Disney
Part 2
เป็นผลจากการทาวิจัย ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก 6 ครั้ง (1987, 1992,
1997, 2002, 2007, 2012) โดยใช้ 6 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลพึงมี (2012
Competency Model) เป็นหลักในการประเมินผล
 อาฟริกา เป็นทวีปใหญ่ลาดับที่สองของโลก มีประชากรรวมกัน
ประมาณพันล้านคน
 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีประเทศเกิดใหม่ประกาศอิสระภาพมาก
ปัจจุบันมีเม็ดเงินลงทุนจากเอเซียเพิ่มขึ้น
 มีจุดแข็งคือ ฝ่ ายบุคคลมีความรับผิดชอบ มีการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง และมีกลยุทธ์
 โอกาสพัฒนาคือ ด้านเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน และความ
น่าเชื่อถือ
 สรุป ฝ่ ายบุคคลในอาฟริกามีพื้นฐานที่ดี น่าจะมีอนาคตที่ดี จากสถิติ
พบว่า 14% (0.144 R2) ของสมรรถนะฝ่ ายบุคคลทั้ง 6 ประการ มี
ผลกระทบต่อด้านธุรกิจ
 ออสเตรเลีย เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและเป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลก มี
ประชากร 22.5 ล้านคน คิดเป็น 0.3% ของพลเมืองโลก ฝ่ ายบุคคลมี
การศึกษาสูง ส่วนมากเป็นเพศหญิง
 นิวซีแลนด์ บุคลากรที่ทางาน 33% เป็นต่างชาติ และ 71% อยู่ภาค
บริการ ฝ่ ายบุคคลเริ่มมีการพัฒนา
 ฝ่ ายบุคคลทั้งสองประเทศไม่มีความแตกต่าง แต่องค์กรใน
ออสเตรเลียมีขนาดใหญ่กว่า
 จุดแข็งคือ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ การสร้างกลยุทธ์
และการบริหารการเปลี่ยนแปลง ส่วนโอกาสพัฒนาของฝ่ ายบุคคลคือ
การใช้เทคโนโลยี การจัดการกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการนากล
ยุทธ์ไปสู่แผนปฎิบัติการ
 ประเทศจีน มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว มีปัญหา
เรื่องมลภาวะ มีการบริโภคพลังงานและวัตถุดิบสูง มีค่าแรงถูก
สวัสดิการแรงงานต่า ทาให้การเจริญเติบโตไม่ยั่งยืน
 สิ่งที่จีนต้องการคือ แรงงานที่มีความรู้ และเป็นคนเก่ง เพื่อเปลี่ยน
จากการผลิตสินค้าราคาถูก เป็นสินค้าเทคโนโลยีที่มีคุณค่า
 ดังนั้น ฝ่ ายบุคคลของจีนต้องเร่งพัฒนาตนเองใน 3 ด้านคือ การสร้าง
ขีดความสามารถ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการบริหาร
และพัฒนาคนเก่ง
 ข้อเสนอแนะให้ฝ่ ายบุคคลคือ การเรียนรู้เรื่องธุรกิจและออกแบบฝ่ าย
บุคคลให้สอดคล้อง เรียนรู้เรื่องการคิดอย่างเป็นระบบ และการ
เรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 สหภาพยุโรป มีชาติสมาชิก 27 ประเทศ ประชากร 500 ล้านคน
พื้นที่รวมใกล้เคียงกับสหรัฐอเมริกา ภาษาราชการ 23 ภาษา มี
อัตราคนว่างงานสูง มีเศรษฐกิจที่ไม่แน่นอน มีความเป็นอิสระใน
การเคลื่อนไหวของสินค้า บริการ บุคคล และเงินทุน
 ฝ่ ายบุคคลมีลักษณะเฉพาะและหลากหลาย มีขีดสมรรถนะทั้ง 6
ประการต่ากว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมของโลก เป็นเพราะฝ่ ายบุคคล
มองเฉพาะภายในองค์กรไม่ได้มองโลกภายนอก
 ดังนั้นฝ่ ายบุคคลในยุโรปควรรีบปรับปรุงในเรื่อง การใช้
เทคโนโลยี มีความรับผิดชอบ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณา
การ และแชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 อินเดีย เป็นประเทศที่มีพลวัตทางเศรษฐกิจมากตั้งแต่ ค.ศ.
1992 เป็นต้นมา มี GDP เป็นลาดับที่ 9 และมีอัตราการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นลาดับที่ 2 ของโลก
 จากการประเมินฝ่ ายบุคคล พบว่ามีคะแนนสูงโดยเฉพาะความ
รับผิดชอบ การสร้างขีดความสามารถ การเป็นแชมป์ การบริหาร
การเปลี่ยนแปลง และการมีนวัตกรรม
 ส่วนการมีส่วนร่วมในการวางแผนกลยุทธ์ และการใช้เทคโนโลยี
ยังมีโอกาสปรับปรุง
 กลุ่มประเทศลาตินอเมริกา ประกอบด้วย 20 ประเทศเอกราช ที่
เคยเป็นอาณานิคมของสเปนและโปรตุเกสมาก่อน ส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิค ส่งออกแร่ธาตุต่าง ๆ
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร น้ามันและก๊าซ มีเศรษฐกิจที่ผันผวน
การคอร์รัปชั่นยังคงเป็นปัญหา แรงงานมีมากแต่คนเก่งมีน้อย
 ฝ่ ายบุคคลมีจุดเด่นคือ เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง (ในลาติน
อเมริกา ความสัมพันธ์ส่วนตัวมีอิทธิพลสูงในการทางาน) แต่ด้าน
การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ ในงานฝ่ ายบุคคลเป็น
โอกาสในการพัฒนา และการใช้เทคโนโลยีต้องรีบปรับปรุง
 กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ในช่วงเวลาที่ผ่านมาไม่นานนัก มี
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมีนัยสาคัญ เกิด
ความไม่สงบทางการเมืองในหลายประเทศ รวมถึงการเกิด
เศรษฐกิจถดถอยของโลก ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐานะของ
ประเทศ ที่รัฐบาลต้องจัดงบประมาณเข้ามาสนับสนุนทางธุรกิจ
 มีการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะด้านการบิน 35,000 คน
การดูแลรักษาสุขภาพ 1,500,000 คน จึงต้องนาเข้าแรงงาน
ต่างชาติจานวนมาก คนงาน 2 ใน 3 เป็นชาย
 ความท้าทายของฝ่ ายบุคคลจึงมีสูงในทุกด้าน โดยเฉพาะการ
สร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ และการใช้เทคโนโลยี
 อเมริกาเหนือ การถดถอยทางเศรษฐกิจของอเมริกา เริ่มในปี ค.ศ. 2007 ทา
ให้รัฐบาลกลางของอเมริกา ต้องอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ระบบจานวนมาก
แรงงานมีหลายรุ่น ตั้งแต่ Mature, Baby Boomer, Gen X, Gen y และประชากร
สูงอายุมีมากขึ้นเรื่อย ๆ เพศหญิงมีบทบาทในการบริหารองค์กรเพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจปรับตัวจากการเป็นผู้ผลิต มาเป็นเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นพื้นฐาน
 ฝ่ ายบุคคลในอเมริกาแนวโน้มเข่นเดียวกับระดับโลก โดย 6 ปัจจัยที่ใช้
ประเมิน มีค่าของความสัมพันธ์กับผลงานทางธุรกิจ (R2 = .479) สูงกว่าของ
ระดับโลก (R2 = .425)
 สิ่งที่ฝ่ ายบุคคลทาได้ดีคือ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การใช้
เทคโนโลยี และ การสร้างขีดความสามารถ สิ่งที่ต้องปรับปรุงคือ การมีส่วน
ในการวางกลยุทธ์ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ และการเป็นผู้ที่
น่าเชื่อถือ
 ตุรกี เคยเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่คือ อาณาจักรออตโตมัน เป็น
ประเทศที่อยู่ระหว่างการเลือกทางเดินที่มีทั้งความเป็นตะวันตก
และตะวันออก มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย มีประชากร 75 ล้าน
คน เป็นมุสลิม 99.8% และเป็นชาติมุสลิมชาติเดียวใน NATO
 ฝ่ ายบุคคลขึ้นกับขนาดของบริษัท เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง มี
การสร้างขีดความสามารถ แชมป์ บริหารการเปลี่ยนแปลง และ
การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ
 จากข้อมูลและการสัมภาษณ์ ฝ่ ายบุคคลในตุรกี มีส่วนในการ
พัฒนาขับเคลื่อนประเทศตุรกี ที่มีความหลากหลาย เป็นพลวัต
และมีการขยายตัวของภาคธุรกิจ ซึ่งเป็นความท้าทายที่น่าสนใจ
Ben Sweetland
Part 3
 เป็นความท้าทายของฝ่ ายบุคคล ในการทาหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ
การนา การประสานงาน การกระตุ้น การวางแนวทางให้
สอดคล้อง การฝึกอบรม การพัฒนา การประเมิน และการมอบ
อานาจ
 งานบริหารบุคคล ไม่ใช่งานตรงไปตรงมาเหมือนการสร้างจรวด
แต่เป็นงานที่ซับซ้อน มีความท้าทาย เพราะธรรมชาติของบุคคล
ที่มีความหลากหลาย ทั้งวัฒนธรรมและความเชื่อ
 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคล 6 ประการที่รวบรวมมาจากการวิจัย จะ
ช่วยยกระดับบทบาทของฝ่ ายบุคคลที่มีต่อองค์กร ในการมีส่วน
ช่วยให้องค์กรประสบความสาเร็จ ตามวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้
 โลกในปัจจุบัน ไม่มีการแบ่งแยกระดับของประเทศอีกต่อไป
(The World is Flat) ทุกองค์กรมีโอกาสในการเสาะหาคนเก่งเข้า
มาร่วมงาน
 Thomas Friedman กล่าวว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่คน
เก่ง (Talent) มีความสาคัญกว่าภูมิภาค องค์กรพยายามหาคนเก่ง
ในระดับนานาชาติ เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
 ฝ่ ายบุคคลจึงมีบทบาทในการหาคนเก่งเข้ามาทางานให้กับ
องค์กร และฟูมฟักให้ทางานได้เข้ากับองค์กร
 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคล ไม่ว่าจะอยู่ในภูมิภาคใด จากผลการวิจัย
พบว่า มี 6 ประการที่สาคัญ ซึ่งฝ่ ายบุคคลในทุกธุรกิจ ที่มีความเป็น
เลิศระดับโลกให้ลาดับความสาคัญดังนี้
 1. Credible Activist
 2. HR Innovator and Integrator
 3. Strategic Positioner
 4. Capacity Builder
 5. Change Champion
 6. Technology Proponent
 ดังนั้น สมรรถนะระดับบุคคล ของฝ่ ายบุคคลที่มีผลกระทบกับผลงาน
คือ การเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณา
การ และการมีส่วนร่วมในการวางกลยุทธ์
 เมื่อถามถึงสมรรถนะของฝ่ ายบุคคล ที่มีผลกระทบกับผลลัพธ์ของ
องค์กร ว่าข้อใดมีความสาคัญ ซึ่งผลปรากฏออกมาตามลาดับคือ
 1. HR Innovator and Integrator
 2. Technology Proponent
 3. Capacity Builder
 4. Change Champion
 5. Strategic Positioner
 6. Credible Activist
 หมายถึงเพื่อผลลัพธ์ที่ออกมาดี ควรมุ่งเน้นสมรรถนะของฝ่ ายบุคคล
เรื่องการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ การใช้เทคโนโลยี และ
การสร้างขีดความสามารถ
ฝ่ ายบุคคลในอนาคตจะเป็นอย่างไร ขึ้นกับ
 แรงผลักดันระดับโลก ของบริษัท 4 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับ
นานาชาติ ระหว่างชาติ และระดับโลก
 ความหลากหลายของประชากร ขึ้นกับภูมิภาคที่ต่างกันไป
 การเชื่อมโยงทางเทคโนโลยี ทาให้บุคคลมีการคิดและการกระทา
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
 การปรับตัวทางเศรษฐกิจ อัตราการเปลี่ยนแปลงในแต่ละภูมิภาคที่ไม่
เท่ากัน
 ดังนั้นฝ่ ายบุคคลอาจต้องปรับตัวเป็นแบบ หน่วยเล็ก ๆ (Granular)
แบ่งไปตามหน่วยงานขององค์กร หรือแบ่งไปตามตลาด โดยมีจุดเน้นที่
คนเก่ง ขีดความสามารถองค์กร และภาวะผู้นา (Talent, Organizational
Capabilities, and Leadership)
คนเก่ง
 คนเก่งมีความสาคัญต่ออนาคตขององค์กร การบริหารคนเก่งจะ
ส่งผลต่อผลิตภาพขององค์กร ด้านการเงิน และด้านลูกค้า
 การบริหารคนเก่งของฝ่ ายบุคคล แทนที่จะกระทานาน ๆ ครั้ง
ต้องปรับให้เป็นวินัยและกระทาอย่างสม่าเสมอ ควรมีแผนระยะ
ยาว มีความมุ่งมั่นในการช่วยเหลือองค์กร เปลี่ยนจากสมดุล
ระหว่างงานกับชีวิตเป็นการบูรณาการงานกับชีวิต จากใน
ประเทศเป็นระดับโลก และจากความมั่นคงของอาชีพเป็นความ
ยืดหยุ่นในอาชีพ
 ฝ่ ายบุคคลมีส่วนช่วยบริหารคนเก่ง เพื่อความยั่งยืนขององค์กร
ขีดความสามารถขององค์กร
 เป็นสิ่งที่องค์กรทาได้ดี เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป ในการส่งมอบคุณค่า
 องค์กรในอนาคตจะมีขีดความสามารถคือ ความอ่อนตัว
(Flexibility) ความร่วมมือ (Collaboration) ความรับผิดชอบต่อ
สังคม (Social Responsibility) ความซับซ้อน (Complexity) ความ
มีคุณธรรม (Integrity) และการจัดการความเสี่ยง (Risk
Management)
 ซึ่งฝ่ ายบุคคลต้องให้ความสนใจ
ภาวะผู้นา
 การสร้างผู้นาและวางระบบการนาทั้งองค์กร เป็นบทบาทที่มี
ความสาคัญของฝ่ ายบุคคล เพื่อความยั่งยืนอย่างยาวนานของ
องค์กร คือ
 การปรับเปลี่ยนจากวิธีสั่งการแล้วควบคุม (Command and
Control) มาเป็นโค้ช สร้างความร่วมมือ และมีการสื่อสาร
(Coach, Collaboration and Communication)
 จากเพราะเหตุใดและอะไร (Why and What) เป็นอย่างไร (How)
 จากผู้นา (Leader) เป็นภาวะผู้นา (Leadership)
สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลในอนาคต
 จากผลการวิจัย คาดว่าสมรรถนะในอนาคตของฝ่ ายบุคคลอาจจะ
ปรับเปลี่ยนเป็น
 การเปลี่ยนแปลงบริบทและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Context and
Stakeholder Changes)
 การปรับเป็นหน่วยย่อยเล็ก ๆ ตามสายงาน (HR Granularity)
 คนเก่ง (Talent)
 การสร้างขีดความสามารถขององค์กร (Organizational
Capabilities)
 ภาวะผู้นา (Leadership)
 จากผลการวิจัย ฝ่ ายบุคคลควรมีการเรียนรู้โดยมีมุมมองจาก
ภายนอกเข้ามาภายในองค์กร นั่นคือ มีความเข้าใจในเรื่องสังคม
เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และแนวโน้มของ
ประชากร รวมถึงลูกค้า นักลงทุน กฏหมาย และชุมชน
 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลพึงมี 6 ประการคือ เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือ
นักสร้างนวัตกรรมและบูรณาการ นักวางกลยุทธ์ ผู้สร้างขีด
ความสามารถ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และผู้ให้การ
สนับสนุนเทคโนโลยี
Leo Aguila

More Related Content

Viewers also liked

ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions maruay songtanin
 
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions maruay songtanin
 
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses maruay songtanin
 
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition maruay songtanin
 
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data maruay songtanin
 
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition maruay songtanin
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence maruay songtanin
 
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0 การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0 maruay songtanin
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015  แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015 maruay songtanin
 
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors maruay songtanin
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building maruay songtanin
 
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing maruay songtanin
 
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five 5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five maruay songtanin
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want maruay songtanin
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage maruay songtanin
 
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation maruay songtanin
 
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general  16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general maruay songtanin
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners maruay songtanin
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemmaruay songtanin
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
 
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
 
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
 
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition
กฎใหม่ของการแข่งขัน New rules of competition
 
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data
เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data
 
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
 
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0 การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015  แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
 
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building
 
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing
การเรียนรู้สู่การเขียน From learning to writing
 
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five 5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
 
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
 
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general  16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring system
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
 

Similar to สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture maruay songtanin
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์ออร์คิด คุง
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำหมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำfreelance
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself maruay songtanin
 

Similar to สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies (20)

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
Ha forum20
Ha forum20Ha forum20
Ha forum20
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำหมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
Handout1
Handout1Handout1
Handout1
 

More from maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies

  • 2. Dave Ulrich, Wayne Brockbank, Jon Younger, and Mike Ulrich ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ที่กรุณาให้หนังสือเล่มนี้ มาศึกษา
  • 3.
  • 5. โลกในปัจจุบัน  มีการเชื่อมโยงถึงกันสะดวกขึ้น มีการลงทุนข้ามชาติเพิ่มขึ้น  ประเทศกาลังพัฒนามีการเจริญเติบโต และมีประชากรเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว  มีการออกกฏหมายควบคุมเพื่อความยั่งยืนของโลก  มีตลาดเกิดใหม่ และการเปลี่ยนแปลงจากค่าแรงราคาถูก มา เป็นสินค้าที่มีคุณภาพและมีนวัตกรรม  การแข่งขันทางการตลาด มีกฏควบคุมมากขึ้น  การติดต่อสื่อสารราคาถูกลง และมีความเร็วเพิ่มขึ้น  ชนชั้นกลางมีกาลังซื้ อมากขึ้น โดยร้อยละ 80 มาจากประเทศ แถบเอเซีย
  • 6. ความได้เปรียบในการแข่งขัน  เป็นสิ่งที่องค์กรต้องสร้างขึ้นมา จากการตั้งคาถามเหล่านี้ คือ :  องค์กรมีวัฒนธรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการ เรียนรู้หรือไม่?  องค์กรมีวัฒนธรรมที่มีความสามารถในการอ่อนตัว การปรับตัว และ ความคล่องตัวหรือไม่?  องค์กรมีวัฒนธรรมด้านความคล่องแคล่ว รวดเร็ว และเป็นเชิงรุก หรือไม่?
  • 7. จุดมุ่งหมายของฝ่ ายบุคคล  ต้องมีความรับผิดชอบในประเด็นคนเก่งและประเด็นขององค์กร ประเด็นคนเก่งคือเสาะหาคนเก่ง ที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรม ในสายตา ของลูกค้าและความต้องการด้านการแข่งขัน ประเด็นขององค์กรคือ การทาให้บุคลากรทางานร่วมกัน มีวิธีคิด มีพฤติกรรมร่วมกัน ก่อเกิด ความสามารถในการแข่งขัน  มีส่วนในการเพิ่มรายได้ให้กับองค์กร หลักเศรษฐศาสตร์กล่าวไว้ว่า การกระทาใดในองค์กร ที่ไม่ได้นาเงินสดเข้าองค์กร เป็นการกระทาที่ สูญเปล่า นั่นคือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมาแล้ว ไม่มีใครต้องการ มีค่า เท่ากับศูนย์ทางเศรษฐกิจ ดังนั้นฝ่ ายบุคคลต้องเห็นตลอดเป็น แนวทาง (line of sight) ถึงลูกค้าภายนอกด้วย
  • 8. จุดมุ่งหมายของฝ่ ายบุคคล (ต่อ)  สร้างทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้และความยั่งยืนขององค์กร เช่น:  มีผลลัพธ์ที่สม่าเสมอและพยากรณ์ได้  สร้างเสริมกลยุทธ์เพื่อธุรกิจในอนาคต สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า สร้าง นวัตกรรม และการขยายตัวสู่ภูมิภาคอื่น ๆ  ลงทุนในความสามารถหลัก (core competencies)  สร้างความสามารถขององค์กร เช่น ความร่วมมือ ความรวดเร็ว ความ รับผิดชอบ การเรียนรู้ ภาวะผู้นา และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น  ควรมองตนเองว่าเป็นพื้นฐานในการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน และมีแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องกับแนวคิดนี้
  • 9. 1987 Model  สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลมี 3 ประการคือ ความรู้ทางธุรกิจ การทาหน้าที่ฝ่ ายบุคคล และ บริหารการเปลี่ยนแปลง (knowledge of the business, delivery of HR practices, and management of change)  ฝ่ ายบุคคลเริ่มมีบทบาท ในการ บริหารงานขององค์กร
  • 10. 1992 Model  ความรับผิดชอบส่วนบุคคล (personal credibility) เป็น บทบาทที่เสริมเข้ามาในฝ่ าย บุคคล นั่นคือการทางานร่วมกับ ผู้นาระดับสูง มีการติดต่อสื่อสาร ที่ดี สร้างผลลัพธ์อย่างมีคุณธรรม  การบริหารการเปลี่ยนแปลงมี บทบาทมากขึ้ น ฝ่ ายบุคคลเริ่ม สนใจด้านกลยุทธ์ขององค์กร เพิ่มจากการดูด้านการปฏิบัติการ
  • 11. 1997 Model  การบริหารวัฒนธรรม (cultural management) เป็นบทบาทเพิ่มเติม ของฝ่ ายบุคคล  ฝ่ ายบุคคลเป็นผู้ระบุและส่งเสริม วัฒนธรรมองค์กร ที่ช่วยให้องค์กร บรรลุกลยุทธ์ที่วางไว้ โดยการรวบรวม ความรู้ รูปแบบของความคิด และ การบูรณาการของการปฏิบัติการ  ในองค์กรที่เป็นเลิศ ฝ่ ายบุคคลจะมี ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า คู่แข่ง แนวโน้ม ของตลาด ในระดับโลก มากกว่า องค์กรทั่วไป นั่นคือ มีแนวทางการ มองถึงนอกองค์กรด้วย (an external line of sight)
  • 12. 2002 Model  บทบาทในการร่วมกาหนดกลยุทธ์ของ องค์กร (strategic contributor)  เป็นการบูรณาการของการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ และความต้องการของตลาด  ความต้องการของตลาด เป็นความรู้ใหม่ ของฝ่ ายบุคคล ที่ต้องรู้สิ่งแวดล้อม ภายนอก สิ่งแวดล้อมภายในทั้งองค์กร เครื่องมือทางการตลาด และข่าวสารที่ สาคัญทางการตลาด  การทาหน้าที่ดังกล่าว ทาให้ฝ่ ายบุคคลมี ส่วนช่วยองค์กร ในการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงของลูกค้า การแข่งขัน และ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • 13. 2007 Model  การสร้างขีดความสามารถขององค์กร (organization capabilities) เป็นหน้าที่ สาคัญต่อของฝ่ ายบุคคล มี 3 ประการคือ ประการแรก การสร้างกลยุทธ์การมุ่งเน้น ลูกค้า ประการที่สอง การบริหารการ เปลี่ยนแปลง ประการที่สาม การบริหาร คนเก่งให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร  การทางานอย่างบูรณาการของฝ่ ายบุคคล ทาให้ทุกฝ่ ายมีความคาดหวังกับฝ่ าย บุคคลมากขึ้น  มีแนวโน้มเรื่องการบริหารคนเก่ง (talent management) กับการออกแบบขององค์กร (organization design) อย่างมีความสาคัญ ที่ส่งผลต่อธุรกิจ
  • 14.
  • 15. 2012 Model  ฝ่ ายบุคคล มี 6 องค์ประกอบของ สมรรถนะที่สาคัญคือ  1. เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือ (Credible activist) คือทาในสิ่งที่พูด ทาให้เกิด ความไว้วางใจ มีทักษะในการสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับบุคคล มีความอ่อน ตัวกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ าย มี อิทธิพลที่มีผลต่อการสร้างผลลัพธ์ ทางธุรกิจ มีการตัดสินใจที่ใช้ข้อมูล และใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
  • 16. 2012 Model  2. เป็นนักกาหนดกลยุทธ์ (Strategic positioner) มีความเข้าใจบริบทของธุรกิจ ระดับโลก ทั้งด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี ภูมิ ประเทศ และสามารถนามาใช้ประโยชน์ ในการวางแผนกลยุทธ์  มีความเข้าใจโครงสร้างในอุตสาหกรรม ของตนเอง พลวัตของการแข่งขันของ ตลาด รวมทั้งแนวโน้มของลูกค้า คู่แข่งขัน และผู้ส่งมอบ สามารถนาความรู้มาพัฒนา เป็นวิสัยทัศน์ขององค์กร  มีส่วนร่วมในการพัฒนากลยุทธ์ด้านการ มุ่งเน้นลูกค้า กาหนดเป้าประสงค์ และ แปลงกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการ
  • 17. 2012 Model  3. เป็นนักสร้างขีดความสามารถ (Capability builder) ฝ่ ายบุคคลเป็น ผู้กาหนด ตรวจสอบ และควบคุม ขีดความสามารถ ซึ่งเป็นสิ่งที่ องค์กรถนัดหรือทาได้ดีที่สุด เช่น การสร้างนวัตกรรม ความรวดเร็ว การมุ่งเน้นลูกค้า เป็นต้น  ฝ่ ายบุคคลสามารถช่วยผู้จัดการสาย งานต่าง ๆ ในการกาหนดขีด ความสามารถของบุคลากร เพื่อใช้ สร้างคุณค่าให้กับองค์กร
  • 18. 2012 Model  4. เป็นแชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change champion) ฝ่ ายบุคคลเป็นผู้สร้าง ความสามารถในการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงให้กับองค์กร เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน  การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต้องอาศัยความ จริงทางธุรกิจ และเอาชนะแรงต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง โดยสร้างความผูกพันกับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ และมีความมุ่งมั่น ในการปฏิบัติอย่างจริงจัง  การเปลี่ยนแปลงเกิดความยั่งยืน ทาได้ โดยจัดสรรทรัพยากรคือ เวลา คน เงิน และสารสนเทศ อีกทั้งมีการเรียนรู้ทั้งจาก ความสาเร็จและความล้มเหลว
  • 19. 2012 Model  5. เป็นนักนวัตกรรมและนักบูรณาการ (HR innovator and integrator) ฝ่ าย บุคคลมีความสามารถในการบูรณาการ การปฏิบัติทางบุคลากร และประเด็น สาคัญทางธุรกิจ  มีการลาดับความสาคัญของผลลัพธ์ ที่ เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถไปสู่การ ปฏิบัติ อย่างมีวินัยและมีความ สม่าเสมอ ทาให้ผลลัพธ์ขององค์กร ออกมาได้ดี  มีการสร้างนวัตกรรม ของฝ่ ายบุคคล กระบวนการ และโครงสร้าง ที่ส่งผล ต่อผลลัพธ์ทางธุรกิจ
  • 20. 2012 Model  6. เป็นผู้สนับสนุนเทคโนโลยี (Technology proponent) ระบบสารสนเทศของฝ่ ายบุคคล ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสวัสดิการ การจ่าย เงินเดือน ทุนด้านสุขภาพ การบันทึกประวัติ ฯลฯ  ในองค์กรที่เป็นเลิศ ฝ่ ายบุคคลมีการใช้ เทคโนโลยีเพิ่มอีก 2 ประการ ประการแรกคือ โลกสังคมออนไลน์ ที่ช่วยให้บุคลากรมีการ ติดต่อกันภายใน รวมถึงการติดต่อของ บุคลากรกับลูกค้าภายนอกด้วย ประการที่สอง คือ ฝ่ ายบุคคลมีบทบาทมากขึ้นทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการคัดกรอง สารสนเทศที่นามาเป็นความรู้ขององค์กร และ มีการแบ่งปันความรู้ในองค์กรด้วย  บทบาทใหม่ของฝ่ ายบุคคลทางด้านเทคโนโลยี จึงเป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับองค์กร
  • 21.  ฝ่ ายบุคคลต้องมุ่งเน้นการมองจากภายนอกเข้ามาในองค์กร  สร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภายนอกและภายใน องค์กร  เป็นผู้นาและผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง  สร้างขีดความสามารถให้องค์กร โดยการปฏิบัติของฝ่ ายบุคคลที่ เป็นการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ  มีการใช้เทคโนโลยีอย่างมีกลยุทธ์ เพื่อความมีประสิทธิภาพ และ การเชื่อมโยงขององค์กร
  • 23. Part 2 เป็นผลจากการทาวิจัย ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก 6 ครั้ง (1987, 1992, 1997, 2002, 2007, 2012) โดยใช้ 6 สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลพึงมี (2012 Competency Model) เป็นหลักในการประเมินผล
  • 24.  อาฟริกา เป็นทวีปใหญ่ลาดับที่สองของโลก มีประชากรรวมกัน ประมาณพันล้านคน  หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีประเทศเกิดใหม่ประกาศอิสระภาพมาก ปัจจุบันมีเม็ดเงินลงทุนจากเอเซียเพิ่มขึ้น  มีจุดแข็งคือ ฝ่ ายบุคคลมีความรับผิดชอบ มีการบริหารการ เปลี่ยนแปลง และมีกลยุทธ์  โอกาสพัฒนาคือ ด้านเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน และความ น่าเชื่อถือ  สรุป ฝ่ ายบุคคลในอาฟริกามีพื้นฐานที่ดี น่าจะมีอนาคตที่ดี จากสถิติ พบว่า 14% (0.144 R2) ของสมรรถนะฝ่ ายบุคคลทั้ง 6 ประการ มี ผลกระทบต่อด้านธุรกิจ
  • 25.  ออสเตรเลีย เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและเป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลก มี ประชากร 22.5 ล้านคน คิดเป็น 0.3% ของพลเมืองโลก ฝ่ ายบุคคลมี การศึกษาสูง ส่วนมากเป็นเพศหญิง  นิวซีแลนด์ บุคลากรที่ทางาน 33% เป็นต่างชาติ และ 71% อยู่ภาค บริการ ฝ่ ายบุคคลเริ่มมีการพัฒนา  ฝ่ ายบุคคลทั้งสองประเทศไม่มีความแตกต่าง แต่องค์กรใน ออสเตรเลียมีขนาดใหญ่กว่า  จุดแข็งคือ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ การสร้างกลยุทธ์ และการบริหารการเปลี่ยนแปลง ส่วนโอกาสพัฒนาของฝ่ ายบุคคลคือ การใช้เทคโนโลยี การจัดการกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการนากล ยุทธ์ไปสู่แผนปฎิบัติการ
  • 26.  ประเทศจีน มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว มีปัญหา เรื่องมลภาวะ มีการบริโภคพลังงานและวัตถุดิบสูง มีค่าแรงถูก สวัสดิการแรงงานต่า ทาให้การเจริญเติบโตไม่ยั่งยืน  สิ่งที่จีนต้องการคือ แรงงานที่มีความรู้ และเป็นคนเก่ง เพื่อเปลี่ยน จากการผลิตสินค้าราคาถูก เป็นสินค้าเทคโนโลยีที่มีคุณค่า  ดังนั้น ฝ่ ายบุคคลของจีนต้องเร่งพัฒนาตนเองใน 3 ด้านคือ การสร้าง ขีดความสามารถ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการบริหาร และพัฒนาคนเก่ง  ข้อเสนอแนะให้ฝ่ ายบุคคลคือ การเรียนรู้เรื่องธุรกิจและออกแบบฝ่ าย บุคคลให้สอดคล้อง เรียนรู้เรื่องการคิดอย่างเป็นระบบ และการ เรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 27.  สหภาพยุโรป มีชาติสมาชิก 27 ประเทศ ประชากร 500 ล้านคน พื้นที่รวมใกล้เคียงกับสหรัฐอเมริกา ภาษาราชการ 23 ภาษา มี อัตราคนว่างงานสูง มีเศรษฐกิจที่ไม่แน่นอน มีความเป็นอิสระใน การเคลื่อนไหวของสินค้า บริการ บุคคล และเงินทุน  ฝ่ ายบุคคลมีลักษณะเฉพาะและหลากหลาย มีขีดสมรรถนะทั้ง 6 ประการต่ากว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมของโลก เป็นเพราะฝ่ ายบุคคล มองเฉพาะภายในองค์กรไม่ได้มองโลกภายนอก  ดังนั้นฝ่ ายบุคคลในยุโรปควรรีบปรับปรุงในเรื่อง การใช้ เทคโนโลยี มีความรับผิดชอบ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณา การ และแชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง
  • 28.  อินเดีย เป็นประเทศที่มีพลวัตทางเศรษฐกิจมากตั้งแต่ ค.ศ. 1992 เป็นต้นมา มี GDP เป็นลาดับที่ 9 และมีอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นลาดับที่ 2 ของโลก  จากการประเมินฝ่ ายบุคคล พบว่ามีคะแนนสูงโดยเฉพาะความ รับผิดชอบ การสร้างขีดความสามารถ การเป็นแชมป์ การบริหาร การเปลี่ยนแปลง และการมีนวัตกรรม  ส่วนการมีส่วนร่วมในการวางแผนกลยุทธ์ และการใช้เทคโนโลยี ยังมีโอกาสปรับปรุง
  • 29.  กลุ่มประเทศลาตินอเมริกา ประกอบด้วย 20 ประเทศเอกราช ที่ เคยเป็นอาณานิคมของสเปนและโปรตุเกสมาก่อน ส่วนใหญ่นับ ถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาธอลิค ส่งออกแร่ธาตุต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร น้ามันและก๊าซ มีเศรษฐกิจที่ผันผวน การคอร์รัปชั่นยังคงเป็นปัญหา แรงงานมีมากแต่คนเก่งมีน้อย  ฝ่ ายบุคคลมีจุดเด่นคือ เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง (ในลาติน อเมริกา ความสัมพันธ์ส่วนตัวมีอิทธิพลสูงในการทางาน) แต่ด้าน การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ ในงานฝ่ ายบุคคลเป็น โอกาสในการพัฒนา และการใช้เทคโนโลยีต้องรีบปรับปรุง
  • 30.  กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ในช่วงเวลาที่ผ่านมาไม่นานนัก มี การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมีนัยสาคัญ เกิด ความไม่สงบทางการเมืองในหลายประเทศ รวมถึงการเกิด เศรษฐกิจถดถอยของโลก ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐานะของ ประเทศ ที่รัฐบาลต้องจัดงบประมาณเข้ามาสนับสนุนทางธุรกิจ  มีการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะด้านการบิน 35,000 คน การดูแลรักษาสุขภาพ 1,500,000 คน จึงต้องนาเข้าแรงงาน ต่างชาติจานวนมาก คนงาน 2 ใน 3 เป็นชาย  ความท้าทายของฝ่ ายบุคคลจึงมีสูงในทุกด้าน โดยเฉพาะการ สร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ และการใช้เทคโนโลยี
  • 31.  อเมริกาเหนือ การถดถอยทางเศรษฐกิจของอเมริกา เริ่มในปี ค.ศ. 2007 ทา ให้รัฐบาลกลางของอเมริกา ต้องอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ระบบจานวนมาก แรงงานมีหลายรุ่น ตั้งแต่ Mature, Baby Boomer, Gen X, Gen y และประชากร สูงอายุมีมากขึ้นเรื่อย ๆ เพศหญิงมีบทบาทในการบริหารองค์กรเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจปรับตัวจากการเป็นผู้ผลิต มาเป็นเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นพื้นฐาน  ฝ่ ายบุคคลในอเมริกาแนวโน้มเข่นเดียวกับระดับโลก โดย 6 ปัจจัยที่ใช้ ประเมิน มีค่าของความสัมพันธ์กับผลงานทางธุรกิจ (R2 = .479) สูงกว่าของ ระดับโลก (R2 = .425)  สิ่งที่ฝ่ ายบุคคลทาได้ดีคือ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การใช้ เทคโนโลยี และ การสร้างขีดความสามารถ สิ่งที่ต้องปรับปรุงคือ การมีส่วน ในการวางกลยุทธ์ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ และการเป็นผู้ที่ น่าเชื่อถือ
  • 32.  ตุรกี เคยเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่คือ อาณาจักรออตโตมัน เป็น ประเทศที่อยู่ระหว่างการเลือกทางเดินที่มีทั้งความเป็นตะวันตก และตะวันออก มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย มีประชากร 75 ล้าน คน เป็นมุสลิม 99.8% และเป็นชาติมุสลิมชาติเดียวใน NATO  ฝ่ ายบุคคลขึ้นกับขนาดของบริษัท เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูง มี การสร้างขีดความสามารถ แชมป์ บริหารการเปลี่ยนแปลง และ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ  จากข้อมูลและการสัมภาษณ์ ฝ่ ายบุคคลในตุรกี มีส่วนในการ พัฒนาขับเคลื่อนประเทศตุรกี ที่มีความหลากหลาย เป็นพลวัต และมีการขยายตัวของภาคธุรกิจ ซึ่งเป็นความท้าทายที่น่าสนใจ
  • 35.  เป็นความท้าทายของฝ่ ายบุคคล ในการทาหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การนา การประสานงาน การกระตุ้น การวางแนวทางให้ สอดคล้อง การฝึกอบรม การพัฒนา การประเมิน และการมอบ อานาจ  งานบริหารบุคคล ไม่ใช่งานตรงไปตรงมาเหมือนการสร้างจรวด แต่เป็นงานที่ซับซ้อน มีความท้าทาย เพราะธรรมชาติของบุคคล ที่มีความหลากหลาย ทั้งวัฒนธรรมและความเชื่อ  สมรรถนะของฝ่ ายบุคคล 6 ประการที่รวบรวมมาจากการวิจัย จะ ช่วยยกระดับบทบาทของฝ่ ายบุคคลที่มีต่อองค์กร ในการมีส่วน ช่วยให้องค์กรประสบความสาเร็จ ตามวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้
  • 36.  โลกในปัจจุบัน ไม่มีการแบ่งแยกระดับของประเทศอีกต่อไป (The World is Flat) ทุกองค์กรมีโอกาสในการเสาะหาคนเก่งเข้า มาร่วมงาน  Thomas Friedman กล่าวว่า เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่คน เก่ง (Talent) มีความสาคัญกว่าภูมิภาค องค์กรพยายามหาคนเก่ง ในระดับนานาชาติ เพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน  ฝ่ ายบุคคลจึงมีบทบาทในการหาคนเก่งเข้ามาทางานให้กับ องค์กร และฟูมฟักให้ทางานได้เข้ากับองค์กร
  • 37.  สมรรถนะของฝ่ ายบุคคล ไม่ว่าจะอยู่ในภูมิภาคใด จากผลการวิจัย พบว่า มี 6 ประการที่สาคัญ ซึ่งฝ่ ายบุคคลในทุกธุรกิจ ที่มีความเป็น เลิศระดับโลกให้ลาดับความสาคัญดังนี้  1. Credible Activist  2. HR Innovator and Integrator  3. Strategic Positioner  4. Capacity Builder  5. Change Champion  6. Technology Proponent  ดังนั้น สมรรถนะระดับบุคคล ของฝ่ ายบุคคลที่มีผลกระทบกับผลงาน คือ การเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ การสร้างนวัตกรรมและการบูรณา การ และการมีส่วนร่วมในการวางกลยุทธ์
  • 38.  เมื่อถามถึงสมรรถนะของฝ่ ายบุคคล ที่มีผลกระทบกับผลลัพธ์ของ องค์กร ว่าข้อใดมีความสาคัญ ซึ่งผลปรากฏออกมาตามลาดับคือ  1. HR Innovator and Integrator  2. Technology Proponent  3. Capacity Builder  4. Change Champion  5. Strategic Positioner  6. Credible Activist  หมายถึงเพื่อผลลัพธ์ที่ออกมาดี ควรมุ่งเน้นสมรรถนะของฝ่ ายบุคคล เรื่องการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการ การใช้เทคโนโลยี และ การสร้างขีดความสามารถ
  • 39. ฝ่ ายบุคคลในอนาคตจะเป็นอย่างไร ขึ้นกับ  แรงผลักดันระดับโลก ของบริษัท 4 ระดับคือ ระดับชาติ ระดับ นานาชาติ ระหว่างชาติ และระดับโลก  ความหลากหลายของประชากร ขึ้นกับภูมิภาคที่ต่างกันไป  การเชื่อมโยงทางเทคโนโลยี ทาให้บุคคลมีการคิดและการกระทา เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม  การปรับตัวทางเศรษฐกิจ อัตราการเปลี่ยนแปลงในแต่ละภูมิภาคที่ไม่ เท่ากัน  ดังนั้นฝ่ ายบุคคลอาจต้องปรับตัวเป็นแบบ หน่วยเล็ก ๆ (Granular) แบ่งไปตามหน่วยงานขององค์กร หรือแบ่งไปตามตลาด โดยมีจุดเน้นที่ คนเก่ง ขีดความสามารถองค์กร และภาวะผู้นา (Talent, Organizational Capabilities, and Leadership)
  • 40. คนเก่ง  คนเก่งมีความสาคัญต่ออนาคตขององค์กร การบริหารคนเก่งจะ ส่งผลต่อผลิตภาพขององค์กร ด้านการเงิน และด้านลูกค้า  การบริหารคนเก่งของฝ่ ายบุคคล แทนที่จะกระทานาน ๆ ครั้ง ต้องปรับให้เป็นวินัยและกระทาอย่างสม่าเสมอ ควรมีแผนระยะ ยาว มีความมุ่งมั่นในการช่วยเหลือองค์กร เปลี่ยนจากสมดุล ระหว่างงานกับชีวิตเป็นการบูรณาการงานกับชีวิต จากใน ประเทศเป็นระดับโลก และจากความมั่นคงของอาชีพเป็นความ ยืดหยุ่นในอาชีพ  ฝ่ ายบุคคลมีส่วนช่วยบริหารคนเก่ง เพื่อความยั่งยืนขององค์กร
  • 41. ขีดความสามารถขององค์กร  เป็นสิ่งที่องค์กรทาได้ดี เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป ในการส่งมอบคุณค่า  องค์กรในอนาคตจะมีขีดความสามารถคือ ความอ่อนตัว (Flexibility) ความร่วมมือ (Collaboration) ความรับผิดชอบต่อ สังคม (Social Responsibility) ความซับซ้อน (Complexity) ความ มีคุณธรรม (Integrity) และการจัดการความเสี่ยง (Risk Management)  ซึ่งฝ่ ายบุคคลต้องให้ความสนใจ
  • 42. ภาวะผู้นา  การสร้างผู้นาและวางระบบการนาทั้งองค์กร เป็นบทบาทที่มี ความสาคัญของฝ่ ายบุคคล เพื่อความยั่งยืนอย่างยาวนานของ องค์กร คือ  การปรับเปลี่ยนจากวิธีสั่งการแล้วควบคุม (Command and Control) มาเป็นโค้ช สร้างความร่วมมือ และมีการสื่อสาร (Coach, Collaboration and Communication)  จากเพราะเหตุใดและอะไร (Why and What) เป็นอย่างไร (How)  จากผู้นา (Leader) เป็นภาวะผู้นา (Leadership)
  • 43. สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลในอนาคต  จากผลการวิจัย คาดว่าสมรรถนะในอนาคตของฝ่ ายบุคคลอาจจะ ปรับเปลี่ยนเป็น  การเปลี่ยนแปลงบริบทและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Context and Stakeholder Changes)  การปรับเป็นหน่วยย่อยเล็ก ๆ ตามสายงาน (HR Granularity)  คนเก่ง (Talent)  การสร้างขีดความสามารถขององค์กร (Organizational Capabilities)  ภาวะผู้นา (Leadership)
  • 44.  จากผลการวิจัย ฝ่ ายบุคคลควรมีการเรียนรู้โดยมีมุมมองจาก ภายนอกเข้ามาภายในองค์กร นั่นคือ มีความเข้าใจในเรื่องสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และแนวโน้มของ ประชากร รวมถึงลูกค้า นักลงทุน กฏหมาย และชุมชน  สมรรถนะของฝ่ ายบุคคลพึงมี 6 ประการคือ เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือ นักสร้างนวัตกรรมและบูรณาการ นักวางกลยุทธ์ ผู้สร้างขีด ความสามารถ แชมป์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และผู้ให้การ สนับสนุนเทคโนโลยี