SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
17 ธันวาคม 2558
ว่าด้วยการจัดการความรู้ (About Knowledge Management: KM)
 Part I: Knowledge Management (KM)
 Part II: Enterprise 2.0 & KM
 Part III: Knowledge Management 2.0 (KM 2.0)
Adapted from: Wikipedia
การจัดการความรู้ (KM)
 การจัดการความรู้ (KM) เป็นกระบวนการของการดักจับ การ
พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรอย่างมี
ประสิทธิผล (the process of capturing, developing, sharing, and
effectively using organizational knowledge)
 และหมายถึง แนวทางสหสาขาวิชา (multi-disciplinary
approach) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยใช้
ประโยชน์จากความรู้ให้มากที่สุด
การจัดการความรู้ในองค์กร (Internal KM Efforts)
 บริษัทขนาดใหญ่ต่าง ๆ สถาบันภาครัฐ และองค์กรที่ไม่แสวงหา
ผลกาไร ทุ่มเททรัพยากรให้กับการจัดการความรู้ภายในองค์กร
โดยถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ทางธุรกิจ เทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของพวกเขา
 มีบริษัทที่ปรึกษาหลายแห่ง แนะนาเกี่ยวกับกลยุทธ์และการ
จัดการความรู้ ให้กับองค์กรเหล่านั้น
การเรียนรู้ขององค์กร (Organizational Learning)
 การจัดการความรู้ (KM) มักมุ่งเน้นไปที่วัตถุประสงค์ขององค์กร
เช่น การพัฒนาผลการดาเนินงาน ความได้เปรียบในการแข่งขัน
การสร้างนวัตกรรม การแบ่งปันบทเรียน การบูรณาการ และการ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องขององค์กร
 การจัดการความรู้ อาจทับซ้อนกับ การเรียนรู้ขององค์กร
(organizational learning) แต่แตกต่างกันที่ การจัดการความรู้
เป็นสินทรัพย์เชิงกลยุทธ์ และเน้นการแบ่งปันความรู้
 การจัดการความรู้ เป็นตัวผลักดันให้เกิด การเรียนรู้ขององค์กร
แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (KM Ideas)
 การจัดการความรู้ ได้ถูกนามาอภิปราย โดยนักวิชาการเช่น
Ikujiro Nonaka (Hitotsubashi University) Hirotaka Takeuchi
(Hitotsubashi University), Thomas H. Davenport (Babson
College) และ Baruch Lev (New York University)
 ในปี ค.ศ. 2001 Thomas A. Stewart อดีตบรรณาธิการนิตยสาร
Fortune และต่อมาเป็นบรรณาธิการของ Harvard Business
Review ได้พิมพ์บทความ ที่เน้นความสาคัญของ ทุนทางปัญญา
ขององค์กร (intellectual capital)
3 มุมมองการจัดการความรู้ (KM Perspectives)
 เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric) ให้ความสาคัญกับ
เทคโนโลยี ที่ช่วยเพิ่มการแบ่งปัน และการสร้างความรู้
 องค์กร (Organizational) ให้ความสาคัญกับวิธีการออกแบบ
องค์กร เพื่ออานวยความสะดวกกระบวนการทางความรู้
 ระบบนิเวศ (Ecological) ให้ความสาคัญในการทางานร่วมกัน
ของผู้คน ความเป็นตัวตน ความรู้ และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(เป็นระบบการปรับตัวที่ซับซ้อน คล้ายกับระบบนิเวศธรรมชาติ)
แบบต่าง ๆ ของการจัดการความรู้ (KM Lenses)
 Community of Practice
 Social Network Analysis
 Intellectual Capital (Bontis & Choo 2002)
 Information Theory (McInerney 2002)
 Complexity Science
 Constructivism (Nanjappa & Grant 2003)
มิติของการจัดการความรู้ (KM Dimensions)
 มีกรอบหนึ่ง เสนอให้จัดหมวดหมู่ของความรู้เป็น ความรู้ในตน
(tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)
 ความรู้ในตน (tacit knowledge) แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่บุคคลมี
แต่อาจจะไม่ตระหนักถึง เช่น วิธีการเฉพาะที่ทาให้เขาหรือเธอ
ทางานสาเร็จ
 ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge) เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจน
แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่แต่ละคนมี ในรูปแบบที่สามารถสื่อสาร
กับคนอื่น ๆ ได้
Codified. Merely
Information?
Information in Context. Only
Personal?
รูปแบบของ SECI (SECI Model)
 Ikujiro Nonaka เสนอรูปแบบ SECI คือ Socialization,
Externalization, Combination, Internalization ที่พิจารณาจาก
ปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการ ความรู้ในตน (tacit knowledge)
และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)
 ในรูปแบบนี้ ความรู้ในตน (tacit knowledge) จะถูก สกัด
(extracted) กลายเป็น ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)
และจะ ถูกฝัง (re-internalized) ให้กลายเป็น ความรู้ในตน (tacit
knowledge) ของผู้อื่นต่อไปอีกเรื่อย ๆ ตามวงจรรูปก้นหอย
กลยุทธ์การจัดการความรู้
 กลยุทธ์หนึ่งของการจัดการความรู้คือ กลยุทธ์แบบการผลักดัน
(push strategy) เรียกว่า แนวทางการประมวลผลความรู้
(Codification Approach to KM)
 ในกรณีดังกล่าว บุคคลจะสร้างความรู้ของพวกเขา แล้วเก็บ
ความรู้ไว้ในที่ที่ใช้ร่วมกัน เช่นในฐานข้อมูล
 ทานองเดียวกันก็จะมีความรู้ที่พวกเขาต้องการ จัดเก็บไว้ในพื้นที่
เก็บข้อมูล ที่บุคคลอื่น ๆ ได้สร้างไว้
กลยุทธ์การจัดการความรู้ (ต่อ)
 กลยุทธ์ในการจัดการความรู้อีกแบบหนึ่ง คือ กลยุทธ์แบบดึง
(pull strategy) เรียกว่า แนวทางการจัดการความรู้ส่วนบุคคล
(Personalization Approach to KM)
 ซึ่งบุคคลที่เกี่ยวข้อง ร้องขอความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
 ในกรณีดังกล่าว ผู้เชี่ยวชาญสามารถให้ข้อมูลเชิงลึกของพวกเขา
กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือผู้ที่ต้องการในเรื่องนั้น ๆ
กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (Other Knowledge
Management Strategies)
 แบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) วัฒนธรรมที่เอื้อให้เกิดการ
แบ่งปันข้อมูล อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดว่า ความรู้นั้น ควรมีการ
ให้กลับคืน แบ่งปันกัน และช่วยกันปรับปรุง)
 การเล่าเรื่อง (Storytelling) เป็นการถ่ายทอดความรู้ในตน
 การเรียนรู้ข้ามโครงการ (Cross-project Learning)
 การเรียนรู้หลังจากการดาเนินการ (After Action Reviews: AAR)
 การทาแผนที่ความรู้ (Knowledge Mapping) เป็นแผนที่การเก็บ
ความรู้ภายในบริษัท ที่บุคลากรทั้งหมดสามารถเข้าถึงได้
กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)
 ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice: CoP)
 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ (Expert Directories) เพื่อช่วยผู้ที่ต้องการ
ความรู้ เข้าถึงผู้เชี่ยวชาญ
 ระบบที่เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ผู้ที่ต้องการความรู้ ต้อง
สนองต่อคาถามที่เฉพาะเจาะจงก่อน จึงจะเข้าถึงความรู้ในพื้นที่
เก็บข้อมูล
 การถ่ายโอนการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice Transfer)
 งานแสดงความรู้ (Knowledge Fairs)
กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)
 การจัดการความสามารถ (Competence Management) การ
ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และการวางแผนความสามารถของ
สมาชิกในองค์กรแต่ละบุคคล
 ความใกล้ชิดกันและสถาปัตยกรรม (Proximity & Architecture)
สถานการณ์ทางกายภาพของบุคลากร เป็นได้ทั้งเอื้อหรือปิดกั้น การ
แบ่งปันความรู้
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เชี่ยวชาญกับผู้ฝึกงาน (Master-apprentice
Relationship)
 เทคโนโลยีด้านความร่วมมือ (Collaborative Technologies) เช่น
groupware และอื่น ๆ
 แหล่งเก็บความรู้ (Knowledge Repositories) เช่น ฐานข้อมูล
bookmarking engines ฯลฯ
กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)
 การวัดและการรายงานทุนทางปัญญา (Measuring and Reporting
Intellectual Capital) เป็นวิธีการสร้างความรู้ที่ชัดเจน
 ตัวแทนเรื่องความรู้ (Knowledge Brokers) สมาชิกบางคนรับผิดชอบ
เรื่องที่เฉพาะเจาะจง และทาหน้าที่เป็นแหล่งอ้างอิงลาดับแรก ที่จะ
พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่เฉพาะเจาะจงนั้น
 ซอฟแวร์ทางสังคม (Social Software) wikis, social bookmarking,
blogs ฯลฯ
 การถ่ายทอดความรู้ระหว่างโครงการ (Inter-project Knowledge
Transfer)
การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)
 การแบ่งปันความรู้ ยังคงเป็นประเด็นที่ท้าทายสาหรับการจัดการ
ความรู้
 อุปสรรคอาจรวมถึงปัญหาเรื่องเวลา สาหรับการทางานความรู้
ระดับของความไว้วางใจ ขาดการสนับสนุนของเทคโนโลยีที่มี
ประสิทธิผล และวัฒนธรรม
แนวโน้มของการจัดการความรู้ (KM Trends)
 หนึ่งในแนวโน้มที่สาคัญที่สุด ในเทคโนโลยีการจัดการความรู้ คือ
การนามาตรฐานอินเทอร์เน็ตมาใช้
 การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของอินเทอร์เน็ต ผลักดันให้ผู้ขาย
ส่วนใหญ่ละทิ้งรูปแบบที่เป็นกรรมสิทธิ์ และใช้ในรูปแบบ
อินเทอร์เน็ตเช่น HTML, HTTP, และ XML แทนที่
 นอกจากนี้ ระบบเปิดและเครื่องมือฟรีสาหรับการสร้างบล็อก
และวิกิในขณะนี้ ช่วยให้การใช้ในเชิงพาณิชย์มีค่าใช้จ่ายน้อย
หรือไม่มีเลย
Adapted from: Enterprise 2.0 Knowledge Management
A Revolution of Knowledge in Three Parts.
http://www.t-systems-mms.com/mms/en
การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่สนใจอะไร ขอเพียง
1. เขียนความรู้ของคุณลงในฐานข้อมูล
2. มีรายละเอียดที่เพียงพอ
3. อาจจะมีใครบางคนใช้ความรู้ของคุณสักวัน หรืออาจจะไม่มี ...
4. ไม่ควรใช้เวลามากเกินไป เกี่ยวกับเรื่องนี้ !
การแบ่งปันความรู้
เราทุกคนชอบที่จะแบ่งปันความรู้ ... แต่
 ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่ต้องการความรู้ของฉัน
 ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่จะใช้ความรู้ของฉัน
 ฉันอยากจะแบ่งปัน สิ่งที่สาคัญจริงๆ
ผู้สร้างเนื้ อหา
 กว่า 80% ของผู้ใช้เว็บเพื่อสร้างเนื้ อหา กล่าวว่า ที่พวกเขาทา
เพราะว่าพวกเขาชอบที่จะสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับคน
อื่น ๆ
 ข้อเสนอแนะในเชิงบวกจากผู้อื่น เป็นสิ่งสาคัญ
 และช่วยส่งเสริมสถานะของเขา ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
ไม่ต้องแปลกใจ
 ถ้าไม่มี ผู้ชม (audience) เราก็จะไม่เกิดแรงบันดาลใจ ... และเรา
ไม่ทราบว่า จะมีผู้ใช้ความรู้ของเราหรือไม่
 เรารู้ในสิ่งที่เรารู้ เมื่อเราต้องการที่จะเรียนรู้
 เรามักจะรู้ มากกว่าสิ่งที่เราสามารถบอก และเรามักจะบอก ได้
มากกว่าสิ่งที่เราเขียน
การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่ได้ผลเพราะ
 ... กาหนดความรู้เหมือนเป็นสินค้า ที่ถ่ายโอนมาจากศูนย์กลาง
 ... เรียกร้องการแบ่งปันความรู้ โดยไม่มีผู้ชม
 ... ต้องการเพียงที่จะจัดการความรู้
ซอฟท์แวร์สังคม (Social Software) ... จะทาให้การจัดการความรู้
ประสบความสาเร็จ!
 ผิด!
 ซอฟท์แวร์สังคม (ขออภัย) เป็นเพียงเครื่องมือ ...
 แน่นอนว่า เป็นสิ่งที่ทาให้การใช้งานง่ายมากขึ้นและดูดีกว่า -แต่
ไม่ได้รับประกันผู้ชมแต่อย่างใด
กฎ 90-9-1
 1% ของผู้ใช้เว็บ เป็นผู้สร้างเนื้ อหา
 9% ของผู้ใช้เว็บ แสดงความคิดเห็นและเติมข้อมูลให้
 90% ของผู้ใช้เว็บ เป็นเพียงผู้ใช้ข้อมูล
 จานวนเท่าใดในบุคลากรในองค์กรของคุณ เป็น 1%?
 ผู้เชี่ยวชาญที่สาคัญและวุ่นวายที่สุดในองค์กรของคุณ มีจานวน
เท่าใด ที่เป็นส่วนหนึ่งของหนึ่งเปอร์เซ็นต์?
การจัดการความรู้ และ Enterprise 2.0
 "การจัดการความรู้ และสื่อสังคม มีลักษณะคล้ายกันมากหาก
มองแค่พื้นผิว แต่ที่เป็นจริงแล้ว แตกต่างกันอย่างมากในหลาย
ระดับ ทั้งทางวัฒนธรรม ทางเทคนิค รวมถึงสงครามทาง
วัฒนธรรมที่ไม่ได้ประกาศ ที่เป็นจิตวิญญาณของ Enterprise2.0"
แนวคิดใหม่
1. แบ่งปันความรู้ร่วมกันอยู่เสมอ โดยสมัครใจ ไม่มีใครบังคับ
2. เราแบ่งปันความรู้ เมื่อเรามีผู้ชมที่ถูกต้อง (ที่ช่วยกระตุ้นเรา
และมีการสร้างบริบทที่เหมาะสม)
3. ซอฟท์แวร์เพื่อสังคมเพียงอย่างเดียว ไม่ได้เป็นวิธีการแก้ปัญหา
เก่า ๆ ของการจัดการความรู้
นี่เป็นการจัดการความรู้ใหม่ใช่หรือไม่
 ไม่ใช่ ไม่ได้เป็นการจัดการความรู้ใหม่
 เพราะไม่ได้เกี่ยวกับการจัดเก็บความรู้ ... แต่เกี่ยวกับ ความรู้ที่
ทันเวลา (Just In Time)
 เกิดขึ้นในเครือข่ายอย่างเป็นทางการ ... และเกิดมากยิ่งขึ้นกับ
เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
ซอฟท์แวร์สังคม (Social Software)
 บุคลากรเก็บรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของความต้องการ
ลงในวิกิพีเดีย ... รายงานสถานะและรายละเอียดในบล็อก ...
สื่อสารภายในทีมผ่านทาง Microblog ... สร้างและหารือเกี่ยวกับ
เนื้ อหาในวิกิพีเดีย... และทาให้เป็นปัจจุบันผ่านทาง RSS
 อย่าลืมว่า คาพูดเดินทางได้อย่างรวดเร็ว
 ซอฟท์แวร์สังคมมีการขยายตัว ... พบโดเมนใหม่ ... และ
เรียกร้องให้มีวัฒนธรรมใหม่ที่มีการเปิดกว้าง
เหตุใดจึงได้ผล
 เพราะธุรกิจประจาวันสร้างบริบทและผู้ชมโดยอัตโนมัติ ... ด้วย
เหตุผลนี้ เราจึงมีแรงจูงใจที่จะแบ่งปันความรู้
 การแบ่งปันความรู้ เป็นผลข้างเคียงจากการทางานของเรา!
 ในขณะที่เราทางาน เราทาเครื่องหมายในระบบซอฟท์แวร์ ...
และซอฟท์แวร์สังคม ทาให้เครื่องหมายนั้นโปร่งใส
 ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงเนื้ อหา
 ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงเนื้ อหากับผู้คน
 ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงผู้คน
การปฏิบัติงานประจาวัน
 เมื่อใช้ซอฟท์แวร์สังคม เป็นที่เข้าใจกันว่า คือแพลตฟอร์มแบบ
ครบวงจรในธุรกิจประจาวัน ... มีมุมมองตามลาดับชั้น... มีความ
โปร่งใส ... จากผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อนั้น ๆ และ ... จากเครือข่าย
(ที่ไม่เป็นทางการ)
 ดังนั้น คนที่เหมาะสมได้มาพบปะกัน... ความคิดใหม่ ๆ จึงได้รับ
การพัฒนาร่วมกัน
Enterprise 2.0
 1. ไม่เกี่ยวกับการอ่านเอกสารที่ดีที่สุด แต่เกิดจากการติดต่อผู้ที่
ถูกต้อง
 2. ด้วยซอฟท์แวร์สังคม เราสร้างและบารุงรักษาเครือข่าย และ
ทาให้โปร่งใสมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การดาเนินงานที่ประสบ
ความสาเร็จ ต้องใช้วัฒนธรรม เทคโนโลยี และ เงื่อนไขของ
องค์กรที่ถูกต้อง
 3. นี่คือที่ปลายทางของ Web 2.0 และเป็นจุดเริ่มของ Enterprise
2.0 นับว่าเป็นเงื่อนไขที่เหมาะสม ที่ต้องสร้างขึ้นมาอย่างแข็งขัน
การเริ่มต้น
 กุญแจสาคัญในการประสบความสาเร็จ ของซอฟท์แวร์สังคมในการ
ดาเนินธุรกิจคือ ... การบูรณาการ (integration)
 ซอฟท์แวร์สังคมเพียงอย่างเดียว ก็เหมือน ... ผู้เล่นเพียงแค่หนึ่งคน
 การที่ประสบความสาเร็จ ต้องมีการประสานงานทั้งองค์กร ... ที่
เหมาะสมกับภูมิทัศน์ทางเทคโนโลยี ... และจิตวิญญาณใหม่ของทีม
 เพียงเท่านี้ ทุกอย่างก็จะเข้ากันด้วยดี
Enterprise 2.0 ประกอบด้วย
 องค์กร (Organization): บูรณาการในโครงสร้างและกระบวนการ
 เทคโนโลยี (Technology): บูรณาการของเครื่องมือและ
สถาปัตยกรรม
 วัฒนธรรม (Culture): องค์ประกอบด้านมนุษย์
Enterprise 2.0: ด้านองค์กร
 บริษัทของคุณ ทาอะไร?
 ทีมงานที่มีขนาดใหญ่ในต่างประเทศ อยู่ที่ใดบ้าง?
 ความคิดลูกค้าของคุณ จบลงที่ใด?
 การสื่อสารที่มีความน่าเชื่อถือ และการเจรจาที่มีความสาคัญ
เกิดขึ้นเมื่อใด?
 ใครเป็นผู้ทาอยู่?
 เราสามารถโยงเข้ากับการสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร?
Enterprise 2.0: ด้านเทคโนโลยี
 อะไรคือความรู้ที่เราต้องมีเพื่อความสาเร็จ? ซอฟท์แวร์สังคมมี
บทบาทอย่างไร?
 แต่ละเทคโนโลยี มีความได้เปรียบด้านในประยุกต์ใช้ ... การ
รวมกันของสิ่งเหล่านี้ จึงเป็นทางเลือกมากขึ้น ทาให้มีศักยภาพ
อย่างเต็มรูปแบบ ในการใช้ชีวิตประจาวัน
 การบูรณาการด้านเทคนิคที่ดี ... จะเชื่อมโยงข้อมูลจาก
แหล่งที่มาต่างๆ เข้าด้วยกัน และทาให้เข้าถึงได้
 นอกจากนี้ ยังช่วยปกป้ องระบบจากการโหลดข้อมูลมากเกินไป
โดยการกรองตามความต้องการ และตามลักษณะปัจเจกบุคคล
Enterprise 2.0: ด้านวัฒนธรรม
 เจ้านายที่ดีไม่จาเป็นต้องเป็นออนไลน์ตลอด ... แต่เขาต้องเป็น
ศูนย์กลางของการสื่อสาร
 การมีวัฒนธรรมที่ถูกต้องคือ เป้ าประสงค์ (goal) ไม่ได้เป็น
เงื่อนไขว่าจะต้องมีมาก่อน
 เริ่มจากเล็ก คิดให้ใหญ่
 เปิดกว้างเท่าที่เป็นไปได้
 มีกฎข้อบังคับในกรณีที่จาเป็น
การจัดการความรู้และ E 2.0
 ให้กาหนดขอบเขต Enterprise 2.0 ... และนามาใช้
 เพราะมีอีกหลายสิ่ง ที่จะต้องทา!
 ซอฟท์แวร์สังคมที่มีการแบบบูรณาการที่ดี ไปได้ดีกับบุคลากร ...
และเป็นโครงสร้างพื้นฐานความรู้ที่จาเป็นของบริษัท
อะไรคือความแตกต่างของ E2.0 และ KM
 KM กล่าวว่า อัตราส่วนความรู้ที่ชัดเจน/ความรู้ในตน
(explicit/tacit ratio) คือ 20/80 แต่ใช้เวลาส่วนใหญ่กับความรู้
ที่ชัดเจน เช่น Knowledge bases, Share drives, Video/Audio
Capture, Ontologies, email, etc.
 E2.0 โดยธรรมชาติคือความรู้ในตน (tacit) ประมาณ 80% เช่น
Blogging, IM, Micro-blogging, Chat, Activity streams ซึ่งสิ่ง
เหล่านี้ เห็นได้ชัดเจน และสามารถสืบค้นได้ โดยการติดแท็ก
(tagging)
อะไรคือความแตกต่างของ E2.0 และ KM (ต่อ)
 KM ใช้เวลามากในการดักจับความรู้อย่างเป็นทางการ เช่น
Knowledge bases, Taxonomies, Content Management
 E2.0 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเชื่อมต่อและการสนทนา การดักจับ
เป็นผลพลอยได้ตามธรรมชาติ เช่น Wiki, Emergence,
Adaptation, Folksonomies, Knowledge flow
KM และ E2.0 มีอะไรที่เหมือนกัน
 เกี่ยวกับการสื่อสาร (They’re about communication)
 ได้ประโยชน์จากการทางานร่วมกัน (They benefit from
collaboration)
 สามารถสืบค้นได้ (They depend upon findability)
 พยายามนาความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ (They seek to make
knowledge actionable)
 ล้มเหลวถ้าไม่เปลี่ยนวัฒนธรรม! (They fail without a dramatic
Cultural Change!)
อะไรที่ทาให้ E2.0 แตกต่างจาก KM
 E2.0 เป็นการมุ่งเน้นที่ลูกค้า
 KM มุ่งเน้นที่เนื้ อหา
 E2.0 อานวยความสะดวก ในการดักจับและการแบ่งปันความรู้
ในขณะที่เกิดขึ้นจริง
 KM เป็นการศึกษาย้อนหลัง
 E2.0 เป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมต่อเนื่อง และรวบรวมข่าวสาร
 KM เป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดเก็บ "ความรู้"
มีอะไรที่เปลี่ยนไป (หรือไม่เปลี่ยน)
 ตัววัดที่แท้จริงของความสามารถในการ "จัดการ" ความรู้ ขึ้นอยู่
กับการเชื่อมต่อของคนกับคน มากกว่าในการเชื่อมต่อคนกับ
เอกสาร
 The true measure of our ability to “manage” knowledge is more
in our connection to people, than in our connection to
documents.
Adapted from: Joe Firestone’s Blog on Knowledge and Knowledge Management
http://kmci.org/alllifeisproblemsolving/archives/km-20-and-knowledge-management
หลักการพื้นฐานของการจัดการความรู้ (Fundamental of KM)
 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสนับสนุนสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่
กระตุ้นให้เกิดการแบ่งปันของความรู้อย่างไม่เป็นทางการ ผ่าน
การพัฒนากระบวนการ ที่ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้ที่เป็น
ทางการ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น (. . . are actually
about supporting social environments that stimulate informal
sharing of knowledge through developing processes that
encourage more formal knowledge creation and exchange.)
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ (IT & KM)
 เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เป็นเรื่องของการสนับสนุน การ
จัดการความรู้ (KM) ตัวมันเองไม่ใช่ KM เพราะกิจกรรมการ
จัดการประมวลผลความรู้ หรือปรากฏการณ์ขององค์กรใด ๆ
ไม่ได้เป็นอัตโนมัติทั้งหมด
 เราควรพูดคุยเกี่ยวกับบทบาทของ IT ในการช่วยเหลือ KM หรือ
กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นกระบวนการประมวลผล
ความรู้ (knowledge processing)
 ดังนั้น KM จึงไม่ใช่ IT
เริ่มต้นของการจัดการความรู้ 2.0 (Early KM 2.0)
 จากการเปิดตัว "Web 2.0" เพื่ออธิบายการรวบรวมการใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เรียกว่า ซอฟต์แวร์สังคม (social
software)
 โปรแกรมเหล่านี้ รวมถึง blogs, wikis, social network analysis,
social networking applications, collaborative content tagging,
folksonomies, community support/collaboration software, และ
project collaboration software
องค์กร 2.0 (Enterprise 2.0)
 หลังจากการแนะนาของ Web 2.0 มีบางคนจึงมีการพูดคุย
เกี่ยวกับ "องค์กร 2.0" (Enterprise 2.0) ที่ดาเนินการบน
"แพลตฟอร์มซอฟต์แวร์สังคม" (social software platforms)
 โดยทั่วไป เว็บ 2.0 มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเชื่อมต่อทาง
สังคม ความร่วมมือ และสนับสนุนการตัดสินใจ
 เมื่อมี "องค์กร 2.0" เริ่มมีผู้คนถามว่า ทาไมไม่มี KM 2.0 บ้าง
 KM 2.0 จึงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 2005 และค่อยๆแพร่กระจาย
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
E2.0 ไม่ใช่ KM
 E2.0 ("ซอฟต์แวร์สังคม") แตกต่างจาก KM เนื่องจาก:
 ซอฟต์แวร์สังคมไม่ใช่ภูมิปัญญา (social software does not equal
wisdom) ดังนั้น E2.0 จึงไม่ใช่การจัดการความรู้
 มันเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และมันดูเหมือนจะมีอานาจ
ในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขององค์กร
 ในขณะที่ KM มักพยายามปรับปรุงสิ่งที่องค์กรมีอยู่
เครื่องมือสื่อสังคม (Social Media Tools)
 มีคนกล่าวว่า KM 2.0 เป็นการนาเครื่องมือสื่อสังคมเพื่อปรับปรุง
การเชื่อมต่อ สร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ ที่มีผลในการ
สื่อสารและในการถ่ายทอดความรู้ที่ดีขึ้น
 นี้ เป็นทฤษฎีที่เรียบง่าย
 แต่มันก็เป็นหัวใจสาคัญของเรื่องนี้ ที่เครื่องมือทางสังคมจะช่วย
ให้การแบ่งปันความรู้ ให้ประสบความสาเร็จมากกว่าก่อนหน้านี้
การอภิปรายเกี่ยวกับ KM 2.0
 KM 2.0 ใช้ เว็บ/องค์กร 2.0 (Web/Enterprise 2.0) เป็น
เครื่องมือช่วยให้มีการเชื่อมต่อมากขึ้น
 ก่อนที่จะนา เว็บ/องค์กร 2.0 เป็นเครื่องมือ KM เป็นวิธีการที่
มุ่งเน้น การออกคาสั่งและการควบคุม (command-and-control)
 แต่ KM 2.0 มีการวางแนวทางใหม่ทั้งหมด มุ่งเน้นไปที่ การ
จัดการด้วยตนเองและชุมชน (self-organization and community)
การอภิปรายเกี่ยวกับ KM 2.0 (ต่อ)
 KM 2.0 นาเครื่องมือสื่อสังคม มาใช้ในการสร้างระบบนิเวศที่
ช่วยเพิ่มการเชื่อมต่อ ในการสร้างความสัมพันธ์ และความ
ไว้วางใจ ที่มีผลในการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ที่ดีขึ้น
 KM 2.0 คือการใช้เครื่องมือสื่อสังคมในองค์กรใช่หรือไม่? KM
2.0 เทียบเท่ากับ องค์กร 2.0 หรือไม่? หรือ KM 2.0 คือ
กิจกรรมทางสังคมในวงกว้างมากขึ้น โดยการใช้เครื่องมือใหม่?
 ในเดือนกันยายนของปี ค.ศ. 2007 Jennifer Okimoto ของ IBM
นาเสนอเรื่อง "แนวโน้มอุตสาหกรรม: วิวัฒนาการของการจัดการ
ความรู้ (KM 1.0 เทียบกับ KM 2.0) Industry Trends: the
evolution of knowledge management (KM 1.0 vs. KM 2.0) "
 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างสมดุล ในหมู่คน กระบวนการ และ
เทคโนโลยี
 เป็นวิธีการที่จะทาให้ KM 1.0 แบบดั้งเดิม และ KM 2.0 อยู่
ร่วมกันได้ เพราะ "แหล่งที่มาและวิธีการใหม่ ๆ ที่มีการแบ่งปัน
ความรู้ โดยของเก่าไม่ได้หายไปไหน "
KM ได้พัฒนาเป็น KM 2.0?
 ไม่ใช่
 KM ยังคงเกี่ยวกับบุคคลและการแบ่งปันความรู้
 เป็นการสร้างความมั่นใจ เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน ให้
ทาให้ออกมาได้ดีที่สุด
 ไม่เคยเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ดี เพราะ KM สามารถอยู่ได้ โดยไม่
ต้องใช้เทคโนโลยี!
การทางานร่วมกันและ KM 2.0
 การทางานร่วมกัน (Collaboration) หมายถึง คนที่ทางานร่วมกัน
เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้ าประสงค์เดียวกัน
 การเสริมสร้างกระบวนการทางานร่วมกัน มุ่งเน้นไปที่การวาง
ตาแหน่งและคน ที่อาจต้องมีการทางานร่วมกัน
 นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการให้ "พื้นที่" (spaces) ที่ช่วยการทางาน
ร่วมกันในการให้บริการ หรือวิธีการในการสร้างกระบวนการ
ทางานร่วมกัน หรือการติดตามกระบวนการทางานร่วมกัน
การจัดการความรู้ไม่ใช่เครื่องมือด้านซอฟท์แวร์
 เป็นความเข้าใจได้สาหรับเครื่องมือซอฟท์แวร์ ที่จะย้ายจากรุ่น
1.0 เป็น 2.0, 3.0 และต่อ ๆ ไป
 แต่ KM ไม่ได้เป็นเครื่องมือซอฟท์แวร์ มันเป็นวินัยการจัดการ
 ไม่มีใครอ้างว่ามี จิตวิทยา 2.0 เมื่อมีการทดสอบหรือเครื่องมือ
วิเคราะห์ใหม่ ไม่มีใครอ้างว่ามี รัฐศาสตร์ 2.0 เมื่อเทคโนโลยี
ทานายเลือกตั้งใหม่ถูกคิดค้นและนาไปใช้
 เหตุผลใดจึงอ้าง KM 2.0 เมื่อมีซอฟท์แวร์ใหม่ใช้งาน ทั้ง ๆ ที่
ไม่ได้ใช้ในการประมวลผลความรู้?
เครื่องมือ 2.0 (2.0 Tools)
 ความสัมพันธ์ที่เรียบง่ายของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การ
ทางานร่วมกัน และการผลิตเนื้ อหา ที่ผลิตโดยเครื่องมือ 2.0
ไม่ได้รับประกัน การประมวลผลความรู้ที่ได้
 ดังนั้น แม้ว่าเครื่องมือ 2.0 สามารถรับประกันความสาเร็จในการ
เสริมสร้างการทางานร่วมกัน ในการผลิตเนื้ อหา แบ่งปันข้อมูล
และเครือข่ายสังคม
 แต่ไม่ได้มีปรับปรุงการประมวลผลความรู้ และคุณภาพของ
ความรู้ ที่เกิดจากการใช้เครื่องมือ 2.0
สรุปโดยผู้ประพันธ์
 การเปลี่ยนแปลงเป็น KM 2.0 ยังไม่เกิดขึ้นในขณะนี้ ที่เป็นผลมา
จากการใช้ซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ เป็นตัวช่วย แต่จะต้องเป็นการ
เปลี่ยนแปลงแนวความคิดพื้นฐาน ในขอบเขตการจัดการความรู้
ที่มีมากกว่าการแบ่งปันความรู้ การดักจับความรู้ และนาความรู้
กลับมาใช้ และจะต้องเกี่ยวกับการเรียนรู้ในระบบที่ซับซ้อนด้วย
 การเปลี่ยนแปลงการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่ การเรียนรู้ของ
องค์กรและการจัดการนวัตกรรม จึงจะเป็น การจัดการความรู้
2.0 (KM 2.0) ของจริง
Adapted from KM & KM3.0
By
Yağmur BÜYÜKEMRE
Can ÇAKIR
Mehmet SUBAŞI
 การจัดการความรู้ (KM) เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรู้ในตน
(tacit knowledge) เป็นความรู้อย่างชัดเจน (explicit knowledge)
 Knowledge Management (KM) is essentially about transforming
tacit knowledge to explicit knowledge.
เหตุใดจึงต้องจัดการความรู้ (Why Knowledge Management)
1.เพื่อให้ความรู้ที่มีอยู่ แพร่หลายภายในองค์กร (องค์กรจะได้ไม่
ต้องมีการค้นพบสิ่งเดียวกันซ้าแล้วซ้าอีก)
2.นวัตกรรม สร้างความรู้ใหม่ที่มีคุณค่า
3.การปรับตัว มีความคล่องตัว ผลทางการตลาดที่ดีขึ้นจาก
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
ปัญหาและอุปสรรคของ KM
 วัฒนธรรมองค์กรที่เน้นการผลิต ทางานแบบวันต่อวัน มากกว่า
การสร้างความรู้และนวัตกรรม
 ข้อมูลที่นาเสนอน่าเบื่อ (พนักงานไม่เข้าใจประโยชน์ที่ได้รับ)
 ขาดความไว้วางใจ กลัวการขโมยความคิด ไม่เต็มใจที่จะ
แบ่งปันความรู้
 ความเป็นมนุษย์ จึงอายและกลัวที่จะทาผิดพลาด
 ระบบราชการมาก และใช้เวลานานเกินไป ที่จะแบ่งปันความรู้
อะไรคือ KM3.0 (What is Knowledge Management 3.0?)
 การรวบรวมและการแบ่งปันความรู้กับคนอื่น ๆ ยังคงเป็นสิ่ง
สาคัญ แต่สิ่งที่คุณแบ่งปันกับทีมงานของคุณ ไม่จาเป็น
เช่นเดียวกับที่แบ่งปันในแผนก หรือในองค์กรของคุณ และ
 ไม่จาเป็นต้องเก็บรวบรวมความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ร่วมกัน
 ไม่จาเป็นต้องแบ่งปันความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ประโยชน์
 การจัดเก็บความรู้ทุก ๆ อย่าง นาไปสู่ข้อมูลส่วนเกิน และทาให้
ยากที่จะต่อการค้นหาและพบสิ่งที่ต้องการ และเป็นการลดคุณค่า
โดยรวมของความรู้ที่ดักจับได้
อะไรคือ KM3.0 (ต่อ)
 หาก 30% ของฐานข้อมูลความรู้ของคุณ มีเพียง 2% ของ
บุคลากรที่ประโยชน์เป็น ส่วนคนอื่น ๆ อีก 98% จะต้องใช้
วิธีการกรองผ่านข้อมูลจานวนมาก ที่ไม่เกี่ยวข้องและที่ไม่จาเป็น
จึงจะสามารถใช้ประโยชน์ได้ ใช่หรือไม่?
 ดังนั้น บทบาทหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศของใน KM 3.0 คือ
อนุกรมวิธาน (TAXONOMY) : เครื่องมือในการกรองข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง
Evolution and Development of Knowledge
Management:
KM 1.0 KM 2.0 KM 3.0
techno-centric people-centric productivity-centric
command and control
“KM is extra work”
Social
“KM is part of my work”
Practical & Individual
“KM is helping me do my work”
KM 1: Collecting KM 2: Sharing KM 3: Using
KM 2.0 focused on sharing
knowledge using web-
enabled and social media
tools.
KM 1.0 focused on
collecting knowledge
"before it walked out the
door".
KM 3.0 focus on using
existing knowledge to help
people get their job done.
Ikujiro Nonaka
Don’t Worry, Be Happy !

More Related Content

What's hot

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledgePattie Pattie
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้Utai Sukviwatsirikul
 
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทอง
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทองสมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทอง
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทองAssociation of Thai Information Science Education
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Kanyarat Okong
 
Managing your mission critical knowledge
Managing your mission  critical knowledgeManaging your mission  critical knowledge
Managing your mission critical knowledgemaruay songtanin
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีChiang Mai University
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 

What's hot (15)

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Km 4.0 beyond knowledge
Km 4.0  beyond knowledgeKm 4.0  beyond knowledge
Km 4.0 beyond knowledge
 
Km beyond40
Km beyond40Km beyond40
Km beyond40
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทอง
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทองสมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทอง
สมรรถนะนักวิชาชีพในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ โดย นายราม ป้อมทอง
 
523
523523
523
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Managing your mission critical knowledge
Managing your mission  critical knowledgeManaging your mission  critical knowledge
Managing your mission critical knowledge
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
Knowledge Understanding
Knowledge UnderstandingKnowledge Understanding
Knowledge Understanding
 

Viewers also liked

Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าmaruay songtanin
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์maruay songtanin
 
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่maruay songtanin
 
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันNew rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันmaruay songtanin
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?maruay songtanin
 
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองThe softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองmaruay songtanin
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015maruay songtanin
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายmaruay songtanin
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAmaruay songtanin
 
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้maruay songtanin
 
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมCumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมmaruay songtanin
 
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนFrontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนmaruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายmaruay songtanin
 
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบmaruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพmaruay songtanin
 
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1maruay songtanin
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์maruay songtanin
 
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
 
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
 
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันNew rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
 
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองThe softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
 
Scoring system
Scoring systemScoring system
Scoring system
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลาย
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
 
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
 
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสมCumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม
 
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดนFrontier economies เศรษฐกิจชายแดน
Frontier economies เศรษฐกิจชายแดน
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
 
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1
Internet of things part i อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 1
 
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
Effective interviewing steps ขั้นตอนการสัมภาษณ์
 
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
 

Similar to Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0

สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest031209
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารpataravadee1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...Naruepon Seenoilkhaw
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02wutichai
 

Similar to Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0 (20)

Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ICT Literacy
ICT LiteracyICT Literacy
ICT Literacy
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
Present n
Present nPresent n
Present n
 
Present n
Present nPresent n
Present n
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 17 ธันวาคม 2558
  • 2. ว่าด้วยการจัดการความรู้ (About Knowledge Management: KM)  Part I: Knowledge Management (KM)  Part II: Enterprise 2.0 & KM  Part III: Knowledge Management 2.0 (KM 2.0)
  • 4. การจัดการความรู้ (KM)  การจัดการความรู้ (KM) เป็นกระบวนการของการดักจับ การ พัฒนา การแบ่งปัน และการใช้ความรู้ขององค์กรอย่างมี ประสิทธิผล (the process of capturing, developing, sharing, and effectively using organizational knowledge)  และหมายถึง แนวทางสหสาขาวิชา (multi-disciplinary approach) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยใช้ ประโยชน์จากความรู้ให้มากที่สุด
  • 5. การจัดการความรู้ในองค์กร (Internal KM Efforts)  บริษัทขนาดใหญ่ต่าง ๆ สถาบันภาครัฐ และองค์กรที่ไม่แสวงหา ผลกาไร ทุ่มเททรัพยากรให้กับการจัดการความรู้ภายในองค์กร โดยถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ทางธุรกิจ เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของพวกเขา  มีบริษัทที่ปรึกษาหลายแห่ง แนะนาเกี่ยวกับกลยุทธ์และการ จัดการความรู้ ให้กับองค์กรเหล่านั้น
  • 6. การเรียนรู้ขององค์กร (Organizational Learning)  การจัดการความรู้ (KM) มักมุ่งเน้นไปที่วัตถุประสงค์ขององค์กร เช่น การพัฒนาผลการดาเนินงาน ความได้เปรียบในการแข่งขัน การสร้างนวัตกรรม การแบ่งปันบทเรียน การบูรณาการ และการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องขององค์กร  การจัดการความรู้ อาจทับซ้อนกับ การเรียนรู้ขององค์กร (organizational learning) แต่แตกต่างกันที่ การจัดการความรู้ เป็นสินทรัพย์เชิงกลยุทธ์ และเน้นการแบ่งปันความรู้  การจัดการความรู้ เป็นตัวผลักดันให้เกิด การเรียนรู้ขององค์กร
  • 7. แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (KM Ideas)  การจัดการความรู้ ได้ถูกนามาอภิปราย โดยนักวิชาการเช่น Ikujiro Nonaka (Hitotsubashi University) Hirotaka Takeuchi (Hitotsubashi University), Thomas H. Davenport (Babson College) และ Baruch Lev (New York University)  ในปี ค.ศ. 2001 Thomas A. Stewart อดีตบรรณาธิการนิตยสาร Fortune และต่อมาเป็นบรรณาธิการของ Harvard Business Review ได้พิมพ์บทความ ที่เน้นความสาคัญของ ทุนทางปัญญา ขององค์กร (intellectual capital)
  • 8. 3 มุมมองการจัดการความรู้ (KM Perspectives)  เทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Techno-centric) ให้ความสาคัญกับ เทคโนโลยี ที่ช่วยเพิ่มการแบ่งปัน และการสร้างความรู้  องค์กร (Organizational) ให้ความสาคัญกับวิธีการออกแบบ องค์กร เพื่ออานวยความสะดวกกระบวนการทางความรู้  ระบบนิเวศ (Ecological) ให้ความสาคัญในการทางานร่วมกัน ของผู้คน ความเป็นตัวตน ความรู้ และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (เป็นระบบการปรับตัวที่ซับซ้อน คล้ายกับระบบนิเวศธรรมชาติ)
  • 9. แบบต่าง ๆ ของการจัดการความรู้ (KM Lenses)  Community of Practice  Social Network Analysis  Intellectual Capital (Bontis & Choo 2002)  Information Theory (McInerney 2002)  Complexity Science  Constructivism (Nanjappa & Grant 2003)
  • 10. มิติของการจัดการความรู้ (KM Dimensions)  มีกรอบหนึ่ง เสนอให้จัดหมวดหมู่ของความรู้เป็น ความรู้ในตน (tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)  ความรู้ในตน (tacit knowledge) แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่บุคคลมี แต่อาจจะไม่ตระหนักถึง เช่น วิธีการเฉพาะที่ทาให้เขาหรือเธอ ทางานสาเร็จ  ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge) เป็นความรู้ที่เห็นได้ชัดเจน แสดงให้เห็นถึงความรู้ที่แต่ละคนมี ในรูปแบบที่สามารถสื่อสาร กับคนอื่น ๆ ได้
  • 12.
  • 13. รูปแบบของ SECI (SECI Model)  Ikujiro Nonaka เสนอรูปแบบ SECI คือ Socialization, Externalization, Combination, Internalization ที่พิจารณาจาก ปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการ ความรู้ในตน (tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge)  ในรูปแบบนี้ ความรู้ในตน (tacit knowledge) จะถูก สกัด (extracted) กลายเป็น ความรู้ที่ชัดเจน (explicit knowledge) และจะ ถูกฝัง (re-internalized) ให้กลายเป็น ความรู้ในตน (tacit knowledge) ของผู้อื่นต่อไปอีกเรื่อย ๆ ตามวงจรรูปก้นหอย
  • 14. กลยุทธ์การจัดการความรู้  กลยุทธ์หนึ่งของการจัดการความรู้คือ กลยุทธ์แบบการผลักดัน (push strategy) เรียกว่า แนวทางการประมวลผลความรู้ (Codification Approach to KM)  ในกรณีดังกล่าว บุคคลจะสร้างความรู้ของพวกเขา แล้วเก็บ ความรู้ไว้ในที่ที่ใช้ร่วมกัน เช่นในฐานข้อมูล  ทานองเดียวกันก็จะมีความรู้ที่พวกเขาต้องการ จัดเก็บไว้ในพื้นที่ เก็บข้อมูล ที่บุคคลอื่น ๆ ได้สร้างไว้
  • 15. กลยุทธ์การจัดการความรู้ (ต่อ)  กลยุทธ์ในการจัดการความรู้อีกแบบหนึ่ง คือ กลยุทธ์แบบดึง (pull strategy) เรียกว่า แนวทางการจัดการความรู้ส่วนบุคคล (Personalization Approach to KM)  ซึ่งบุคคลที่เกี่ยวข้อง ร้องขอความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง  ในกรณีดังกล่าว ผู้เชี่ยวชาญสามารถให้ข้อมูลเชิงลึกของพวกเขา กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือผู้ที่ต้องการในเรื่องนั้น ๆ
  • 16. กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (Other Knowledge Management Strategies)  แบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) วัฒนธรรมที่เอื้อให้เกิดการ แบ่งปันข้อมูล อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดว่า ความรู้นั้น ควรมีการ ให้กลับคืน แบ่งปันกัน และช่วยกันปรับปรุง)  การเล่าเรื่อง (Storytelling) เป็นการถ่ายทอดความรู้ในตน  การเรียนรู้ข้ามโครงการ (Cross-project Learning)  การเรียนรู้หลังจากการดาเนินการ (After Action Reviews: AAR)  การทาแผนที่ความรู้ (Knowledge Mapping) เป็นแผนที่การเก็บ ความรู้ภายในบริษัท ที่บุคลากรทั้งหมดสามารถเข้าถึงได้
  • 17. กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)  ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice: CoP)  รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ (Expert Directories) เพื่อช่วยผู้ที่ต้องการ ความรู้ เข้าถึงผู้เชี่ยวชาญ  ระบบที่เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ผู้ที่ต้องการความรู้ ต้อง สนองต่อคาถามที่เฉพาะเจาะจงก่อน จึงจะเข้าถึงความรู้ในพื้นที่ เก็บข้อมูล  การถ่ายโอนการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice Transfer)  งานแสดงความรู้ (Knowledge Fairs)
  • 18. กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)  การจัดการความสามารถ (Competence Management) การ ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และการวางแผนความสามารถของ สมาชิกในองค์กรแต่ละบุคคล  ความใกล้ชิดกันและสถาปัตยกรรม (Proximity & Architecture) สถานการณ์ทางกายภาพของบุคลากร เป็นได้ทั้งเอื้อหรือปิดกั้น การ แบ่งปันความรู้  ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เชี่ยวชาญกับผู้ฝึกงาน (Master-apprentice Relationship)  เทคโนโลยีด้านความร่วมมือ (Collaborative Technologies) เช่น groupware และอื่น ๆ  แหล่งเก็บความรู้ (Knowledge Repositories) เช่น ฐานข้อมูล bookmarking engines ฯลฯ
  • 19. กลยุทธ์การจัดการความรู้แบบอื่น ๆ (ต่อ)  การวัดและการรายงานทุนทางปัญญา (Measuring and Reporting Intellectual Capital) เป็นวิธีการสร้างความรู้ที่ชัดเจน  ตัวแทนเรื่องความรู้ (Knowledge Brokers) สมาชิกบางคนรับผิดชอบ เรื่องที่เฉพาะเจาะจง และทาหน้าที่เป็นแหล่งอ้างอิงลาดับแรก ที่จะ พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่เฉพาะเจาะจงนั้น  ซอฟแวร์ทางสังคม (Social Software) wikis, social bookmarking, blogs ฯลฯ  การถ่ายทอดความรู้ระหว่างโครงการ (Inter-project Knowledge Transfer)
  • 20. การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)  การแบ่งปันความรู้ ยังคงเป็นประเด็นที่ท้าทายสาหรับการจัดการ ความรู้  อุปสรรคอาจรวมถึงปัญหาเรื่องเวลา สาหรับการทางานความรู้ ระดับของความไว้วางใจ ขาดการสนับสนุนของเทคโนโลยีที่มี ประสิทธิผล และวัฒนธรรม
  • 21. แนวโน้มของการจัดการความรู้ (KM Trends)  หนึ่งในแนวโน้มที่สาคัญที่สุด ในเทคโนโลยีการจัดการความรู้ คือ การนามาตรฐานอินเทอร์เน็ตมาใช้  การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของอินเทอร์เน็ต ผลักดันให้ผู้ขาย ส่วนใหญ่ละทิ้งรูปแบบที่เป็นกรรมสิทธิ์ และใช้ในรูปแบบ อินเทอร์เน็ตเช่น HTML, HTTP, และ XML แทนที่  นอกจากนี้ ระบบเปิดและเครื่องมือฟรีสาหรับการสร้างบล็อก และวิกิในขณะนี้ ช่วยให้การใช้ในเชิงพาณิชย์มีค่าใช้จ่ายน้อย หรือไม่มีเลย
  • 22. Adapted from: Enterprise 2.0 Knowledge Management A Revolution of Knowledge in Three Parts. http://www.t-systems-mms.com/mms/en
  • 23. การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่สนใจอะไร ขอเพียง 1. เขียนความรู้ของคุณลงในฐานข้อมูล 2. มีรายละเอียดที่เพียงพอ 3. อาจจะมีใครบางคนใช้ความรู้ของคุณสักวัน หรืออาจจะไม่มี ... 4. ไม่ควรใช้เวลามากเกินไป เกี่ยวกับเรื่องนี้ !
  • 24. การแบ่งปันความรู้ เราทุกคนชอบที่จะแบ่งปันความรู้ ... แต่  ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่ต้องการความรู้ของฉัน  ฉันไม่ทราบว่ามีใครสักกี่คน ที่จะใช้ความรู้ของฉัน  ฉันอยากจะแบ่งปัน สิ่งที่สาคัญจริงๆ
  • 25. ผู้สร้างเนื้ อหา  กว่า 80% ของผู้ใช้เว็บเพื่อสร้างเนื้ อหา กล่าวว่า ที่พวกเขาทา เพราะว่าพวกเขาชอบที่จะสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับคน อื่น ๆ  ข้อเสนอแนะในเชิงบวกจากผู้อื่น เป็นสิ่งสาคัญ  และช่วยส่งเสริมสถานะของเขา ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ
  • 26. ไม่ต้องแปลกใจ  ถ้าไม่มี ผู้ชม (audience) เราก็จะไม่เกิดแรงบันดาลใจ ... และเรา ไม่ทราบว่า จะมีผู้ใช้ความรู้ของเราหรือไม่  เรารู้ในสิ่งที่เรารู้ เมื่อเราต้องการที่จะเรียนรู้  เรามักจะรู้ มากกว่าสิ่งที่เราสามารถบอก และเรามักจะบอก ได้ มากกว่าสิ่งที่เราเขียน
  • 27. การจัดการความรู้แบบเก่า ไม่ได้ผลเพราะ  ... กาหนดความรู้เหมือนเป็นสินค้า ที่ถ่ายโอนมาจากศูนย์กลาง  ... เรียกร้องการแบ่งปันความรู้ โดยไม่มีผู้ชม  ... ต้องการเพียงที่จะจัดการความรู้
  • 28. ซอฟท์แวร์สังคม (Social Software) ... จะทาให้การจัดการความรู้ ประสบความสาเร็จ!  ผิด!  ซอฟท์แวร์สังคม (ขออภัย) เป็นเพียงเครื่องมือ ...  แน่นอนว่า เป็นสิ่งที่ทาให้การใช้งานง่ายมากขึ้นและดูดีกว่า -แต่ ไม่ได้รับประกันผู้ชมแต่อย่างใด
  • 29. กฎ 90-9-1  1% ของผู้ใช้เว็บ เป็นผู้สร้างเนื้ อหา  9% ของผู้ใช้เว็บ แสดงความคิดเห็นและเติมข้อมูลให้  90% ของผู้ใช้เว็บ เป็นเพียงผู้ใช้ข้อมูล  จานวนเท่าใดในบุคลากรในองค์กรของคุณ เป็น 1%?  ผู้เชี่ยวชาญที่สาคัญและวุ่นวายที่สุดในองค์กรของคุณ มีจานวน เท่าใด ที่เป็นส่วนหนึ่งของหนึ่งเปอร์เซ็นต์?
  • 30. การจัดการความรู้ และ Enterprise 2.0  "การจัดการความรู้ และสื่อสังคม มีลักษณะคล้ายกันมากหาก มองแค่พื้นผิว แต่ที่เป็นจริงแล้ว แตกต่างกันอย่างมากในหลาย ระดับ ทั้งทางวัฒนธรรม ทางเทคนิค รวมถึงสงครามทาง วัฒนธรรมที่ไม่ได้ประกาศ ที่เป็นจิตวิญญาณของ Enterprise2.0"
  • 31. แนวคิดใหม่ 1. แบ่งปันความรู้ร่วมกันอยู่เสมอ โดยสมัครใจ ไม่มีใครบังคับ 2. เราแบ่งปันความรู้ เมื่อเรามีผู้ชมที่ถูกต้อง (ที่ช่วยกระตุ้นเรา และมีการสร้างบริบทที่เหมาะสม) 3. ซอฟท์แวร์เพื่อสังคมเพียงอย่างเดียว ไม่ได้เป็นวิธีการแก้ปัญหา เก่า ๆ ของการจัดการความรู้
  • 32. นี่เป็นการจัดการความรู้ใหม่ใช่หรือไม่  ไม่ใช่ ไม่ได้เป็นการจัดการความรู้ใหม่  เพราะไม่ได้เกี่ยวกับการจัดเก็บความรู้ ... แต่เกี่ยวกับ ความรู้ที่ ทันเวลา (Just In Time)  เกิดขึ้นในเครือข่ายอย่างเป็นทางการ ... และเกิดมากยิ่งขึ้นกับ เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
  • 33. ซอฟท์แวร์สังคม (Social Software)  บุคลากรเก็บรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของความต้องการ ลงในวิกิพีเดีย ... รายงานสถานะและรายละเอียดในบล็อก ... สื่อสารภายในทีมผ่านทาง Microblog ... สร้างและหารือเกี่ยวกับ เนื้ อหาในวิกิพีเดีย... และทาให้เป็นปัจจุบันผ่านทาง RSS  อย่าลืมว่า คาพูดเดินทางได้อย่างรวดเร็ว  ซอฟท์แวร์สังคมมีการขยายตัว ... พบโดเมนใหม่ ... และ เรียกร้องให้มีวัฒนธรรมใหม่ที่มีการเปิดกว้าง
  • 34. เหตุใดจึงได้ผล  เพราะธุรกิจประจาวันสร้างบริบทและผู้ชมโดยอัตโนมัติ ... ด้วย เหตุผลนี้ เราจึงมีแรงจูงใจที่จะแบ่งปันความรู้  การแบ่งปันความรู้ เป็นผลข้างเคียงจากการทางานของเรา!  ในขณะที่เราทางาน เราทาเครื่องหมายในระบบซอฟท์แวร์ ... และซอฟท์แวร์สังคม ทาให้เครื่องหมายนั้นโปร่งใส  ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงเนื้ อหา  ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงเนื้ อหากับผู้คน  ซอฟท์แวร์สังคม เชื่อมโยงผู้คน
  • 35. การปฏิบัติงานประจาวัน  เมื่อใช้ซอฟท์แวร์สังคม เป็นที่เข้าใจกันว่า คือแพลตฟอร์มแบบ ครบวงจรในธุรกิจประจาวัน ... มีมุมมองตามลาดับชั้น... มีความ โปร่งใส ... จากผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อนั้น ๆ และ ... จากเครือข่าย (ที่ไม่เป็นทางการ)  ดังนั้น คนที่เหมาะสมได้มาพบปะกัน... ความคิดใหม่ ๆ จึงได้รับ การพัฒนาร่วมกัน
  • 36. Enterprise 2.0  1. ไม่เกี่ยวกับการอ่านเอกสารที่ดีที่สุด แต่เกิดจากการติดต่อผู้ที่ ถูกต้อง  2. ด้วยซอฟท์แวร์สังคม เราสร้างและบารุงรักษาเครือข่าย และ ทาให้โปร่งใสมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การดาเนินงานที่ประสบ ความสาเร็จ ต้องใช้วัฒนธรรม เทคโนโลยี และ เงื่อนไขของ องค์กรที่ถูกต้อง  3. นี่คือที่ปลายทางของ Web 2.0 และเป็นจุดเริ่มของ Enterprise 2.0 นับว่าเป็นเงื่อนไขที่เหมาะสม ที่ต้องสร้างขึ้นมาอย่างแข็งขัน
  • 37. การเริ่มต้น  กุญแจสาคัญในการประสบความสาเร็จ ของซอฟท์แวร์สังคมในการ ดาเนินธุรกิจคือ ... การบูรณาการ (integration)  ซอฟท์แวร์สังคมเพียงอย่างเดียว ก็เหมือน ... ผู้เล่นเพียงแค่หนึ่งคน  การที่ประสบความสาเร็จ ต้องมีการประสานงานทั้งองค์กร ... ที่ เหมาะสมกับภูมิทัศน์ทางเทคโนโลยี ... และจิตวิญญาณใหม่ของทีม  เพียงเท่านี้ ทุกอย่างก็จะเข้ากันด้วยดี
  • 38. Enterprise 2.0 ประกอบด้วย  องค์กร (Organization): บูรณาการในโครงสร้างและกระบวนการ  เทคโนโลยี (Technology): บูรณาการของเครื่องมือและ สถาปัตยกรรม  วัฒนธรรม (Culture): องค์ประกอบด้านมนุษย์
  • 39. Enterprise 2.0: ด้านองค์กร  บริษัทของคุณ ทาอะไร?  ทีมงานที่มีขนาดใหญ่ในต่างประเทศ อยู่ที่ใดบ้าง?  ความคิดลูกค้าของคุณ จบลงที่ใด?  การสื่อสารที่มีความน่าเชื่อถือ และการเจรจาที่มีความสาคัญ เกิดขึ้นเมื่อใด?  ใครเป็นผู้ทาอยู่?  เราสามารถโยงเข้ากับการสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร?
  • 40. Enterprise 2.0: ด้านเทคโนโลยี  อะไรคือความรู้ที่เราต้องมีเพื่อความสาเร็จ? ซอฟท์แวร์สังคมมี บทบาทอย่างไร?  แต่ละเทคโนโลยี มีความได้เปรียบด้านในประยุกต์ใช้ ... การ รวมกันของสิ่งเหล่านี้ จึงเป็นทางเลือกมากขึ้น ทาให้มีศักยภาพ อย่างเต็มรูปแบบ ในการใช้ชีวิตประจาวัน  การบูรณาการด้านเทคนิคที่ดี ... จะเชื่อมโยงข้อมูลจาก แหล่งที่มาต่างๆ เข้าด้วยกัน และทาให้เข้าถึงได้  นอกจากนี้ ยังช่วยปกป้ องระบบจากการโหลดข้อมูลมากเกินไป โดยการกรองตามความต้องการ และตามลักษณะปัจเจกบุคคล
  • 41. Enterprise 2.0: ด้านวัฒนธรรม  เจ้านายที่ดีไม่จาเป็นต้องเป็นออนไลน์ตลอด ... แต่เขาต้องเป็น ศูนย์กลางของการสื่อสาร  การมีวัฒนธรรมที่ถูกต้องคือ เป้ าประสงค์ (goal) ไม่ได้เป็น เงื่อนไขว่าจะต้องมีมาก่อน  เริ่มจากเล็ก คิดให้ใหญ่  เปิดกว้างเท่าที่เป็นไปได้  มีกฎข้อบังคับในกรณีที่จาเป็น
  • 42.
  • 43. การจัดการความรู้และ E 2.0  ให้กาหนดขอบเขต Enterprise 2.0 ... และนามาใช้  เพราะมีอีกหลายสิ่ง ที่จะต้องทา!  ซอฟท์แวร์สังคมที่มีการแบบบูรณาการที่ดี ไปได้ดีกับบุคลากร ... และเป็นโครงสร้างพื้นฐานความรู้ที่จาเป็นของบริษัท
  • 44. อะไรคือความแตกต่างของ E2.0 และ KM  KM กล่าวว่า อัตราส่วนความรู้ที่ชัดเจน/ความรู้ในตน (explicit/tacit ratio) คือ 20/80 แต่ใช้เวลาส่วนใหญ่กับความรู้ ที่ชัดเจน เช่น Knowledge bases, Share drives, Video/Audio Capture, Ontologies, email, etc.  E2.0 โดยธรรมชาติคือความรู้ในตน (tacit) ประมาณ 80% เช่น Blogging, IM, Micro-blogging, Chat, Activity streams ซึ่งสิ่ง เหล่านี้ เห็นได้ชัดเจน และสามารถสืบค้นได้ โดยการติดแท็ก (tagging)
  • 45. อะไรคือความแตกต่างของ E2.0 และ KM (ต่อ)  KM ใช้เวลามากในการดักจับความรู้อย่างเป็นทางการ เช่น Knowledge bases, Taxonomies, Content Management  E2.0 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเชื่อมต่อและการสนทนา การดักจับ เป็นผลพลอยได้ตามธรรมชาติ เช่น Wiki, Emergence, Adaptation, Folksonomies, Knowledge flow
  • 46. KM และ E2.0 มีอะไรที่เหมือนกัน  เกี่ยวกับการสื่อสาร (They’re about communication)  ได้ประโยชน์จากการทางานร่วมกัน (They benefit from collaboration)  สามารถสืบค้นได้ (They depend upon findability)  พยายามนาความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้ (They seek to make knowledge actionable)  ล้มเหลวถ้าไม่เปลี่ยนวัฒนธรรม! (They fail without a dramatic Cultural Change!)
  • 47. อะไรที่ทาให้ E2.0 แตกต่างจาก KM  E2.0 เป็นการมุ่งเน้นที่ลูกค้า  KM มุ่งเน้นที่เนื้ อหา  E2.0 อานวยความสะดวก ในการดักจับและการแบ่งปันความรู้ ในขณะที่เกิดขึ้นจริง  KM เป็นการศึกษาย้อนหลัง  E2.0 เป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมต่อเนื่อง และรวบรวมข่าวสาร  KM เป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดเก็บ "ความรู้"
  • 48. มีอะไรที่เปลี่ยนไป (หรือไม่เปลี่ยน)  ตัววัดที่แท้จริงของความสามารถในการ "จัดการ" ความรู้ ขึ้นอยู่ กับการเชื่อมต่อของคนกับคน มากกว่าในการเชื่อมต่อคนกับ เอกสาร  The true measure of our ability to “manage” knowledge is more in our connection to people, than in our connection to documents.
  • 49. Adapted from: Joe Firestone’s Blog on Knowledge and Knowledge Management http://kmci.org/alllifeisproblemsolving/archives/km-20-and-knowledge-management
  • 50. หลักการพื้นฐานของการจัดการความรู้ (Fundamental of KM)  เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสนับสนุนสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่ กระตุ้นให้เกิดการแบ่งปันของความรู้อย่างไม่เป็นทางการ ผ่าน การพัฒนากระบวนการ ที่ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้ที่เป็น ทางการ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น (. . . are actually about supporting social environments that stimulate informal sharing of knowledge through developing processes that encourage more formal knowledge creation and exchange.)
  • 51. เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ (IT & KM)  เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เป็นเรื่องของการสนับสนุน การ จัดการความรู้ (KM) ตัวมันเองไม่ใช่ KM เพราะกิจกรรมการ จัดการประมวลผลความรู้ หรือปรากฏการณ์ขององค์กรใด ๆ ไม่ได้เป็นอัตโนมัติทั้งหมด  เราควรพูดคุยเกี่ยวกับบทบาทของ IT ในการช่วยเหลือ KM หรือ กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นกระบวนการประมวลผล ความรู้ (knowledge processing)  ดังนั้น KM จึงไม่ใช่ IT
  • 52. เริ่มต้นของการจัดการความรู้ 2.0 (Early KM 2.0)  จากการเปิดตัว "Web 2.0" เพื่ออธิบายการรวบรวมการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่เรียกว่า ซอฟต์แวร์สังคม (social software)  โปรแกรมเหล่านี้ รวมถึง blogs, wikis, social network analysis, social networking applications, collaborative content tagging, folksonomies, community support/collaboration software, และ project collaboration software
  • 53. องค์กร 2.0 (Enterprise 2.0)  หลังจากการแนะนาของ Web 2.0 มีบางคนจึงมีการพูดคุย เกี่ยวกับ "องค์กร 2.0" (Enterprise 2.0) ที่ดาเนินการบน "แพลตฟอร์มซอฟต์แวร์สังคม" (social software platforms)  โดยทั่วไป เว็บ 2.0 มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเชื่อมต่อทาง สังคม ความร่วมมือ และสนับสนุนการตัดสินใจ  เมื่อมี "องค์กร 2.0" เริ่มมีผู้คนถามว่า ทาไมไม่มี KM 2.0 บ้าง  KM 2.0 จึงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 2005 และค่อยๆแพร่กระจาย นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
  • 54. E2.0 ไม่ใช่ KM  E2.0 ("ซอฟต์แวร์สังคม") แตกต่างจาก KM เนื่องจาก:  ซอฟต์แวร์สังคมไม่ใช่ภูมิปัญญา (social software does not equal wisdom) ดังนั้น E2.0 จึงไม่ใช่การจัดการความรู้  มันเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และมันดูเหมือนจะมีอานาจ ในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขององค์กร  ในขณะที่ KM มักพยายามปรับปรุงสิ่งที่องค์กรมีอยู่
  • 55. เครื่องมือสื่อสังคม (Social Media Tools)  มีคนกล่าวว่า KM 2.0 เป็นการนาเครื่องมือสื่อสังคมเพื่อปรับปรุง การเชื่อมต่อ สร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ ที่มีผลในการ สื่อสารและในการถ่ายทอดความรู้ที่ดีขึ้น  นี้ เป็นทฤษฎีที่เรียบง่าย  แต่มันก็เป็นหัวใจสาคัญของเรื่องนี้ ที่เครื่องมือทางสังคมจะช่วย ให้การแบ่งปันความรู้ ให้ประสบความสาเร็จมากกว่าก่อนหน้านี้
  • 56. การอภิปรายเกี่ยวกับ KM 2.0  KM 2.0 ใช้ เว็บ/องค์กร 2.0 (Web/Enterprise 2.0) เป็น เครื่องมือช่วยให้มีการเชื่อมต่อมากขึ้น  ก่อนที่จะนา เว็บ/องค์กร 2.0 เป็นเครื่องมือ KM เป็นวิธีการที่ มุ่งเน้น การออกคาสั่งและการควบคุม (command-and-control)  แต่ KM 2.0 มีการวางแนวทางใหม่ทั้งหมด มุ่งเน้นไปที่ การ จัดการด้วยตนเองและชุมชน (self-organization and community)
  • 57. การอภิปรายเกี่ยวกับ KM 2.0 (ต่อ)  KM 2.0 นาเครื่องมือสื่อสังคม มาใช้ในการสร้างระบบนิเวศที่ ช่วยเพิ่มการเชื่อมต่อ ในการสร้างความสัมพันธ์ และความ ไว้วางใจ ที่มีผลในการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ที่ดีขึ้น  KM 2.0 คือการใช้เครื่องมือสื่อสังคมในองค์กรใช่หรือไม่? KM 2.0 เทียบเท่ากับ องค์กร 2.0 หรือไม่? หรือ KM 2.0 คือ กิจกรรมทางสังคมในวงกว้างมากขึ้น โดยการใช้เครื่องมือใหม่?
  • 58.  ในเดือนกันยายนของปี ค.ศ. 2007 Jennifer Okimoto ของ IBM นาเสนอเรื่อง "แนวโน้มอุตสาหกรรม: วิวัฒนาการของการจัดการ ความรู้ (KM 1.0 เทียบกับ KM 2.0) Industry Trends: the evolution of knowledge management (KM 1.0 vs. KM 2.0) "  เป็นเรื่องเกี่ยวกับการสร้างสมดุล ในหมู่คน กระบวนการ และ เทคโนโลยี  เป็นวิธีการที่จะทาให้ KM 1.0 แบบดั้งเดิม และ KM 2.0 อยู่ ร่วมกันได้ เพราะ "แหล่งที่มาและวิธีการใหม่ ๆ ที่มีการแบ่งปัน ความรู้ โดยของเก่าไม่ได้หายไปไหน "
  • 59.
  • 60. KM ได้พัฒนาเป็น KM 2.0?  ไม่ใช่  KM ยังคงเกี่ยวกับบุคคลและการแบ่งปันความรู้  เป็นการสร้างความมั่นใจ เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน ให้ ทาให้ออกมาได้ดีที่สุด  ไม่เคยเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ดี เพราะ KM สามารถอยู่ได้ โดยไม่ ต้องใช้เทคโนโลยี!
  • 61. การทางานร่วมกันและ KM 2.0  การทางานร่วมกัน (Collaboration) หมายถึง คนที่ทางานร่วมกัน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้ าประสงค์เดียวกัน  การเสริมสร้างกระบวนการทางานร่วมกัน มุ่งเน้นไปที่การวาง ตาแหน่งและคน ที่อาจต้องมีการทางานร่วมกัน  นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการให้ "พื้นที่" (spaces) ที่ช่วยการทางาน ร่วมกันในการให้บริการ หรือวิธีการในการสร้างกระบวนการ ทางานร่วมกัน หรือการติดตามกระบวนการทางานร่วมกัน
  • 62. การจัดการความรู้ไม่ใช่เครื่องมือด้านซอฟท์แวร์  เป็นความเข้าใจได้สาหรับเครื่องมือซอฟท์แวร์ ที่จะย้ายจากรุ่น 1.0 เป็น 2.0, 3.0 และต่อ ๆ ไป  แต่ KM ไม่ได้เป็นเครื่องมือซอฟท์แวร์ มันเป็นวินัยการจัดการ  ไม่มีใครอ้างว่ามี จิตวิทยา 2.0 เมื่อมีการทดสอบหรือเครื่องมือ วิเคราะห์ใหม่ ไม่มีใครอ้างว่ามี รัฐศาสตร์ 2.0 เมื่อเทคโนโลยี ทานายเลือกตั้งใหม่ถูกคิดค้นและนาไปใช้  เหตุผลใดจึงอ้าง KM 2.0 เมื่อมีซอฟท์แวร์ใหม่ใช้งาน ทั้ง ๆ ที่ ไม่ได้ใช้ในการประมวลผลความรู้?
  • 63. เครื่องมือ 2.0 (2.0 Tools)  ความสัมพันธ์ที่เรียบง่ายของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การ ทางานร่วมกัน และการผลิตเนื้ อหา ที่ผลิตโดยเครื่องมือ 2.0 ไม่ได้รับประกัน การประมวลผลความรู้ที่ได้  ดังนั้น แม้ว่าเครื่องมือ 2.0 สามารถรับประกันความสาเร็จในการ เสริมสร้างการทางานร่วมกัน ในการผลิตเนื้ อหา แบ่งปันข้อมูล และเครือข่ายสังคม  แต่ไม่ได้มีปรับปรุงการประมวลผลความรู้ และคุณภาพของ ความรู้ ที่เกิดจากการใช้เครื่องมือ 2.0
  • 64. สรุปโดยผู้ประพันธ์  การเปลี่ยนแปลงเป็น KM 2.0 ยังไม่เกิดขึ้นในขณะนี้ ที่เป็นผลมา จากการใช้ซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ เป็นตัวช่วย แต่จะต้องเป็นการ เปลี่ยนแปลงแนวความคิดพื้นฐาน ในขอบเขตการจัดการความรู้ ที่มีมากกว่าการแบ่งปันความรู้ การดักจับความรู้ และนาความรู้ กลับมาใช้ และจะต้องเกี่ยวกับการเรียนรู้ในระบบที่ซับซ้อนด้วย  การเปลี่ยนแปลงการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่ การเรียนรู้ของ องค์กรและการจัดการนวัตกรรม จึงจะเป็น การจัดการความรู้ 2.0 (KM 2.0) ของจริง
  • 65. Adapted from KM & KM3.0 By Yağmur BÜYÜKEMRE Can ÇAKIR Mehmet SUBAŞI
  • 66.  การจัดการความรู้ (KM) เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเปลี่ยนความรู้ในตน (tacit knowledge) เป็นความรู้อย่างชัดเจน (explicit knowledge)  Knowledge Management (KM) is essentially about transforming tacit knowledge to explicit knowledge.
  • 67. เหตุใดจึงต้องจัดการความรู้ (Why Knowledge Management) 1.เพื่อให้ความรู้ที่มีอยู่ แพร่หลายภายในองค์กร (องค์กรจะได้ไม่ ต้องมีการค้นพบสิ่งเดียวกันซ้าแล้วซ้าอีก) 2.นวัตกรรม สร้างความรู้ใหม่ที่มีคุณค่า 3.การปรับตัว มีความคล่องตัว ผลทางการตลาดที่ดีขึ้นจาก แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
  • 68. ปัญหาและอุปสรรคของ KM  วัฒนธรรมองค์กรที่เน้นการผลิต ทางานแบบวันต่อวัน มากกว่า การสร้างความรู้และนวัตกรรม  ข้อมูลที่นาเสนอน่าเบื่อ (พนักงานไม่เข้าใจประโยชน์ที่ได้รับ)  ขาดความไว้วางใจ กลัวการขโมยความคิด ไม่เต็มใจที่จะ แบ่งปันความรู้  ความเป็นมนุษย์ จึงอายและกลัวที่จะทาผิดพลาด  ระบบราชการมาก และใช้เวลานานเกินไป ที่จะแบ่งปันความรู้
  • 69. อะไรคือ KM3.0 (What is Knowledge Management 3.0?)  การรวบรวมและการแบ่งปันความรู้กับคนอื่น ๆ ยังคงเป็นสิ่ง สาคัญ แต่สิ่งที่คุณแบ่งปันกับทีมงานของคุณ ไม่จาเป็น เช่นเดียวกับที่แบ่งปันในแผนก หรือในองค์กรของคุณ และ  ไม่จาเป็นต้องเก็บรวบรวมความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ร่วมกัน  ไม่จาเป็นต้องแบ่งปันความรู้ ถ้าไม่ได้ใช้ประโยชน์  การจัดเก็บความรู้ทุก ๆ อย่าง นาไปสู่ข้อมูลส่วนเกิน และทาให้ ยากที่จะต่อการค้นหาและพบสิ่งที่ต้องการ และเป็นการลดคุณค่า โดยรวมของความรู้ที่ดักจับได้
  • 70. อะไรคือ KM3.0 (ต่อ)  หาก 30% ของฐานข้อมูลความรู้ของคุณ มีเพียง 2% ของ บุคลากรที่ประโยชน์เป็น ส่วนคนอื่น ๆ อีก 98% จะต้องใช้ วิธีการกรองผ่านข้อมูลจานวนมาก ที่ไม่เกี่ยวข้องและที่ไม่จาเป็น จึงจะสามารถใช้ประโยชน์ได้ ใช่หรือไม่?  ดังนั้น บทบาทหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศของใน KM 3.0 คือ อนุกรมวิธาน (TAXONOMY) : เครื่องมือในการกรองข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง
  • 71. Evolution and Development of Knowledge Management: KM 1.0 KM 2.0 KM 3.0 techno-centric people-centric productivity-centric command and control “KM is extra work” Social “KM is part of my work” Practical & Individual “KM is helping me do my work” KM 1: Collecting KM 2: Sharing KM 3: Using KM 2.0 focused on sharing knowledge using web- enabled and social media tools. KM 1.0 focused on collecting knowledge "before it walked out the door". KM 3.0 focus on using existing knowledge to help people get their job done.
  • 73. Don’t Worry, Be Happy !