SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20
วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี
1
ชื่อเรื่อง Learning Key for Sustainability
Session A1-200
วันที่และเวลา วันที่ 13 มีนาคม 2562 เวลา 09.00 - 10.00 น. ห้อง Grand Diamond Balloon
วิทยากร ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช อดีตประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
(องค์การมหาชน)
ผู้ถอดบทเรียน อุสาห์ เพ็งภารา
ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านบริการทางวิชาการ) สานักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี
ถ้อยคาที่เป็นแรงบันดาลใจของเรื่อง
การเรียนรู้เป็นกุญแจสาคัญสู่ความยั่งยืน โดยการเรียนรู้ต้องเกิดจากการปฏิบัติจริง มีการสะท้อนความคิด ถือเป็น
Collective learning และต้องแสวงหาความรู้จากภายนอก
หัวใจของการเรียนรู้ คือ การตั้งคาถาม
เพื่อการเรียนรู้ ต้องขี่เกณฑ์มาตรฐานไม่ใช่ให้เกณฑ์มาตรฐานขี่
รู้จักขี่ VUCA (Volatile, Uncertain, Complex, Ambiguous) ที่ไหนมีความสับสน ไม่ชัดเจน ที่นั่นมีโอกาสเรียนรู้สูง
บทนา
ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ได้กล่าวนาถึงการดารงชีวิตในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง หรือ VUCA world โดยยกตัวอย่าง
การจัดประชุมวิชาการประจาปี ของ สรพ. ที่ได้จัดมาถึง 20 ปี และมีการเปลี่ยนแปลงและยกระดับพัฒนารูปแบบและแสวงหา
ความร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆมากมาย เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง พร้อมยกตัวอย่างนกเพนกวินที่เป็นตัวเดินเรื่องในหนังสือ
Our Iceberg is Milting ซึ่งขายดีเมื่อ 13 ปีที่แล้ว ที่เห็นว่าโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปแล้วในทุกๆวันทุกๆเดือน จึงพยายาม
ชักชวนให้คนอื่นๆ ได้ปรับตัว แต่ไม่มีใครเชื่อหายนะจึงเกิดขึ้น จึงอย่าได้ประมาท การเปลี่ยนแปลงทีละเล็กที่ละน้อย ทาให้คน
ไม่รู้ตัวและไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลง ในทางธุรกิจถือว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องธรรมดา และให้เห็นว่าต้องมีการปรับตัว
แต่ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก เรียกว่า Disruptive change
สาหรับ Disruption ในวงการสุขภาพมีปัจจัย 5 ประเด็น ได้แก่ การตลาด กฎหมาย/กฎระเบียบต่างๆ เทคโนโลยี
พฤติกรรมผู้บริโภค การแพทย์เฉพาะด้าน ดังนั้นหากมองในเชิงบวกของการเปลี่ยนแปลง นี่คือโอกาสของการสร้าง
Innovation การมองหาโอกาสในสิ่งต่างๆในงานที่เราทาคือ หัวใจการพัฒนาคุณภาพ และสร้างคุณค่า
ประเด็นที่เป็นแรงขับในเกิดการเปลี่ยนแปลงบริการสุขภาพในอนาคต (The Sixth force Transforming the
future of healthcare) ในมุมมองเชิงธุรกิจนั้นมี 6 อย่าง ได้แก่ ข้อมูล กลยุทธ์ การบริการ ความต้องการด้านการแพทย์
รูปแบบการขาย และกระบวนการ ซึ่ง Point of care device จะมีบทบาทมากขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวให้ทัน มี 10 ประเด็น
ในการปฏิรูปด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย
1. ระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ
2. ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศสุขภาพ
3. กาลังคนด้านสุขภาพ
4. ระบบบริการปฐมภูมิ
5. การแพทย์แผนไทย สมุนไพรไทย เพื่อเศรษฐกิจ
6. การแพทย์ฉุกเฉิน
7. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
8. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
9. การคุ้มครองผู้บริโภค
10. ระบบหลักประกันสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ความยั่งยืน (Sustainability) จะมีและเกิดขึ้นได้ต้องมีการ Change ทั้งจากองค์กร สังคม แต่อย่างไรก็ตามยังมี
ปัจจัยที่เราคุมไม่ได้อยู่ด้วย ดังนั้นสิ่งที่ต้องตระหนัก คืออย่ายึดมั่นถือมั่น กลไกที่ทาให้เกิดความไม่ยั่งยืนนั้นเกิดจาก ความรู้
เทคโนโลยี วิธีการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน/โมเดล ที่สาคัญคือมนุษย์ขององค์กร สังคม มีการ Fixed mindset เพราะคิดว่า
สภาพที่เราเห็นอยู่นี้จะอยู่ยั้งยืนยง จึงต้องมีการเปลี่ยนจากการ Fixed mindset ไปสู่การแสวงหาตรงข้าม คือ Growth
ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20
วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี
2
mindset ด้วยวิธีการใหม่ๆ ที่เหมาะสม สิ่งที่ยั่งยืน คือ คุณค่าและอุดมการณ์ ที่เรามีร่วมกัน เช่น การทาเพื่อผู้อื่น ทาเพื่อ
ผู้ป่วยและญาติ ทาเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการคุณภาพ การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน การเห็นผลจากการลงมือทาจริง ก็จะ
ยั่งยืนทุกเรื่อง รวมทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน
ในการพัฒนาคุณภาพ มีทั้งส่วนที่ยั่งยืนและไม่ยั่งยืน ที่ไม่ยั่งยืนคือทาเพื่อคะแนน ทาเพื่อประเมิน ทาตามเกณฑ์ ไม่มี
วัฒนธรรมคุณภาพ ไม่มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ กระบวนการคุณภาพก่อความทุกข์ ถ้าจะให้ยั่งยืน จะต้องทาเพื่อผลประโยชน์
ของผู้ป่วย ทาอย่างต่อเนื่องเป็นวงจรคุณภาพ ตีความเกณฑ์ทาให้ดีกว่า เรียนรู้และยกระดับต่อเนื่อง วัฒนธรรมคุณภาพและ
เรียนรู้ กระบวนการคุณภาพมีความสุข กระบวนการ คือ Process ที่เป็น movement ที่ต้องทาให้ผู้ทามีความสุข และต้องมี
การสร้าง Environment ที่พร้อมจะฝ่าฟันอุปสรรค หรือ Social Disruption
การเรียนรู้เพื่อความยั่งยืนนั้น เป็นการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่หรือเรียกว่า Adult learning เป็นการเรียนรู้จากทางานและ
การดารงชีวิต เริ่มจากประสบการณ์ตรง สังเกต ใคร่ครวญตรึกตรอง สู่การเกิดแนวคิดแล้วเกิดเป็นการเรียนรู้ใหม่ (New
solution) ซึ่งแต่ละคนจะไม่เท่ากัน บางคนติดลบเพราะเห็นแก่ตัวมากขึ้น ใน Adult learning จะทาอย่างไรให้มีพลังในด้าน
บวก และควรเปลี่ยนเป็น Human learning
การเรียนรู้มี 2 แบบ คือ 1) การเรียนรู้ขาเข้า เป็นการเรียนรู้จากผู้อื่นจะมีพลังไม่มาก และ 2) การเรียนรู้ขาออกเป็น
การเรียนรู้จากการปฏิบัติ และจะมีประโยชน์มากถ้าเราทา Critical reflection เป็น จะทาให้เราเห็นเรื่องที่ลึกและเชื่อมโยง
กว่าเดิม แต่เรามักจะหลงอยู่กับการฝึกอบรม ซึ่งเป็นการเรียนรู้ขาเข้า เพราะเข้าใจผิดในกลไกการเรียนรู้ จากหนังสือ
How learning works ของ Herbert A. Simon กล่าวว่า “การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของผู้นั้น เกิดจากการ
กระทาและการคิดของตนเท่านั้น ผู้อื่นช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการสิ่งที่เราทา (ปฏิบัติและคิด) เพื่อการเรียนรู้
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป การสอนโดยตั้งคาถามดีที่สุด การตั้งถามทาให้เกิดการสะท้อนคิด ซึ่งก็คือ
การเรียนรู้ เป็นหลัก Cognitive science ที่งอกงามขึ้นเองภายในตนจากการทาและคิดของตน
ข้อมูลกลไกการเรียนรู้ จากหนังสือ Why don’t Student like School ของ Daniel T. Willingham กล่าวว่าการ
เรียนรู้นั้นเป็นการเรียนจากเหตุการณ์ที่เราเกี่ยวข้อง สังเกต แล้วเกิดการเก็บข้อมูล โดยสมองมีส่วนใช้งานและเก็บข้อมูลเข้ามา
ในสมองส่วนที่เรียกว่า working memory (ซึ่งใหญ่และซับซ้อน) ต้องช่างสังเกตแล้ว Make meaning ทาความเข้าใจ เชื่อม
กับการเรียนรู้และประสบการณ์เดิม โดยต้องมี Long term memory (ความจาระยะยาว)ที่รู้ข้อเท็จจริงและกระบวน แล้ว
ตีความในหลากหลายด้าน กลไกนี้เกิดขึ้นตลอดเวลาและไม่ได้เรียนคนเดียว เนื่องจากมนุษย์มี Talent ไม่เหมือนกัน (มีถึง 35
แบบ) ในบางเรื่องราวเราเห็นเพื่อนไม่เห็น หรือเพื่อนเห็นเราไม่เห็น ถ้าเรามา KM หรือ Share กันก็จะทาให้เรียนรู้มากขึ้น
เพราะมีการ Capture ที่ไม่เหมือนกัน จึงต้องเน้นปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน เกิดเป็น Collaborative Intelligence
Growth mindset กับ Fixed mindset ของบุคคล ด้าน Growth mindset เป็นกระบวนทัศน์พัฒนา รักการเรียนรู้
ส่วน Fixed mindset เป็นกระบวนทัศน์หยุดนิ่ง ปฏิเสธการเรียนรู้ มีตัวอย่างการเลี้ยงดูเด็ก คือเด็กที่พ่อแม่หรือครูบอกว่า
ฉลาด เมื่อโตขึ้นเด็กก็รับรู้ว่าเขาฉลาด จึงไม่เรียนรู้กับคนอื่น เขาจะ Fix mindset ดังนั้น Concept เรื่อง mindset จึงมิใช่
เรื่อง Individual แต่เป็นของกลุ่มและขององค์กร ยกตัวอย่างประเทศที่ในอดีตมีรายได้ต่าปัจจุบันสามารถพัฒนาไปสู่รายได้สูง
เช่น ประเทศเกาหลี เพราะเขามี Growth mindset
Grit เป็นความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ หมายถึง การมี Passion (ฉันทะ) กับ การมี
Perseverance (วิริยะ + จิตตะ + วิมังสา) ซึ่งเป็นความหมายของอิทธิบาท 4
Talent x Effort = Skills
Skills x Effort = Achievement
จากหนังสือ Altruism เขียนโดย Mathieu Ricard กล่าวว่า การเรียนรู้ที่ยิ่งใหญ่ ต้องปลูกฝังคุณสมบัติความรัก และ
ความเห็นแก่ผู้อื่น เป็นคุณต่อชีวิต การเสียสละเป็นธรรมชาติของมนุษย์ พร้อมทั้งสามารถสร้างให้ขึ้นมาได้โดยทา Critical
reflection และ Compassion Mediation (เมตตาภาวนา)
จากหนังสือ The Yes brain เขียนโดย Daniel J. Siegel และ Tina Payne Bryson กล่าวว่า การเรียนรู้จากการ
ทางาน สามารถปลูกฝังจิตบวกได้ และจากหนังสือ Transformative learning in Practice เขียนโดย Jack Mezirow และ
Edward Taylor กล่าวว่า การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงหรือกระบวนการ Transformative learning in Practice นี้ จะสร้าง
Leadership skill แบบไม่รู้ตัวสามารถเปลี่ยนระบบ คุณค่าและโลกทัศน์และจะเกิดได้เมื่อมีสภาพเอื้อ ผ่านประสบการณ์ตรง+
ไตร่ตรองสะท้อนคิด+ อารมณ์ และถ้าได้บวกกับพลังทั้ง 6 ประกอบด้วย ประสบการณ์ตรงของปัจเจก, การสะท้อนคิดอย่าง
ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20
วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี
3
จริงจัง( Critical reflection), สุนทรียสนทนา (Dialogue), มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (Holistic), บริบท (Contex) และ
ความสัมพันธ์ที่จริงใจ จะสามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ทั้งเนื้อทั้งตัว (ใจ, คิดและพฤติกรรม)
ในการเรียนรู้ ถ้ามองจากมุม learning Loop แล้วจะเห็นว่า การเรียนรู้แบบ Double Loop learning จะมีพลัง
มากกว่าแบบ Single Double Loop learning เพราะมีการสะท้อนไปยังเป้าหมาย หากเปรียบกับการพัฒนาคุณภาพ
สถานพยาบาล การเรียนรู้เป็นทั้งขบวนการ (Movement) และกระบวนการ( Process) การพัฒนาคุณภาพคือการทางาน
มาตรฐานเดิม และสาหรับคนทางานบางคนคิดว่า งาน คือ ภาระ คือ ความเหนื่อยยาก เบื่อ เซ็ง นรก จาใจทา และถ้าจะทาให้
คนทางานคิดว่า งาน คือ ความท้าทาย สนุก ได้เพื่อน มิตรภาพและการเรียนรู้ ต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
เพื่อไปให้ถึงคุณค่า และสะท้อนคิดเชิงคุณค่าได้ ยกตัวอย่าง คือ ได้ทา ได้สตางค์ ได้เรียน ได้สนุก ได้ภูมิใจ
หัวใจที่สาคัญคือ จะทาอะไรก็ตาม ต้องตีคุณค่าให้แตก
การเรียนจากการปฏิบัติงาน หรือ Open learning loop เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ลึกและเชื่อมโยง ต้องมีการทา
Group reflection เช่น AAR (After Action Review) เป็นการเรียนรู้จากความเห็นต่าง เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการ หลักการ/
ทฤษฎี ระบบ เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ เรียนรู้จากผู้อื่น เรียนรู้ตนเอง เรียนรู้คุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น
บทส่งท้าย
VUCA (Volatile, Uncertain, Complex, Ambiguous) คือ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลง
(Change) จึงเป็นความท้าทายที่ต้องเรียนรู้เพื่อให้เท่าทันเหตุการณ์ การเรียนรู้ที่ทาให้เกิดการพัฒนา คือ Growth mindset
ที่จาเป็นต้องอาศัยการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง หรือ Transformative learning การเรียนรู้ที่ดีควรเป็นแบบ Double loop
learning ที่คานึงถึง Goal strategy และ Result ซึ่งเทียบได้กับหลักคิดเชิงคุณภาพ Purpose process และ Performance
และการ เรียนรู้แบบ Open loop learning ที่มาจากความท้าทาย เปรียบเทียบกับมาตรฐานภายนอก และการตั้งคาถามจึง
จะเกิดการเรียนรู้แบบยั่งยืน เมื่อไร ที่ไหน ใคร ที่มีการทางาน ต้องมีกระบวนการเรียนรู้ และ Learning = Change
/Transform หัวใจของการเรียนคือการตั้งคาถาม เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ต้องเรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยน (collaboration)
ต้องถามหาความเห็นที่ต่าง ไม่เน้น ถูก - ผิด เรียนจากการทางานร่วมกัน ด้วย BAR, AAR และ Storytelling
Collaboration คือการทางานร่วมกันแบบร่วมมือร่วมใจ อาศัยพื้นฐานความไว้วางใจ (Trust) ที่คนในองค์กรมีให้
ต่อกัน เป็นกุญแจสาคัญในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรคุณภาพ สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งสองทาง (Two-way
Communication) โดยนาองค์ความรู้จากภายนอกมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง และสะท้อนผลของการปฏิบัติจากการทา
Group reflection เพื่อให้เกิดเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนขององค์กร
Sustainability หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน จะต้องมองถึงมิติด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืนเกิดจาก
การทาเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย การพัฒนา เพื่อคุณค่า/เป้าหมายสูงส่ง อย่างต่อเนื่องเป็นวงจรคุณภาพด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ
ตีความเกณฑ์มาตรฐาน ทาให้ดีกว่า ยกระดับต่อเนื่อง ทาจนเป็นวัฒนธรรม และเรียนรู้กระบวนการสร้างความสุข
โดยสรุปการเรียนรู้เป็นกุญแจสู่ความยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการเปลี่ยนแปลง และต้องมีเป้าหมายที่มีคุณค่าอัน
สูงส่ง
ข้อค้นพบใหม่ที่ได้จากเรื่อง
การเปลี่ยนแปลงเกิดจากความท้าทาย จะทาให้เกิดการเรียนรู้แบบ Collective learning/ open learning loop/
double - loop learning/ transformative learning ด้วยการร่วมมือหน่วยงานอื่น โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานเป็นแหล่งความรู้
และมีพื้นที่เรียนรู้ร่วมกัน เช่น national HA Forum
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
1. การลงมือทางานด้วยการปฏิบัติจริง จะทาให้เกิดการเรียนรู้
2. การเรียนรู้ที่ดี ต้องมีพื้นที่เรียนรู้ร่วมกัน
3. การตั้งคาถาม ถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้ และควรตั้งคาถามต่อหลักการ/เป้าหมาย/คุณค่า ที่เป็น Double
loop learning เพื่อจะนาไปสู่ Innovation/Transformation
ศึกษาเพิ่มเติม growth mindset ที่ Link https://www.gotoknow.org/posts/645908
Collaborative intelligence https://www.gotoknow.org/posts/638734
ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20
วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี
4

More Related Content

What's hot

บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนวwanwisa491
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้pajyeeb
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 

What's hot (11)

บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนว
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
ทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Similar to Ha forum20

การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1guest91dee6
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครูSakaeoPlan
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative LearningUtai Sukviwatsirikul
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 

Similar to Ha forum20 (20)

การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Ha forum20

  • 1. ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20 วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี 1 ชื่อเรื่อง Learning Key for Sustainability Session A1-200 วันที่และเวลา วันที่ 13 มีนาคม 2562 เวลา 09.00 - 10.00 น. ห้อง Grand Diamond Balloon วิทยากร ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช อดีตประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ผู้ถอดบทเรียน อุสาห์ เพ็งภารา ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านบริการทางวิชาการ) สานักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ถ้อยคาที่เป็นแรงบันดาลใจของเรื่อง การเรียนรู้เป็นกุญแจสาคัญสู่ความยั่งยืน โดยการเรียนรู้ต้องเกิดจากการปฏิบัติจริง มีการสะท้อนความคิด ถือเป็น Collective learning และต้องแสวงหาความรู้จากภายนอก หัวใจของการเรียนรู้ คือ การตั้งคาถาม เพื่อการเรียนรู้ ต้องขี่เกณฑ์มาตรฐานไม่ใช่ให้เกณฑ์มาตรฐานขี่ รู้จักขี่ VUCA (Volatile, Uncertain, Complex, Ambiguous) ที่ไหนมีความสับสน ไม่ชัดเจน ที่นั่นมีโอกาสเรียนรู้สูง บทนา ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ได้กล่าวนาถึงการดารงชีวิตในท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง หรือ VUCA world โดยยกตัวอย่าง การจัดประชุมวิชาการประจาปี ของ สรพ. ที่ได้จัดมาถึง 20 ปี และมีการเปลี่ยนแปลงและยกระดับพัฒนารูปแบบและแสวงหา ความร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆมากมาย เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง พร้อมยกตัวอย่างนกเพนกวินที่เป็นตัวเดินเรื่องในหนังสือ Our Iceberg is Milting ซึ่งขายดีเมื่อ 13 ปีที่แล้ว ที่เห็นว่าโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปแล้วในทุกๆวันทุกๆเดือน จึงพยายาม ชักชวนให้คนอื่นๆ ได้ปรับตัว แต่ไม่มีใครเชื่อหายนะจึงเกิดขึ้น จึงอย่าได้ประมาท การเปลี่ยนแปลงทีละเล็กที่ละน้อย ทาให้คน ไม่รู้ตัวและไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลง ในทางธุรกิจถือว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องธรรมดา และให้เห็นว่าต้องมีการปรับตัว แต่ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก เรียกว่า Disruptive change สาหรับ Disruption ในวงการสุขภาพมีปัจจัย 5 ประเด็น ได้แก่ การตลาด กฎหมาย/กฎระเบียบต่างๆ เทคโนโลยี พฤติกรรมผู้บริโภค การแพทย์เฉพาะด้าน ดังนั้นหากมองในเชิงบวกของการเปลี่ยนแปลง นี่คือโอกาสของการสร้าง Innovation การมองหาโอกาสในสิ่งต่างๆในงานที่เราทาคือ หัวใจการพัฒนาคุณภาพ และสร้างคุณค่า ประเด็นที่เป็นแรงขับในเกิดการเปลี่ยนแปลงบริการสุขภาพในอนาคต (The Sixth force Transforming the future of healthcare) ในมุมมองเชิงธุรกิจนั้นมี 6 อย่าง ได้แก่ ข้อมูล กลยุทธ์ การบริการ ความต้องการด้านการแพทย์ รูปแบบการขาย และกระบวนการ ซึ่ง Point of care device จะมีบทบาทมากขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวให้ทัน มี 10 ประเด็น ในการปฏิรูปด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย 1. ระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ 2. ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศสุขภาพ 3. กาลังคนด้านสุขภาพ 4. ระบบบริการปฐมภูมิ 5. การแพทย์แผนไทย สมุนไพรไทย เพื่อเศรษฐกิจ 6. การแพทย์ฉุกเฉิน 7. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 8. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 9. การคุ้มครองผู้บริโภค 10. ระบบหลักประกันสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ความยั่งยืน (Sustainability) จะมีและเกิดขึ้นได้ต้องมีการ Change ทั้งจากองค์กร สังคม แต่อย่างไรก็ตามยังมี ปัจจัยที่เราคุมไม่ได้อยู่ด้วย ดังนั้นสิ่งที่ต้องตระหนัก คืออย่ายึดมั่นถือมั่น กลไกที่ทาให้เกิดความไม่ยั่งยืนนั้นเกิดจาก ความรู้ เทคโนโลยี วิธีการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน/โมเดล ที่สาคัญคือมนุษย์ขององค์กร สังคม มีการ Fixed mindset เพราะคิดว่า สภาพที่เราเห็นอยู่นี้จะอยู่ยั้งยืนยง จึงต้องมีการเปลี่ยนจากการ Fixed mindset ไปสู่การแสวงหาตรงข้าม คือ Growth
  • 2. ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20 วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี 2 mindset ด้วยวิธีการใหม่ๆ ที่เหมาะสม สิ่งที่ยั่งยืน คือ คุณค่าและอุดมการณ์ ที่เรามีร่วมกัน เช่น การทาเพื่อผู้อื่น ทาเพื่อ ผู้ป่วยและญาติ ทาเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการคุณภาพ การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน การเห็นผลจากการลงมือทาจริง ก็จะ ยั่งยืนทุกเรื่อง รวมทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน ในการพัฒนาคุณภาพ มีทั้งส่วนที่ยั่งยืนและไม่ยั่งยืน ที่ไม่ยั่งยืนคือทาเพื่อคะแนน ทาเพื่อประเมิน ทาตามเกณฑ์ ไม่มี วัฒนธรรมคุณภาพ ไม่มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ กระบวนการคุณภาพก่อความทุกข์ ถ้าจะให้ยั่งยืน จะต้องทาเพื่อผลประโยชน์ ของผู้ป่วย ทาอย่างต่อเนื่องเป็นวงจรคุณภาพ ตีความเกณฑ์ทาให้ดีกว่า เรียนรู้และยกระดับต่อเนื่อง วัฒนธรรมคุณภาพและ เรียนรู้ กระบวนการคุณภาพมีความสุข กระบวนการ คือ Process ที่เป็น movement ที่ต้องทาให้ผู้ทามีความสุข และต้องมี การสร้าง Environment ที่พร้อมจะฝ่าฟันอุปสรรค หรือ Social Disruption การเรียนรู้เพื่อความยั่งยืนนั้น เป็นการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่หรือเรียกว่า Adult learning เป็นการเรียนรู้จากทางานและ การดารงชีวิต เริ่มจากประสบการณ์ตรง สังเกต ใคร่ครวญตรึกตรอง สู่การเกิดแนวคิดแล้วเกิดเป็นการเรียนรู้ใหม่ (New solution) ซึ่งแต่ละคนจะไม่เท่ากัน บางคนติดลบเพราะเห็นแก่ตัวมากขึ้น ใน Adult learning จะทาอย่างไรให้มีพลังในด้าน บวก และควรเปลี่ยนเป็น Human learning การเรียนรู้มี 2 แบบ คือ 1) การเรียนรู้ขาเข้า เป็นการเรียนรู้จากผู้อื่นจะมีพลังไม่มาก และ 2) การเรียนรู้ขาออกเป็น การเรียนรู้จากการปฏิบัติ และจะมีประโยชน์มากถ้าเราทา Critical reflection เป็น จะทาให้เราเห็นเรื่องที่ลึกและเชื่อมโยง กว่าเดิม แต่เรามักจะหลงอยู่กับการฝึกอบรม ซึ่งเป็นการเรียนรู้ขาเข้า เพราะเข้าใจผิดในกลไกการเรียนรู้ จากหนังสือ How learning works ของ Herbert A. Simon กล่าวว่า “การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของผู้นั้น เกิดจากการ กระทาและการคิดของตนเท่านั้น ผู้อื่นช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการสิ่งที่เราทา (ปฏิบัติและคิด) เพื่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป การสอนโดยตั้งคาถามดีที่สุด การตั้งถามทาให้เกิดการสะท้อนคิด ซึ่งก็คือ การเรียนรู้ เป็นหลัก Cognitive science ที่งอกงามขึ้นเองภายในตนจากการทาและคิดของตน ข้อมูลกลไกการเรียนรู้ จากหนังสือ Why don’t Student like School ของ Daniel T. Willingham กล่าวว่าการ เรียนรู้นั้นเป็นการเรียนจากเหตุการณ์ที่เราเกี่ยวข้อง สังเกต แล้วเกิดการเก็บข้อมูล โดยสมองมีส่วนใช้งานและเก็บข้อมูลเข้ามา ในสมองส่วนที่เรียกว่า working memory (ซึ่งใหญ่และซับซ้อน) ต้องช่างสังเกตแล้ว Make meaning ทาความเข้าใจ เชื่อม กับการเรียนรู้และประสบการณ์เดิม โดยต้องมี Long term memory (ความจาระยะยาว)ที่รู้ข้อเท็จจริงและกระบวน แล้ว ตีความในหลากหลายด้าน กลไกนี้เกิดขึ้นตลอดเวลาและไม่ได้เรียนคนเดียว เนื่องจากมนุษย์มี Talent ไม่เหมือนกัน (มีถึง 35 แบบ) ในบางเรื่องราวเราเห็นเพื่อนไม่เห็น หรือเพื่อนเห็นเราไม่เห็น ถ้าเรามา KM หรือ Share กันก็จะทาให้เรียนรู้มากขึ้น เพราะมีการ Capture ที่ไม่เหมือนกัน จึงต้องเน้นปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน เกิดเป็น Collaborative Intelligence Growth mindset กับ Fixed mindset ของบุคคล ด้าน Growth mindset เป็นกระบวนทัศน์พัฒนา รักการเรียนรู้ ส่วน Fixed mindset เป็นกระบวนทัศน์หยุดนิ่ง ปฏิเสธการเรียนรู้ มีตัวอย่างการเลี้ยงดูเด็ก คือเด็กที่พ่อแม่หรือครูบอกว่า ฉลาด เมื่อโตขึ้นเด็กก็รับรู้ว่าเขาฉลาด จึงไม่เรียนรู้กับคนอื่น เขาจะ Fix mindset ดังนั้น Concept เรื่อง mindset จึงมิใช่ เรื่อง Individual แต่เป็นของกลุ่มและขององค์กร ยกตัวอย่างประเทศที่ในอดีตมีรายได้ต่าปัจจุบันสามารถพัฒนาไปสู่รายได้สูง เช่น ประเทศเกาหลี เพราะเขามี Growth mindset Grit เป็นความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ หมายถึง การมี Passion (ฉันทะ) กับ การมี Perseverance (วิริยะ + จิตตะ + วิมังสา) ซึ่งเป็นความหมายของอิทธิบาท 4 Talent x Effort = Skills Skills x Effort = Achievement จากหนังสือ Altruism เขียนโดย Mathieu Ricard กล่าวว่า การเรียนรู้ที่ยิ่งใหญ่ ต้องปลูกฝังคุณสมบัติความรัก และ ความเห็นแก่ผู้อื่น เป็นคุณต่อชีวิต การเสียสละเป็นธรรมชาติของมนุษย์ พร้อมทั้งสามารถสร้างให้ขึ้นมาได้โดยทา Critical reflection และ Compassion Mediation (เมตตาภาวนา) จากหนังสือ The Yes brain เขียนโดย Daniel J. Siegel และ Tina Payne Bryson กล่าวว่า การเรียนรู้จากการ ทางาน สามารถปลูกฝังจิตบวกได้ และจากหนังสือ Transformative learning in Practice เขียนโดย Jack Mezirow และ Edward Taylor กล่าวว่า การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงหรือกระบวนการ Transformative learning in Practice นี้ จะสร้าง Leadership skill แบบไม่รู้ตัวสามารถเปลี่ยนระบบ คุณค่าและโลกทัศน์และจะเกิดได้เมื่อมีสภาพเอื้อ ผ่านประสบการณ์ตรง+ ไตร่ตรองสะท้อนคิด+ อารมณ์ และถ้าได้บวกกับพลังทั้ง 6 ประกอบด้วย ประสบการณ์ตรงของปัจเจก, การสะท้อนคิดอย่าง
  • 3. ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20 วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี 3 จริงจัง( Critical reflection), สุนทรียสนทนา (Dialogue), มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (Holistic), บริบท (Contex) และ ความสัมพันธ์ที่จริงใจ จะสามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ทั้งเนื้อทั้งตัว (ใจ, คิดและพฤติกรรม) ในการเรียนรู้ ถ้ามองจากมุม learning Loop แล้วจะเห็นว่า การเรียนรู้แบบ Double Loop learning จะมีพลัง มากกว่าแบบ Single Double Loop learning เพราะมีการสะท้อนไปยังเป้าหมาย หากเปรียบกับการพัฒนาคุณภาพ สถานพยาบาล การเรียนรู้เป็นทั้งขบวนการ (Movement) และกระบวนการ( Process) การพัฒนาคุณภาพคือการทางาน มาตรฐานเดิม และสาหรับคนทางานบางคนคิดว่า งาน คือ ภาระ คือ ความเหนื่อยยาก เบื่อ เซ็ง นรก จาใจทา และถ้าจะทาให้ คนทางานคิดว่า งาน คือ ความท้าทาย สนุก ได้เพื่อน มิตรภาพและการเรียนรู้ ต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อไปให้ถึงคุณค่า และสะท้อนคิดเชิงคุณค่าได้ ยกตัวอย่าง คือ ได้ทา ได้สตางค์ ได้เรียน ได้สนุก ได้ภูมิใจ หัวใจที่สาคัญคือ จะทาอะไรก็ตาม ต้องตีคุณค่าให้แตก การเรียนจากการปฏิบัติงาน หรือ Open learning loop เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ลึกและเชื่อมโยง ต้องมีการทา Group reflection เช่น AAR (After Action Review) เป็นการเรียนรู้จากความเห็นต่าง เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการ หลักการ/ ทฤษฎี ระบบ เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ เรียนรู้จากผู้อื่น เรียนรู้ตนเอง เรียนรู้คุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น บทส่งท้าย VUCA (Volatile, Uncertain, Complex, Ambiguous) คือ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลง (Change) จึงเป็นความท้าทายที่ต้องเรียนรู้เพื่อให้เท่าทันเหตุการณ์ การเรียนรู้ที่ทาให้เกิดการพัฒนา คือ Growth mindset ที่จาเป็นต้องอาศัยการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง หรือ Transformative learning การเรียนรู้ที่ดีควรเป็นแบบ Double loop learning ที่คานึงถึง Goal strategy และ Result ซึ่งเทียบได้กับหลักคิดเชิงคุณภาพ Purpose process และ Performance และการ เรียนรู้แบบ Open loop learning ที่มาจากความท้าทาย เปรียบเทียบกับมาตรฐานภายนอก และการตั้งคาถามจึง จะเกิดการเรียนรู้แบบยั่งยืน เมื่อไร ที่ไหน ใคร ที่มีการทางาน ต้องมีกระบวนการเรียนรู้ และ Learning = Change /Transform หัวใจของการเรียนคือการตั้งคาถาม เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ต้องเรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยน (collaboration) ต้องถามหาความเห็นที่ต่าง ไม่เน้น ถูก - ผิด เรียนจากการทางานร่วมกัน ด้วย BAR, AAR และ Storytelling Collaboration คือการทางานร่วมกันแบบร่วมมือร่วมใจ อาศัยพื้นฐานความไว้วางใจ (Trust) ที่คนในองค์กรมีให้ ต่อกัน เป็นกุญแจสาคัญในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรคุณภาพ สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งสองทาง (Two-way Communication) โดยนาองค์ความรู้จากภายนอกมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง และสะท้อนผลของการปฏิบัติจากการทา Group reflection เพื่อให้เกิดเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนขององค์กร Sustainability หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน จะต้องมองถึงมิติด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืนเกิดจาก การทาเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย การพัฒนา เพื่อคุณค่า/เป้าหมายสูงส่ง อย่างต่อเนื่องเป็นวงจรคุณภาพด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ตีความเกณฑ์มาตรฐาน ทาให้ดีกว่า ยกระดับต่อเนื่อง ทาจนเป็นวัฒนธรรม และเรียนรู้กระบวนการสร้างความสุข โดยสรุปการเรียนรู้เป็นกุญแจสู่ความยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการเปลี่ยนแปลง และต้องมีเป้าหมายที่มีคุณค่าอัน สูงส่ง ข้อค้นพบใหม่ที่ได้จากเรื่อง การเปลี่ยนแปลงเกิดจากความท้าทาย จะทาให้เกิดการเรียนรู้แบบ Collective learning/ open learning loop/ double - loop learning/ transformative learning ด้วยการร่วมมือหน่วยงานอื่น โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานเป็นแหล่งความรู้ และมีพื้นที่เรียนรู้ร่วมกัน เช่น national HA Forum ปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1. การลงมือทางานด้วยการปฏิบัติจริง จะทาให้เกิดการเรียนรู้ 2. การเรียนรู้ที่ดี ต้องมีพื้นที่เรียนรู้ร่วมกัน 3. การตั้งคาถาม ถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้ และควรตั้งคาถามต่อหลักการ/เป้าหมาย/คุณค่า ที่เป็น Double loop learning เพื่อจะนาไปสู่ Innovation/Transformation ศึกษาเพิ่มเติม growth mindset ที่ Link https://www.gotoknow.org/posts/645908 Collaborative intelligence https://www.gotoknow.org/posts/638734
  • 4. ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งที่ 20 วันที่ 13-15 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุม Impact Forum เมืองทองธานี 4