Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

Scoring system

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Upcoming SlideShare
2016 key theme
2016 key theme
Loading in …3
×

Check these out next

1 of 39 Ad

Scoring system

Download to read offline

SCORING SYSTEM
ิั Mark L. Blazey
From:- Insights to Performance Excellence 2015-2016: Using the Integrated Management System and the Baldrige Framework
ASQ Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 2015

SCORING SYSTEM
ิั Mark L. Blazey
From:- Insights to Performance Excellence 2015-2016: Using the Integrated Management System and the Baldrige Framework
ASQ Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 2015

Advertisement
Advertisement

More Related Content

Slideshows for you (20)

Viewers also liked (20)

Advertisement

Similar to Scoring system (20)

More from maruay songtanin (20)

Advertisement

Scoring system

  1. 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 16 กรกฎาคม 2558
  2. 2. Mark L. Blazey From:- Insights to Performance Excellence 2015-2016: Using the Integrated Management System and the Baldrige Framework ASQ Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 2015
  3. 3. สรุปสาหรับผู้บริหาร เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาการให้คะแนน ของการดาเนินงานสู่ความเป็น เลิศตามโครงการ Baldrige Performance Excellence Program คานิยาม ใหม่ของแนวทางการให้คะแนน จะมุ่งเน้นความสนใจไปที่การเลื่อน ตามลาดับชั้นของ ข้อกาหนดพื้นฐาน ข้อกาหนดโดยรวม และ ข้อกาหนดย่อย (from basic to overall to multiple requirements) วัตถุประสงค์ของการลาดับชั้นนี้ คือ ให้ผู้ตรวจประเมินมุ่งเน้นไปที่ ปัจจัยที่สาคัญที่สุด (most important factors) ของแต่ละผู้สมัคร ที่มี ความจาเป็นในการพัฒนา เพื่อมุ่งสู่ในระดับสูงขึ้นต่อไป และไม่ทาให้ กระบวนการตรวจประเมิน เป็นการตรวจสอบรายการปฏิบัติ (checklist)
  4. 4. เกริ่นนา เกณฑ์ Baldrige ร่วมกับแนวทางการให้คะแนน เป็นเครื่องมือใน การวินิจฉัย ที่จะระบุจุดแข็งและโอกาสพัฒนา เพื่อช่วยผู้นามุ่งเน้น ทรัพยากรที่จาเป็นของพวกเขา ในการพัฒนาขึ้นสู่ระดับต่อไป เพราะผู้ตรวจประเมินมีแนวโน้มที่จะเลือกปัญหาที่จุกจิกน่าราคาญ เป็นโอกาสในการปรับปรุง ทาให้การให้คะแนนอยู่ในระดับต่า ไม่ เหมาะสม และการแสดงความคิดเห็นก็ไม่ได้มุ่งเน้นอย่างถูกต้อง (scores were inappropriately low and comments were not properly focused)
  5. 5. จุดแข็งและโอกาสพัฒนา จุดแข็ง (strengths) คือความคิดเห็นที่อธิบายกระบวนการและ ระบบที่ผู้สมัครมีอยู่ ที่สนับสนุนและเป็นธรรมกับคะแนนที่ได้รับ โอกาสพัฒนา (opportunities for improvement) คือการแสดงความ คิดเห็นของกระบวนการที่สาคัญหรือระบบ (vital few processes or systems) ที่ผู้สมัครไม่มี ทาให้ไม่สามารถพัฒนาสู่ระดับที่สูงขึ้นได้
  6. 6. การตีความหมาย เกณฑ์และแนวทางการให้คะแนน  เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ เป็นสิ่งจาเป็นที่ผู้ตรวจประเมิน (examiners) ตามเกณฑ์ Baldrige ทุกคน มีการรับรู้ ตีความเกณฑ์ และแนวทางการให้คะแนน สาหรับการตรวจประเมินระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือในองค์กร อย่างเสมอต้นเสมอปลาย (consistently)  แต่น่าเสียดาย ที่กระบวนการและคาจากัดความที่นาเสนอใน เกณฑ์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 ถึง 2015-2016 และแนวทางการ ให้คะแนน ไม่ได้ช่วยให้ผู้ตรวจประเมินทั้งหลายบรรลุ วัตถุประสงค์นี้
  7. 7. ข้อกาหนดขั้นพื้นฐานและข้อกาหนดโดยรวม ผู้ตรวจประเมินมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ของข้อกาหนดขั้น พื้นฐานและโดยรวม (basic and overall requirements) ทาให้ความ คิดเห็นและคะแนนของพวกเขาไม่ไม่สอดคล้อง จากทีมหนึ่งกับอีก ทีมหนึ่ง หรือระหว่างผู้ตรวจประเมินด้วยกันเอง มันเป็นเรื่องยาก ที่จะดาเนินการประเมินความถูกต้องอย่าง เที่ยงตรง เมื่อผู้ตรวจประเมินมีการตีความของขั้นพื้นฐานและ ข้อกาหนดโดยรวม แตกต่างกัน
  8. 8. คานิยามอย่างเป็นทางการ ในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา จากการเทียบเคียงแนวทางให้คะแนนของ เกณฑ์การให้คะแนน (Baldrige Scoring Calibration Guidelines) แนวทางในหนังสือเล่มนี้ มีความสอดคล้องกับคะแนนที่ได้จาก ผู้ตรวจประเมินอาวุโสที่สุดของ Baldrige (consistent with the scores that the most senior Baldrige examiners produced) ตาม แนวทางการให้คะแนนอย่างเป็นทางการ
  9. 9. "ข้อกาหนดขั้นพื้นฐาน" (basic requirements) หมายถึงแนวคิดที่เป็นแก่นของเกณฑ์ Baldrige ที่แสดงอยู่ในรูป คาถาม ของชื่อหัวข้อ (as presented in the Item title question) เพียงการตอบสนองข้อกาหนดขั้นพื้นฐานของหัวข้อ อาจส่งผลให้ ได้คะแนนที่ 10-45% ขึ้นอยู่กับระดับของการพัฒนา ความ สอดคล้องของระบบพื้นฐาน และขอบเขตของการใช้งานของระบบ เหล่านั้น
  10. 10. "ข้อกาหนดโดยรวม" (overall requirements) หมายถึงคุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของหัวข้อ (Item) นั้น ๆ ใน คาถามแรก (คาถามนา ตัวหนา) ของประเด็นพิจารณา (as elaborated in the first question (the leading question in boldface) under each lettered/numbered Area to Address) การตอบสนองข้อกาหนดโดยรวม อาจส่งผลให้ได้คะแนนที่ 50%, 55%, 60% หรือ 65% ขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของระบบโดยรวม ขอบเขตของการใช้งานของระบบเหล่านั้น ขอบเขตของการ ประเมินผลอย่างเป็นระบบ การปรับปรุง นวัตกรรม และการบูรณา การระบบเหล่านั้น
  11. 11. "ข้อกาหนดย่อย" (multiple requirements) หมายถึงรายละเอียดของหัวข้อ (Item) ตามที่แสดงอยู่ในคาถาม ย่อย ๆ ของแต่ละประเด็นพิจารณา (as expressed in the individual questions under each lettered Area to Address) สานักงาน Baldrige กล่าวว่า ข้อกาหนดแรกในรูปแบบตัวหนา(first requirement expressed in boldface) ในชุดของข้อกาหนดย่อย เป็น ข้อกาหนดที่สาคัญที่สุดในกลุ่มนั้น
  12. 12. คะแนนที่ผู้สมัครได้รับ คะแนนในช่วง 50-65% ผู้สมัครจะต้องแสดงให้เห็นว่า มี แนวทางที่มีประสิทธิผล เป็นระบบ ตรงตามคุณสมบัติอย่างน้อย บางส่วน (some) ของข้อกาหนดโดยรวม (ตัวหนา) (บวกบางส่วน ของการนาไปปฏิบัติ การเรียนรู้ และบูรณาการ ในช่วง 50-65%) คะแนนที่ด้านบนสุดของช่วงนั้น (65%) ผู้สมัครจะต้องตอบสนอง ทุก (all) ข้อกาหนดโดยรวม (ตัวหนา) (บวกการปฏิบัติ การเรียนรู้ การบูรณาการ ที่อยู่ในช่วง 50-65%)
  13. 13. คะแนนที่ผู้สมัครได้รับ (ต่อ) การได้คะแนน 70% หรือสูงกว่า ผู้สมัครจะต้องตอบสนอง ข้อกาหนดสาหรับการให้คะแนน 65% ทั้งหมด และเพิ่มการ ตอบสนองต่อข้อกาหนดย่อย (meet additional multiple) บวก บางส่วน (some) ของการปฏิบัติ การเรียนรู้ และการบูรณาการ ในช่วง 70-85% สรุป การตอบสนองข้อกาหนดโดยรวม และข้อกาหนดบางส่วน หรือทุกข้อกาหนดย่อย (meeting the overall and some-to-all of the multiple) อาจส่งผลให้ได้คะแนน 70-100% ขึ้นอยู่บนวุฒิภาวะของ ระบบต่างๆ รวมถึงขอบเขตของการใช้งาน การประเมินผลระบบ การปรับแต่ง และนวัตกรรม ของระบบเหล่านั้นทั่วทั้งองค์กร
  14. 14. การให้คะแนนกระบวนการและผลลัพธ์ กระบวนการ (Process) หมายถึงแนวทางที่องค์กรใช้และปรับปรุง ที่ เป็นความที่ต้องการของหัวข้อ ในหมวดที่ 1 ถึง 6 มีสี่ปัจจัยที่ใช้ในการ ประเมินคือ แนวทาง การปฏิบัติ การเรียนรู้ และการบูรณาการ (Approach, Deployment, Learning, and Integration - ADLI) ผลลัพธ์ (Results) หมายถึงผลและผลลัพธ์ที่ประสบความสาเร็จของ องค์กร ที่อยู่ในข้อกาหนดในหัวข้อ 7.1-7.5 (หมวดที่ 7) ปัจจัยที่ใช้ใน การประเมินผลลัพธ์คือ ระดับ แนวโน้ม การเปรียบเทียบ และการบูรณา การ (Levels, Trends, Comparisons, and Integration - LeTCI)
  15. 15. แนวทาง (Approach) หมายถึงแนวทางที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุตามประสงค์ ความเหมาะสมของแนวทางตามข้อกาหนดของหัวข้อและ สภาพแวดล้อมในการดาเนินงานขององค์กร ประสิทธิผลของ แนวทางที่ใช้ เป็นแนวทางที่ทาซ้าได้ และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูล และสารสนเทศที่เชื่อถือได้
  16. 16. การปฏิบัติ (Deployment) หมายถึงขอบเขตที่แนวทางถูกนาไปใช้ ในการตอบสนอง ข้อกาหนดของหัวข้อ ที่มีความเกี่ยวข้องและมีความสาคัญต่อองค์กร แนวทางที่มีการใช้อย่างต่อเนื่อง และแนวทางที่ใช้ (ดาเนินการ) โดยทุกหน่วยงานที่เหมาะสม
  17. 17. การเรียนรู้ (Learning) หมายถึงการปรับแต่งแนวทาง ผ่านวงรอบของการประเมินผลและ การปรับปรุง การส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาแนวทางผ่าน นวัตกรรม และการแบ่งปันของการปรับแต่งและนวัตกรรมการ ทางาน กับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และกระบวนการย่อยใน องค์กร
  18. 18. เครื่องมือการปรับปรุง วงจรของการปรับปรุงต้องใช้ความเป็นจริง แนวทางที่เป็นระบบ เพื่อ การประเมินผลและการปรับปรุง ตัวอย่างของแนวทางดังกล่าว รวมถึงระบบการผลิตแบบลีน (Lean Enterprise System) การใช้ Six Sigma การใช้ Plan-Do-Check-Act (PDCA) หรือ Plan-Do-Study-Act (PDSA) หรือความคิดเห็นหลังการ ดาเนินการ (After Action Reviews - AARs) การปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้มาตรฐานจากองค์การระหว่างประเทศ (ISO ตัวอย่างเช่น 9000 หรือ 14000) วิทยาศาสตร์การตัดสินใจ หรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการ ปรับปรุง
  19. 19. รายงานสะท้อนกลับ เครื่องมือหนึ่งในการปรับปรุง อาจจะขึ้นอยู่กับการประเมินของรัฐ หรือองค์กรระดับชาติ โดยใช้เกณฑ์ Baldrige ในการสร้างรายงาน สะท้อนกลับ (feedback report) และมีการดาเนินการเพื่อแก้ไข โอกาสพัฒนา (opportunities for improvement) ที่ระบุไว้ในรายงาน
  20. 20. วงจรของการปรับปรุง เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการทาซ้าได้ เช่น: ระบุประเด็น/ปัญหา รวบรวมข้อมูลในการตรวจสอบหรือวิเคราะห์ลักษณะของประเด็น/ ปัญหา (ซึ่งอาจรวมถึงการระบุสาเหตุที่เกิด) การพัฒนาการแก้ปัญหา ที่ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบ หรือการวิเคราะห์ ข้อมูลและสาเหตุ การทดสอบหรือการตรวจสอบทางเลือกการแก้ปัญหา การตัดสินใจในการดาเนินการการแก้ปัญหา (พิจารณาปัจจัยที่ เกี่ยวข้องเช่น ความเป็นไปได้ ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์) ดาเนินการแก้ปัญหานั้น และ ตรวจสอบการดาเนินการการแก้ปัญหา เพื่อตรวจสอบผลกระทบที่มี คุณค่าเพิ่ม และถ้าเหมาะสม ให้ยึดเป็นแนวปฏิบัติ
  21. 21. ผลของการปรับปรุงกับผลลัพธ์ ผลลัพธ์ขององค์กรที่ดีขึ้นในหมวดที่ 7 อาจ (might) ได้รับการ พิจารณาว่า เป็นหลักฐานของวงจรการปรับปรุงที่ส่งผลต่อผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าเกี่ยวข้อง ควรจะมีการเชื่อมโยง ระหว่างวงจร ตรรกะที่เฉพาะเจาะจงของตัวชี้วัดการปรับปรุงประสิทธิภาพการ ทางาน และการรายงานผล อย่างไรก็ตาม ผลการรายงานผลในหมวดที่ 7 ไม่ได้พิสูจน์ กระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงอย่างมีนัยสาคัญ เพราะการ เปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติงานขององค์กร อาจส่งผลต่อมาใน ภายหลังก็ได้
  22. 22. มีอีก 2 ประเด็นในการพิจารณา ประการแรก การเทียบเคียง (benchmarking) กระบวนการทางาน โดยใช้องค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด จากนั้นใช้หรือปรับ (adopting or adapting) กระบวนการภายในที่เป็นจริง ตามแนวทางที่เป็น ระบบ เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่มีความหมาย (learning) ประการที่สอง การกระทาแบบสุ่ม (random acts) ของการ ปรับปรุง จะไม่ถือว่าเป็นความจริงหรือเป็นระบบ (not considered fact-based or systematic) ไม่ควรได้รับการยกย่องว่าเป็นวงจรการ ปรับปรุง เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้คะแนน
  23. 23. การบูรณาการ (Integration) หมายถึงขอบเขตของแนวทางที่สอดคล้อง (aligned) กับข้อกาหนด ขององค์กรที่ระบุไว้ในโครงสร้างองค์กรและหัวข้ออื่น ๆ การวัดผล สารสนเทศ และระบบการปรับปรุง ที่ข้ามกระบวนการและ หน่วยงาน รวมถึงแผนงาน กระบวนการ ผลการวิเคราะห์ การ เรียนรู้ และการกระทา ที่มีความกลมกลืน (harmonized) ทั่วทุก กระบวนการและหน่วยงาน ที่สนับสนุนเป้าประสงค์หลักขององค์กร
  24. 24. ระดับ (Levels) และ การเปรียบเทียบ (Comparisons)  ระดับ หมายถึงระดับปัจจุบันของผลการทางานขององค์กร  การเปรียบเทียบ หมายถึงการเปรียบเทียบผลงานเมื่อเทียบกับ คู่แข่งหรือองค์กรที่คล้ายกัน และ/หรือการเทียบเคียง (benchmarks) หรือเป็นผู้นาในอุตสาหกรรม  ระดับ (Le) และการเปรียบเทียบ (C) มักจะมีการใช้วิเคราะห์ ร่วมกัน
  25. 25. แนวโน้ม (Trends)  หมายถึงอัตราการปรับปรุงประสิทธิภาพการทางาน หรือการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของการปฏิบัติงานที่ดี (นั่นคือความชันของ ข้อมูลว่าแนวโน้มเป็นเช่นไร) และความครอบคลุม (นั่นคือ ขอบเขตของการใช้งาน) ของผลลัพธ์การดาเนินงาน
  26. 26. การบูรณาการ (Integration)  หมายถึงขอบเขตการวัดผลลัพธ์ (มักจะเป็นการแบ่งส่วนย่อย - segmentation) ของลูกค้าที่สาคัญ ผลิตภัณฑ์ ตลาด กระบวนการ และการกระทาที่ต้องการ ที่ระบุไว้ในโครงร่างองค์กรและหัวข้อ ของกระบวนการ
  27. 27. สรุป การประเมินผลลัพธ์  ผู้ตรวจประเมิน มองหาข้อมูลการตอบด้านผลลัพธ์ดังต่อไปนี้  ผลลัพธ์ที่มีความสาคัญ (important) ต่อองค์กร (I) ผลการทางาน ที่ดีขึ้น (T) และมีผลการทางานที่ดีหรือไม่? (Le / C)
  28. 28. สิ่งที่มีความสาคัญต่อการให้คะแนน  มิติด้านการประเมินผลกระบวนการและผลลัพธ์ที่อธิบายไว้ก่อน หน้านี้ (ADLI และ LeTCI) มีความสาคัญที่จะทาให้องค์กรได้รับ รายงานป้อนกลับที่มีความถูกต้อง สอดคล้องกันกับคะแนนที่ได้  แต่การพิจารณาที่สาคัญอีกประการหนึ่งในความคิดเห็นและการ ให้คะแนนคือ ความสาคัญของปัจจัยทางธุรกิจที่สาคัญ (key business factors) ขององค์กร ที่มีการระบุไว้ในโครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
  29. 29. การให้คะแนน  คะแนนจะให้ที่ระดับหัวข้อ (Item) ครั้งแรกดูที่จุดแข็ง (strengths) ที่ แสดงให้เห็นว่า ผู้สมัครได้ทา ในการตอบสนองข้อกาหนดของเกณฑ์  ขึ้นอยู่กับจุดแข็งเหล่านั้น ตรวจสอบว่าอยู่ในช่วงการให้คะแนนใด (เช่น 50-65%) ของคาบรรยายเป็นส่วนใหญ่ (most descriptive) ที่ สอดคล้องกับระดับผลสัมฤทธิ์ขององค์กร  คาบรรยายส่วนใหญ่ในช่วงคะแนนนั้น รวมถึงการที่ยังพบว่ามีช่องว่าง บางอย่าง ในหนึ่งหรือมากกว่าของปัจจัยการประเมิน ADLI (กระบวนการ) หรือปัจจัย LeTCI (ผลลัพธ์) สาหรับช่วงคะแนนที่เลือก
  30. 30. การให้คะแนน (ต่อ)  หากผู้สมัครทาได้ทุกอย่าง (does everything) ในช่วงคะแนน 50- 65% และไม่มีอะไรในระดับที่สูงขึ้นแล้ว คะแนนที่ควรจะเป็นด้าน บนสุดของช่วง 50-65%  หากผู้สมัครทาทุกอย่างที่จาเป็นต้องใช้ในช่วงคะแนน และมี แนวทาง การปฏิบัติ การเรียนรู้ หรือการบูรณาการใด ๆ ของช่วง ระดับที่สูงขึ้นแล้ว คะแนนควรจะอยู่ในช่วงต่อไปคะแนนที่สูงขึ้น (next higher scoring band)  การให้คะแนนที่เกิดขึ้นจริง (ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละห้า) ในช่วง ที่ได้รับการคัดเลือก ต้องมีการประเมินว่า การตอบสนองอยู่ใกล้ (closer) กับระดับคะแนนถัดไปที่สูงขึ้นหรือช่วงคะแนนที่ต่ากว่า (next higher or next lower scoring range)
  31. 31. โอกาสพัฒนา  โอกาสพัฒนา (Opportunities for Improvement) เป็นสิ่งที่สะท้อนให้ เห็นถึงสิ่งที่กาหนดในเกณฑ์ ที่ผู้สมัครไม่ได้ทา  โอกาสที่สาคัญ (key or vital few) สาหรับการพัฒนา ที่จะรายงาน ให้แก่ผู้สมัครในรายงานข้อเสนอแนะ รวมถึงการที่ผู้สมัครจะต้อง ทา เพื่อย้ายขึ้นไปช่วงคะแนนที่สูงขึ้น (และ/หรือ ถ้าอยู่ที่ด้านล่าง ของช่วงคะแนนไปสู่ด้านบน ของช่วงคะแนนเดียวกัน)
  32. 32. คะแนนกระบวนการที่ 50%-65%  คะแนนกระบวนการ 50-65% แสดงให้เห็นถึงแนวทางที่ตรงกับ ข้อกาหนดโดยรวม บางส่วนถึงทั้งหมด (some to all overall requirements) มีการนาไปใช้ของหน่วยงานที่ครอบคลุมอย่างต่อเนื่อง มีการผ่านรอบของการปรับปรุงและการเรียนรู้บางส่วน และตอบสนอง ข้อกาหนดที่สาคัญ ขององค์กร  คะแนนที่สูงขึ้น สะท้อนให้เห็นถึงความสาเร็จที่มากขึ้น แสดงให้เห็น ถึงการใช้งานที่กว้างขวาง การเรียนรู้ขององค์กรอย่างมีนัยสาคัญและ การเปลี่ยนแปลงที่มีความหมาย (นวัตกรรม) และการบูรณาการที่ เพิ่มขึ้น
  33. 33. ผลลัพธ์ที่คะแนน 50-65%  คะแนนผลลัพธ์ของ 50-65% แสดงให้เห็นถึงมีข้อบ่งชี้ชัดเจน ของแนวโน้มการปรับปรุง และ/หรือระดับที่ดีของผลการทางาน มีข้อมูลเปรียบเทียบที่เหมาะสมที่ครอบคลุมความสาคัญต่อ องค์กรและภารกิจของตน (ผลลัพธ์ที่ไม่มีความหมายหรือ เกี่ยวข้องกับความสาเร็จขององค์กร พันธกิจ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ หรือข้อกาหนดด้าน กฎระเบียบ ไม่มีผลอะไรกับคะแนน)  คะแนนที่สูงกว่า จะได้รับตามอัตราการปรับปรุงที่ดีกว่า และ/หรือ ระดับความสาคัญของผลการดาเนินงาน การเปรียบเทียบที่ดีขึ้น และความครอบคลุมที่กว้างขึ้นและบูรณาการกับข้อกาหนดทาง ธุรกิจ
  34. 34.  คาอธิบายศัพท์การให้คะแนน (Defining Scoring Terms)
  35. 35. ข้อกาหนดสามระดับ  ข้อกาหนดเกณฑ์จะแบ่งออกเป็นสามกลุ่มหรือสามระดับ  ข้อกาหนดพื้นฐาน (Basic) สาหรับคะแนนในช่วง 10% ถึง 45%  ข้อกาหนดโดยรวม (Overall) สาหรับคะแนนอยู่ในช่วง 50% ถึง 65% และ  ข้อกาหนดย่อย (Multiple) สาหรับคะแนนในช่วง 70% ถึง 100%
  36. 36. การให้คะแนนที่เหมาะสมที่สุด (best scoring fit)  เนื่องจากคาถามตัวหนา หมายถึงข้อกาหนดโดยรวมและ ข้อกาหนดต่างๆ ผู้ตรวจประเมินบางคนสับสนความเป็น มาตรฐาน ที่จะนาไปใช้เพื่อที่จะได้ตัดสินใจให้อยู่ในช่วงคะแนนที่ ถูกต้อง  เพื่อการให้คะแนนที่เหมาะที่สุด เป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องพิจารณา เกณฑ์การให้คะแนนแบบองค์รวม (holistically) เพื่อให้แนวทาง การปฏิบัติ การเรียนรู้ และการบูรณาการ (ADLI) การให้คะแนน ควรพิจารณาทั้งหมดไม่เพียงแต่ใช้แนวทางมาตรฐาน (Approach standard)
  37. 37. สรุป การให้คะแนนอย่างคงเส้นคงวา  เพื่อบรรลุการให้คะแนนที่สอดคล้องกันในหมู่ผู้ตรวจประเมิน หากข้อกาหนดอยู่มากกว่าหนึ่งระดับ ตาแหน่งของข้อกาหนดครั้ง แรก เป็นตัวกาหนดระดับ (the initial placement of the requirement establishes its level) คะแนนที่ผู้สมัครได้รับ มีระดับ ของการตอบสนองของข้อกาหนดตามลาดับขั้นคือ  ข้อกาหนดย่อย = ขั้นย่อย + ขั้นโดยรวม+ ขั้นพื้นฐาน  ข้อกาหนดโดยรวม = ขั้นโดยรวม + ขั้นพื้นฐาน  ข้อกาหนดพื้นฐาน = ขั้นพื้นฐาน
  38. 38. Henry Ford (July 30, 1863 – April 7, 1947)

×