SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
นภินธ์แย้มประยูรสวัสิ์ิ
ปัจจุบันองค์กรต้องเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของ 
สภาพแวดล้อมอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม 
การเมือง การปกครอง ก่อให้เกิดภาวการณ์แข่งขัน หากองค์กร 
ใดสามารถวิเคราะห์และคาดคะเนผลกระทบต่อองค์กรได้อย่าง 
แม่นยา และสามารถปรับปัจจัยต่างๆ ภายในองค์กรให้ 
สอดคล้องกับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม 
องค์กรนั้นย่อมได้รับประโยชน์สูงสุด โดยการต้องเร่ง 
พัฒนาบุคลากรทั้งในด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติและ 
ทักษะในการปฏิบัติงาน
การฝึกอบรมจึงมีบทบาทสาคัญเป็นอย่างมากใน 
การพัฒนาบุคลากร เพราะเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรใน 
องค์กรพัฒนาศักยภาพของตัวเองในการทางานให้กับ 
องค์กร 
ในองค์กรภาคธุรกิจนั้น การนาเทคโนโลยีและ 
เครื่องมือการสื่อสารใหม่ๆ เหล่านี้มาใช้ในการเรียนรู้ของ 
พนักงานมีความสาคัญยิ่ง เพราะจะทาให้ผู้เรียนสามารถ 
มองเห็นภาพและสามารถเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนได้มาก 
ยิ่งขึ้น
เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ให้ทั่วถึงและได้ทุกที่ ทุก 
เวลา ตรงกับความต้องการของแต่ละส่วนงานขององค์กร ได้ 
ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมเพื่อเป็นการเตรียม 
ความพร้อมในการพัฒนาองค์กร ดังนั้นจึงเป็นเรื่องน่าสนใจ 
การนาเทคโนโลยีโมบายเลิร์นนิ่ง เข้ามาช่วยส่งเสริมศักยภาพ 
การฝึกอบรมของบุคคลากรในองค์กร 
Mobile Learning 
for Training
โมบายเลิร์นนิ่ง 
คืออะไร…?
โมบายเลิร์นนิ่ง คือ 
การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instruction 
Package) ที่นำเสนอเนือ้หำและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเทคโนโลยีไร้ 
สำย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต 
ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลำ โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโดยใช้ 
สำยสัญญำณ 
ผู้เรียนและผู้สอนใช้เครื่องมือสำคัญ คือ อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ 
ได้โดยสะดวก ได้แก่Notebook Computer, Tablet, Smart Phones
โมบายเลิร์นนิ่ง นั้นแบ่งเป็น 2 ส่วน จากรากศัพท์ที่นามาประกอบกัน คือ 
Mobile (Devices) หมำยถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ หรือแทป 
เล็ต หรือแสดงภำพที่พกพำติดตัวไปได้ 
Learning หมำยถึงกำรเรียนรู้ เป็นกำรเปลี่ยนแปลงพฤตกิรรมอันเนื่องมำจำก 
บุคคลปะทะกับสิ่งแวดล้อมจึงเกิดประสบกำรณ์ กำรเรียนรู้เกิดขึน้ได้เมื่อ 
มีกำรแสวงหำควำมรู้ กำรพัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคคลให้มี 
ประสิทธิภำพดีขึน้ รวมไปถึงกระบวนกำรสร้ำงควำมเข้ำใจ และถ่ำยทอด 
ประสบกำรณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคล
โมบายเลิร์นนิ่ง 
จึงหมายถึงการเรียนการสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป 
(Instructional Package)ที่นำเสนอผ่ำนโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ 
คอมพิวเตอร์แบบพกพำ โดยใช้เทคโนโลยีโครงข่ำยโทรศัพท์ไร้สำย 
(Wireless Telecommunication Network) ที่สำมำรถเชื่อมต่อจำก 
โครงข่ำยแม่ข่ำย (Network Server) ผ่ำนจุดต่อแบบไร้สำย (Wireless 
Access Point) 
หรือกำรเรียนรู้โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพำที่ 
เชื่อมต่อกับข้อมูลแบบไร้สำย
กระบวนการเรียนรู้โดยโมบายเลิร์นนิ่ง 
พูลศรี เวศย์อุฬาร (2008) ได้อธิบำยกระบวนกำรเรียนรู้โดยโมบำยเลิร์นนิ่ง ว่ำ 
ประกอบด้วย 5 ขัน้ตอน ดังนี้ 
ขัน้ที่ 1 ผู้เรียนมีควำมพร้อม และเครื่องมือ 
ขัน้ที่ 2 เชื่อมต่อเข้ำสู่เครือข่ำย และพบเนือ้หำกำรเรียนที่ต้องกำร 
ขัน้ที่ 3 หำกพบเนือ้หำจะไปยังขัน้ที่ 4 แต่ถ้ำไม่พบจะกลับเข้ำสู่ขัน้ที่ 2 
ขัน้ที่ 4 ดำเนินกำรเรียนรู้ ซงึ่ไม่จำเป็นที่จะต้องอยู่ในเครือข่ำย 
ขัน้ที่ 5 ได้ผลกำรเรียนรู้ตำมวัตถุประสงค์
กระบวนการเรียนรู้โดยโมบายเลิร์นนิ่ง 
พูลศรี เวศย์อุฬาร (2008)
กระบวนการเรียนรู้โดยโมบายเลิร์นนิ่ง 
จะเห็นได้ว่าโมบายเลิร์นนิ่ง นั้นเกิดขึ้นได้โดยไร้ข้อจา กัด ด้าน 
เวลา และสถานที่ ที่สา คัญขอเพียงแต่ผู้เรียนมีความพร้อมและเครื่องมือ 
อีกทั้งเครือข่ายมีเนื้อหาที่ต้องการ จึงจะเกิดการเรียนรู้ขึ้น แล้วจะได้ผล 
การเรียนรู้ที่ปรารถนา 
หากขาดเนื้อหาในการเรียนรู้ กระบวนการดังกล่าวจะกลายเป็น 
เพียงการสื่อสาร กับเครือข่ายไร้สายนั่นเอง
แนวโน้มของการพัฒนา m-Learning 
พูลศรี เวศย์อุฬาร (2008) ได้ยกตัวอย่างการพัฒนา m-Learning ไว้ว่า 
ทา การพัฒนาระบบโดยใส่ไว้ในเครื่องโทรศัพท์มือถือและทา ให้ m- 
Learning เป็นส่วนหนึ่งของโทรศัพท์มือถือ และ m-Learning จะตอบสนองการ 
เรียนรู้ตามสถานที่ การเรียนรู้นอกสถานที่ผ่านโทรศัพท์มือถือโดยใช้อุปกรณ์ 
ระบบ GPS เพื่อใช้ประกอบการศึกษา 
- จะเป็นประโยชน์อย่างมากในกรณีทีมีการอัพเดทข้อมูลแบบเร่งด่วน 
- ช่วยเร่งการสนับสนุนหลักสูตรการฝึกอบรมและกลยุทธ์ข้อมูล 
การตลาดแบบติดตาม 
- ช่วยเหลือและเข้าถึงผู้คนที่ไม่สามารถเรียนรู้หรือร่วมงานฝึกอบรมตาม 
เวลาปกติ 
- ผู้เรียนสามารถศึกษาและดา เนินการฝึกอบรมได้ด้วยตนเองผ่าน M-Learning
แนวโน้มของการพัฒนา m-Learning 
จากบทความเรื่อง 10 Major Mobile Learning Trends to Watch For บน 
www.onlinecollege.org ได้นำเสนอแนวโน้มของ Mobile Learning ในห้องเรียน 
ศตวรรษที่ 21 
ตัวอย่ำง Mobile learning in workplace training โมบำยเลิร์นนิ่งไม่เพียงแต่ 
ถูกนำมำใช้ในโรงเรียนและมหำวิทยำลัยแต่ยังถูกนำไปใช้ในกำรฝึกอบรม 
ประสบกำรณ์ทำงำนด้วย มีกำรจัดเตรียมบทเรียน และแบบทดสอบใหม่ๆ หลำย 
บริษัทได้จัดเตรียมสมำร์ทโฟนไว้ใช้ในกำรทำงำนให้มีประสิทธิภำพสูงขึน้ โดยให้ 
ผู้เชี่ยวชำญแบ่งปันข้อมูลที่พวกเขำเชี่ยวชำญลงบน blogs หรือ podcasts 
นอกจำกนีอุ้ปกรณ์เคลื่อนที่ยังเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีสำหรับพนักงำนในสถำนกำรณ์ 
ที่พวกเขำไม่คุ้นเคย ช่วยสนับสนุนพนักงำนให้มีควำมมนั่ใจมำกขึน้ในกำรฝึก 
ปฏิบัติ (Onlinecollege, 2011)
ประโยชน์ของโมบายเลิร์นนิ่ง 
1. การเข้าถึงข้อมูล (Access) ได้ทุกที่ ทุกเวลา 
2. สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Context) เพราะ m-Learning ช่วยให้การ 
เรียนรู้จากสถานที่ใดก็ตามที่มีความต้องการเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น การสื่อสารกับ 
แหล่งข้อมูล และผู้สอนในการเรียนจากสิ่งต่างๆ เช่น ในพิพิธภัณฑ์ที่ผู้เรียนแต่ละคนมี 
เครื่องมือสื่อสารติดต่อกับวิทยากรหรือผู้สอนได้ตลอดเวลา 
3. การร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ 
ทุกที่ ทุกเวลา 
4. ทา ให้ผู้เรียนสนใจมากขึ้น (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น เช่น นักศึกษาที่ไม่ 
ค่อยสนใจเรียนในห้องเรียน แต่อยากจะเรียนด้วยตนเองมากขึ้นด้วย m-Learning
ข้อดีของโมบายเลิร์นนิ่ง 
- มีควำมเป็นส่วนตัว และอิสระที่จะเลือกเรียนรู้ และรับรู้ 
- ไม่มีข้อจำกัด ด้ำนเวลำ สถำนที่ เพิ่มควำมเป็นไปได้ในกำรเรียนรู้ 
- มีแรงจูงใจต่อกำรเรียนรู้มำกขึน้ 
- ส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ได้จริง 
- ทำให้เปลี่ยนสภำพกำรเรียนจำกที่ยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลำง ไปสู่กำรมี 
ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับผู้เรียน จึงเป็นกำรส่งเสริมให้มีกำรสื่อสำรกับเพื่อนและ 
ผู้สอนมำกขึน้ 
- สะดวกสบำยและมีประสิทธิภำพทัง้ในสภำพแวดล้อมทำงกำรเรียนและกำร 
ทำงำน 
- เครื่องประเภทพกพำต่ำงๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีควำมกระตือรือร้นทำงกำร 
เรียนและมีควำมรับผิดชอบต่อกำรเรียนด้วยตนเอง
ข้อเสียของโมบายเลิร์นนิ่ง 
- การเชื่อมต่อกับเครือข่าย ขึ้นอยู่กับความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ต 
- ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่เฉพาะในบางระบบ แต่อีกบางระบบไม่มีการรองรับ 
- ความแข็งแรงของเครื่องยังเทียบไม่ได้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ 
- การพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดมาตรฐานของการ 
ผลิตสื่อเพื่อ m-Learning 
- มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ตกรุ่นอย่างรวดเร็ว 
- เมื่อมีผู้ใช้เครือข่ายไร้สายมากขึ้น ทา ให้การรับส่งสัญญาณช้าลง 
- มาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูล
การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร 
การฝึกอบรมเป็นกระบวนการที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา 
บุคลากรให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ 
โดยมุ่งเน้นให้เกิดความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ใน 
การปฏิบัติงาน ให้มีทัศนคติ (Attitude) ที่ดีต่องาน ต่อผู้บริหาร และองค์การ 
ตลอดจนให้เกิดทักษะ (Skill) ความชานาญในงานที่ปฏิบัติ 
ทั้งนี้ เพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทา งาน และเพื่อเป็นการเตรียม 
บุคลากรไว้รองรับความเจริญเติบโตขององค์การที่ขยายตัวย่างรวดเร็ว และเตรียม 
ความพร้อมในการรับกับสภาพปัญหาอันอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
ความหมายของการฝึกอบรม 
การฝึกอบรม คือกระบวนกำรที่ทำให้ผู้เข้ำรับกำร 
อบรมเกิดกำรเรียนรู้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูน 
หรือพัฒนำสมรรถภำพในด้ำนต่ำงๆตลอดจน กำร 
ปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมำซึ่งกำรแสดงออกที่สอดคล้อง 
กับวัตถุประสงค์ที่ตัง้ไว้
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 
1. เพื่อปรับปรุงระดับควำมตระหนักรู้ในตนเอง (self – 
awareness) ของแต่ละบุคคล ควำมตระหนักรู้ในตนเอง 
2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะกำรทำงำน (job skills) ของแต่ละ 
บุคคล โดยอำจเป็นทักษะด้ำนใดด้ำนหนึ่งหรือหลำยด้ำนก็ได้ 
3. เพื่อเพิ่มพูนแรงจูงใจ (motivation) ของแต่ละบุคคล 
อันจะทำให้กำรปฏิบัติงำนเกิดผลดี แม้ว่ำบุคคลหนงึ่ ๆ จะมีควำมรู้ 
ควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติงำน แต่หำกขำดแรงจูงใจในกำรทำงำน 
แล้ว บุคคลนัน้ก็อำจจะมิได้ใช้ควำมรู้และควำมสำมรถของตนเองอย่ำง 
เต็มที่ และผลงำนก็ย่อมจำไม่มีประสิทธิภำพเท่ำที่ควร
วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 
 ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน 
 ช่วยส่งเสริมให้เกิดกำรประหยัด 
 ช่วยลดระยะเวลำในกำรเรียนรู้งำน 
 ช่วยลดภำระหน้ำที่ของหัวหน้ำงำน 
 ช่วยกระตุ้นบุคลำกรให้ปฏิบัติงำนเพื่อควำมก้ำวหน้ำ 
ของตน
การประยุกต์ใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร 
การฝึกอบรมถือจึงเป็นขั้นตอนสาคัญในการบริหารทรัพยากร 
มนุษย์ ตั้งแต่การสรรหา พัฒนา รักษาไว้ และใช้ประโยชน์ การได้มาซึ่ง 
บุคลากรที่ผ่านการคัดเลือก สรรหา จนได้คนเก่งที่มีความรู้จากระบบ 
การศึกษามาสู่องค์กรแล้ว จาเป็นต้องพัฒนาคนเก่งให้สามารถ 
ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง 
การฝึกอบรมเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรให้เป็นทรัพยากร 
มนุษย์ซึ่งมีคุณค่าและคุณภาพตามที่องค์การพึงประสงค์ ดังนั้น ทุก 
องค์กรจึงให้ความสาคัญกับการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรอย่าง 
จริงจัง ซึ่งจา เป็นต้องดา เนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
การประยุกต์ใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร 
หน่วยงำนด้ำนทรัพยำกรบุคคลไม่ว่ำจะเป็นของภำครัฐหรือภำคเอกชน 
ยังคงมีบทบำทและ หน้ำที่ควำมรับผิดชอบสำคัญยิ่งในด้ำนกำรฝึกอบรมแต่ 
บุคลำกรในหน่วยงำน เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถและศักยภำพในกำรปฏิบัติงำน 
เช่น กำรใช้เครื่องจักร สำหรับกำรผลิต กำรใช้งำนระบบกำรเงินและบัญชี และ 
กำรใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับกำรขำย เป็นต้นอย่ำงไรก็ตำม ผู้บริหำรยังคง 
ประสบปัญหำต่ำง ๆ อำทิเช่น กำรจัดกำรหลักสูตรยังไม่เหมำะสม บุคลำกรมี 
ควำมต้องกำรที่แตกต่ำงกัน ควำมยำกลำบำกในกำรจัดตำรำงเวลำ ค่ำใช้จ่ำยที่ 
เพิ่มขึน้ของกำรฝึกอบรม เป็นต้น ดังนัน้กำรนำโมบำยเทรนนิ่ง (M-training) มำ 
ประยุกต์ใช้จึงเป็นอีกแนวทำงหนึ่งเพื่อบรรเทำปัญหำ และลดระยะเวลำในกำร 
ฝึกอบรมได้
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร 
ทุกวันนีก้ำรฝึกอบรมขององค์กรทวั่โลกมีมูลค่ำรวมมำกกว่ำ $ 290,000,000,000 
ในขนำดที่มีมำกกว่ำ $ 130,000,000,000 ถูกใช้ในทวีปอเมริกำเหนือซงึ่ 40% ของทัง้หมด 
คือกำรใช้ e-learning 125 บริษัท ทวั่โลก มีค่ำใช้จ่ำยเฉลี่ย $ 119,000,000 ตอ่ปีในกำร 
ฝึกอบรมพนักงำน และส่วนของ e-learning มีกำรเติบโตที่ 23% ต่อปี 
บริษัท Morfmedia ได้มองกำรฝึกอบรมแบบเดิมเป็นสิ่งที่น่ำเบื่อ เต็มไปด้วย 
เนือ้หำ เอกสำรที่มำกมำย ทำให้ต้องศึกษำเอกสำรจำนวนมำก ต้องอบรมแต่เฉพำะที่ 
ทำงำน เสร็จแล้วยังต้องเอำเอกสำรกำรฝึกอบรมไปศึกษำต่อที่บ้ำน ทำให้ Morfmedia ได้ 
จับเอำปัญหำเหล่ำนีม้ำแก้ไขด้วยกำรพัฒนำ mobile game based training เพื่อให้กำร 
ฝึกอบรมมีควำมทันสมัย และด้วยกำรทำเอำเทคโนโลยีโมบำยมำมีส่วนร่วม ด้วยแนวคิด 
ที่ว่ำ เรียนรู้ที่ใดก็ได้ ไม่ว่ำจะเวลำอำหำรกลำงวัน หรือสถำนที่ใดก็ได้(morfmedia,2012) 
นีก้็ถือเป็นหนงึ่ในแนวทำงกำรประยุกต์ใช้โมบำยเลิร์นนิ่งเพื่อกำรฝึกอบรมบุคลำกรใน 
องค์กรได้อีกทำงหนึ่ง
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร 
Klopfer, Squire, Holland and Jenkins (2002) เสนอความคิดว่า M-Learning 
นั้นเป็นโซลูชั่นของการฝึกอบรมการปฏิบัติในสถานที่ทา งาน ซึ่ง 
อธิบายไว้ว่าเป็นสิ่งที่พกพาง่าย เป็นการสื่อสารทางสังคม ความไวต่อการเข้าถึง 
ข้อมูลที่หลากหลาย และการเชื่อมต่อข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นได้อย่างสะดวก จึง 
เหมาสาหรับเป็นเครื่องมือเพื่อใช้ในการฝึกอบรมสาหรับองค์กร 
Lundin and Magnusson (2003) ได้พบว่าเทคโนโลยีโมบายได้แก้ไข 
ข้อจา กัดของการกระจายตัวกันของพนักงาน กล่าวคือการทา งานโดยทั่วไป 
พนักงานมักจะไม่ค่อยมีเวลาได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนการทา งานซึ่งกันและกัน 
ทา ให้โมบายเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มการติดต่อสื่อสารกันในองค์กร เป็นการช่วย 
ในเรื่องการพัฒนาพนักงานอีกทางหนึ่ง
แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร 
เมื่อกล่ำวถึงกำรฝึกอบรม (Training) ในรูปแบบเดิมๆหลำยคนคง 
นึกถึงห้องประชุมสี่เหลี่ยม มีโต๊ะเรียน มีเอกสำรประกอบกำรฝึกอบรม และมี 
วิทยำกร (Trainer) ที่มำถ่ำยทอดควำมรู้ในหัวข้อที่ฝึกอบรม นนั่คือกำร 
ฝึกอบรมที่พวกเรำคงคุ้นเคยกัน แต่ในควำมเป็นจริงแล้วคำว่ำ “ กำร 
ฝึกอบรม ” นัน้จะมีสีสัน และมีควำมน่ำสนใจมำกกว่ำทีเดียว ถ้ำผู้ที่ดูแลด้ำน 
กำรฝึกอบรมในองค์กรได้นำโมบำยเทคโนโลยีมำช่วยเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของกำร 
ฝึกอบรม เพรำะจะสำมำรถทำให้พนักงำนในองค์กร เกิดกำรเรียนรู้ จนสำมำรถ 
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในส่วนของ ควำมรู้ (Knowledge) ทักษะ ( Skill 
) และทัศนคติ (Attitude) ในกำรทำงำน ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อเป็น 
กำรสร้ำงควำมสำมำรถของพนักงำนทุกระดับให้มีแรงนำองค์กรไปสู่ควำมสำเร็จ 
ได้
ขอบคุณครับ
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.

More Related Content

What's hot

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้Satapon Yosakonkun
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 

What's hot (11)

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้ทีโอที กับ การจัดการความรู้
ทีโอที กับ การจัดการความรู้
 
Hr of TAT
Hr of TATHr of TAT
Hr of TAT
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

Similar to Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.

การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพChalermpon Dondee
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธินสรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธินIt Sdu
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Similar to Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate. (20)

การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธินสรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 

Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.

  • 2. ปัจจุบันองค์กรต้องเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ก่อให้เกิดภาวการณ์แข่งขัน หากองค์กร ใดสามารถวิเคราะห์และคาดคะเนผลกระทบต่อองค์กรได้อย่าง แม่นยา และสามารถปรับปัจจัยต่างๆ ภายในองค์กรให้ สอดคล้องกับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม องค์กรนั้นย่อมได้รับประโยชน์สูงสุด โดยการต้องเร่ง พัฒนาบุคลากรทั้งในด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติและ ทักษะในการปฏิบัติงาน
  • 3. การฝึกอบรมจึงมีบทบาทสาคัญเป็นอย่างมากใน การพัฒนาบุคลากร เพราะเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรใน องค์กรพัฒนาศักยภาพของตัวเองในการทางานให้กับ องค์กร ในองค์กรภาคธุรกิจนั้น การนาเทคโนโลยีและ เครื่องมือการสื่อสารใหม่ๆ เหล่านี้มาใช้ในการเรียนรู้ของ พนักงานมีความสาคัญยิ่ง เพราะจะทาให้ผู้เรียนสามารถ มองเห็นภาพและสามารถเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนได้มาก ยิ่งขึ้น
  • 4. เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ให้ทั่วถึงและได้ทุกที่ ทุก เวลา ตรงกับความต้องการของแต่ละส่วนงานขององค์กร ได้ ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมเพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อมในการพัฒนาองค์กร ดังนั้นจึงเป็นเรื่องน่าสนใจ การนาเทคโนโลยีโมบายเลิร์นนิ่ง เข้ามาช่วยส่งเสริมศักยภาพ การฝึกอบรมของบุคคลากรในองค์กร Mobile Learning for Training
  • 6. โมบายเลิร์นนิ่ง คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instruction Package) ที่นำเสนอเนือ้หำและกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเทคโนโลยีไร้ สำย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลำ โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโดยใช้ สำยสัญญำณ ผู้เรียนและผู้สอนใช้เครื่องมือสำคัญ คือ อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ ได้โดยสะดวก ได้แก่Notebook Computer, Tablet, Smart Phones
  • 7. โมบายเลิร์นนิ่ง นั้นแบ่งเป็น 2 ส่วน จากรากศัพท์ที่นามาประกอบกัน คือ Mobile (Devices) หมำยถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ หรือแทป เล็ต หรือแสดงภำพที่พกพำติดตัวไปได้ Learning หมำยถึงกำรเรียนรู้ เป็นกำรเปลี่ยนแปลงพฤตกิรรมอันเนื่องมำจำก บุคคลปะทะกับสิ่งแวดล้อมจึงเกิดประสบกำรณ์ กำรเรียนรู้เกิดขึน้ได้เมื่อ มีกำรแสวงหำควำมรู้ กำรพัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคคลให้มี ประสิทธิภำพดีขึน้ รวมไปถึงกระบวนกำรสร้ำงควำมเข้ำใจ และถ่ำยทอด ประสบกำรณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคล
  • 8. โมบายเลิร์นนิ่ง จึงหมายถึงการเรียนการสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instructional Package)ที่นำเสนอผ่ำนโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ คอมพิวเตอร์แบบพกพำ โดยใช้เทคโนโลยีโครงข่ำยโทรศัพท์ไร้สำย (Wireless Telecommunication Network) ที่สำมำรถเชื่อมต่อจำก โครงข่ำยแม่ข่ำย (Network Server) ผ่ำนจุดต่อแบบไร้สำย (Wireless Access Point) หรือกำรเรียนรู้โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพำที่ เชื่อมต่อกับข้อมูลแบบไร้สำย
  • 9. กระบวนการเรียนรู้โดยโมบายเลิร์นนิ่ง พูลศรี เวศย์อุฬาร (2008) ได้อธิบำยกระบวนกำรเรียนรู้โดยโมบำยเลิร์นนิ่ง ว่ำ ประกอบด้วย 5 ขัน้ตอน ดังนี้ ขัน้ที่ 1 ผู้เรียนมีควำมพร้อม และเครื่องมือ ขัน้ที่ 2 เชื่อมต่อเข้ำสู่เครือข่ำย และพบเนือ้หำกำรเรียนที่ต้องกำร ขัน้ที่ 3 หำกพบเนือ้หำจะไปยังขัน้ที่ 4 แต่ถ้ำไม่พบจะกลับเข้ำสู่ขัน้ที่ 2 ขัน้ที่ 4 ดำเนินกำรเรียนรู้ ซงึ่ไม่จำเป็นที่จะต้องอยู่ในเครือข่ำย ขัน้ที่ 5 ได้ผลกำรเรียนรู้ตำมวัตถุประสงค์
  • 11. กระบวนการเรียนรู้โดยโมบายเลิร์นนิ่ง จะเห็นได้ว่าโมบายเลิร์นนิ่ง นั้นเกิดขึ้นได้โดยไร้ข้อจา กัด ด้าน เวลา และสถานที่ ที่สา คัญขอเพียงแต่ผู้เรียนมีความพร้อมและเครื่องมือ อีกทั้งเครือข่ายมีเนื้อหาที่ต้องการ จึงจะเกิดการเรียนรู้ขึ้น แล้วจะได้ผล การเรียนรู้ที่ปรารถนา หากขาดเนื้อหาในการเรียนรู้ กระบวนการดังกล่าวจะกลายเป็น เพียงการสื่อสาร กับเครือข่ายไร้สายนั่นเอง
  • 12. แนวโน้มของการพัฒนา m-Learning พูลศรี เวศย์อุฬาร (2008) ได้ยกตัวอย่างการพัฒนา m-Learning ไว้ว่า ทา การพัฒนาระบบโดยใส่ไว้ในเครื่องโทรศัพท์มือถือและทา ให้ m- Learning เป็นส่วนหนึ่งของโทรศัพท์มือถือ และ m-Learning จะตอบสนองการ เรียนรู้ตามสถานที่ การเรียนรู้นอกสถานที่ผ่านโทรศัพท์มือถือโดยใช้อุปกรณ์ ระบบ GPS เพื่อใช้ประกอบการศึกษา - จะเป็นประโยชน์อย่างมากในกรณีทีมีการอัพเดทข้อมูลแบบเร่งด่วน - ช่วยเร่งการสนับสนุนหลักสูตรการฝึกอบรมและกลยุทธ์ข้อมูล การตลาดแบบติดตาม - ช่วยเหลือและเข้าถึงผู้คนที่ไม่สามารถเรียนรู้หรือร่วมงานฝึกอบรมตาม เวลาปกติ - ผู้เรียนสามารถศึกษาและดา เนินการฝึกอบรมได้ด้วยตนเองผ่าน M-Learning
  • 13.
  • 14. แนวโน้มของการพัฒนา m-Learning จากบทความเรื่อง 10 Major Mobile Learning Trends to Watch For บน www.onlinecollege.org ได้นำเสนอแนวโน้มของ Mobile Learning ในห้องเรียน ศตวรรษที่ 21 ตัวอย่ำง Mobile learning in workplace training โมบำยเลิร์นนิ่งไม่เพียงแต่ ถูกนำมำใช้ในโรงเรียนและมหำวิทยำลัยแต่ยังถูกนำไปใช้ในกำรฝึกอบรม ประสบกำรณ์ทำงำนด้วย มีกำรจัดเตรียมบทเรียน และแบบทดสอบใหม่ๆ หลำย บริษัทได้จัดเตรียมสมำร์ทโฟนไว้ใช้ในกำรทำงำนให้มีประสิทธิภำพสูงขึน้ โดยให้ ผู้เชี่ยวชำญแบ่งปันข้อมูลที่พวกเขำเชี่ยวชำญลงบน blogs หรือ podcasts นอกจำกนีอุ้ปกรณ์เคลื่อนที่ยังเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีสำหรับพนักงำนในสถำนกำรณ์ ที่พวกเขำไม่คุ้นเคย ช่วยสนับสนุนพนักงำนให้มีควำมมนั่ใจมำกขึน้ในกำรฝึก ปฏิบัติ (Onlinecollege, 2011)
  • 15. ประโยชน์ของโมบายเลิร์นนิ่ง 1. การเข้าถึงข้อมูล (Access) ได้ทุกที่ ทุกเวลา 2. สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Context) เพราะ m-Learning ช่วยให้การ เรียนรู้จากสถานที่ใดก็ตามที่มีความต้องการเรียนรู้ ยกตัวอย่างเช่น การสื่อสารกับ แหล่งข้อมูล และผู้สอนในการเรียนจากสิ่งต่างๆ เช่น ในพิพิธภัณฑ์ที่ผู้เรียนแต่ละคนมี เครื่องมือสื่อสารติดต่อกับวิทยากรหรือผู้สอนได้ตลอดเวลา 3. การร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ ทุกที่ ทุกเวลา 4. ทา ให้ผู้เรียนสนใจมากขึ้น (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น เช่น นักศึกษาที่ไม่ ค่อยสนใจเรียนในห้องเรียน แต่อยากจะเรียนด้วยตนเองมากขึ้นด้วย m-Learning
  • 16. ข้อดีของโมบายเลิร์นนิ่ง - มีควำมเป็นส่วนตัว และอิสระที่จะเลือกเรียนรู้ และรับรู้ - ไม่มีข้อจำกัด ด้ำนเวลำ สถำนที่ เพิ่มควำมเป็นไปได้ในกำรเรียนรู้ - มีแรงจูงใจต่อกำรเรียนรู้มำกขึน้ - ส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ได้จริง - ทำให้เปลี่ยนสภำพกำรเรียนจำกที่ยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลำง ไปสู่กำรมี ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับผู้เรียน จึงเป็นกำรส่งเสริมให้มีกำรสื่อสำรกับเพื่อนและ ผู้สอนมำกขึน้ - สะดวกสบำยและมีประสิทธิภำพทัง้ในสภำพแวดล้อมทำงกำรเรียนและกำร ทำงำน - เครื่องประเภทพกพำต่ำงๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีควำมกระตือรือร้นทำงกำร เรียนและมีควำมรับผิดชอบต่อกำรเรียนด้วยตนเอง
  • 17. ข้อเสียของโมบายเลิร์นนิ่ง - การเชื่อมต่อกับเครือข่าย ขึ้นอยู่กับความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ต - ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่เฉพาะในบางระบบ แต่อีกบางระบบไม่มีการรองรับ - ความแข็งแรงของเครื่องยังเทียบไม่ได้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ - การพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดมาตรฐานของการ ผลิตสื่อเพื่อ m-Learning - มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ตกรุ่นอย่างรวดเร็ว - เมื่อมีผู้ใช้เครือข่ายไร้สายมากขึ้น ทา ให้การรับส่งสัญญาณช้าลง - มาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูล
  • 18. การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร การฝึกอบรมเป็นกระบวนการที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา บุคลากรให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ โดยมุ่งเน้นให้เกิดความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ใน การปฏิบัติงาน ให้มีทัศนคติ (Attitude) ที่ดีต่องาน ต่อผู้บริหาร และองค์การ ตลอดจนให้เกิดทักษะ (Skill) ความชานาญในงานที่ปฏิบัติ ทั้งนี้ เพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทา งาน และเพื่อเป็นการเตรียม บุคลากรไว้รองรับความเจริญเติบโตขององค์การที่ขยายตัวย่างรวดเร็ว และเตรียม ความพร้อมในการรับกับสภาพปัญหาอันอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
  • 19. ความหมายของการฝึกอบรม การฝึกอบรม คือกระบวนกำรที่ทำให้ผู้เข้ำรับกำร อบรมเกิดกำรเรียนรู้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อเพิ่มพูน หรือพัฒนำสมรรถภำพในด้ำนต่ำงๆตลอดจน กำร ปรับปรุงพฤติกรรม อันนำมำซึ่งกำรแสดงออกที่สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ที่ตัง้ไว้
  • 20. วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 1. เพื่อปรับปรุงระดับควำมตระหนักรู้ในตนเอง (self – awareness) ของแต่ละบุคคล ควำมตระหนักรู้ในตนเอง 2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะกำรทำงำน (job skills) ของแต่ละ บุคคล โดยอำจเป็นทักษะด้ำนใดด้ำนหนึ่งหรือหลำยด้ำนก็ได้ 3. เพื่อเพิ่มพูนแรงจูงใจ (motivation) ของแต่ละบุคคล อันจะทำให้กำรปฏิบัติงำนเกิดผลดี แม้ว่ำบุคคลหนงึ่ ๆ จะมีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติงำน แต่หำกขำดแรงจูงใจในกำรทำงำน แล้ว บุคคลนัน้ก็อำจจะมิได้ใช้ควำมรู้และควำมสำมรถของตนเองอย่ำง เต็มที่ และผลงำนก็ย่อมจำไม่มีประสิทธิภำพเท่ำที่ควร
  • 21. วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม  ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน  ช่วยส่งเสริมให้เกิดกำรประหยัด  ช่วยลดระยะเวลำในกำรเรียนรู้งำน  ช่วยลดภำระหน้ำที่ของหัวหน้ำงำน  ช่วยกระตุ้นบุคลำกรให้ปฏิบัติงำนเพื่อควำมก้ำวหน้ำ ของตน
  • 22. การประยุกต์ใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร การฝึกอบรมถือจึงเป็นขั้นตอนสาคัญในการบริหารทรัพยากร มนุษย์ ตั้งแต่การสรรหา พัฒนา รักษาไว้ และใช้ประโยชน์ การได้มาซึ่ง บุคลากรที่ผ่านการคัดเลือก สรรหา จนได้คนเก่งที่มีความรู้จากระบบ การศึกษามาสู่องค์กรแล้ว จาเป็นต้องพัฒนาคนเก่งให้สามารถ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง การฝึกอบรมเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรให้เป็นทรัพยากร มนุษย์ซึ่งมีคุณค่าและคุณภาพตามที่องค์การพึงประสงค์ ดังนั้น ทุก องค์กรจึงให้ความสาคัญกับการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรอย่าง จริงจัง ซึ่งจา เป็นต้องดา เนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
  • 23. การประยุกต์ใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการพัฒนาการฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร หน่วยงำนด้ำนทรัพยำกรบุคคลไม่ว่ำจะเป็นของภำครัฐหรือภำคเอกชน ยังคงมีบทบำทและ หน้ำที่ควำมรับผิดชอบสำคัญยิ่งในด้ำนกำรฝึกอบรมแต่ บุคลำกรในหน่วยงำน เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถและศักยภำพในกำรปฏิบัติงำน เช่น กำรใช้เครื่องจักร สำหรับกำรผลิต กำรใช้งำนระบบกำรเงินและบัญชี และ กำรใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับกำรขำย เป็นต้นอย่ำงไรก็ตำม ผู้บริหำรยังคง ประสบปัญหำต่ำง ๆ อำทิเช่น กำรจัดกำรหลักสูตรยังไม่เหมำะสม บุคลำกรมี ควำมต้องกำรที่แตกต่ำงกัน ควำมยำกลำบำกในกำรจัดตำรำงเวลำ ค่ำใช้จ่ำยที่ เพิ่มขึน้ของกำรฝึกอบรม เป็นต้น ดังนัน้กำรนำโมบำยเทรนนิ่ง (M-training) มำ ประยุกต์ใช้จึงเป็นอีกแนวทำงหนึ่งเพื่อบรรเทำปัญหำ และลดระยะเวลำในกำร ฝึกอบรมได้
  • 24. แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร ทุกวันนีก้ำรฝึกอบรมขององค์กรทวั่โลกมีมูลค่ำรวมมำกกว่ำ $ 290,000,000,000 ในขนำดที่มีมำกกว่ำ $ 130,000,000,000 ถูกใช้ในทวีปอเมริกำเหนือซงึ่ 40% ของทัง้หมด คือกำรใช้ e-learning 125 บริษัท ทวั่โลก มีค่ำใช้จ่ำยเฉลี่ย $ 119,000,000 ตอ่ปีในกำร ฝึกอบรมพนักงำน และส่วนของ e-learning มีกำรเติบโตที่ 23% ต่อปี บริษัท Morfmedia ได้มองกำรฝึกอบรมแบบเดิมเป็นสิ่งที่น่ำเบื่อ เต็มไปด้วย เนือ้หำ เอกสำรที่มำกมำย ทำให้ต้องศึกษำเอกสำรจำนวนมำก ต้องอบรมแต่เฉพำะที่ ทำงำน เสร็จแล้วยังต้องเอำเอกสำรกำรฝึกอบรมไปศึกษำต่อที่บ้ำน ทำให้ Morfmedia ได้ จับเอำปัญหำเหล่ำนีม้ำแก้ไขด้วยกำรพัฒนำ mobile game based training เพื่อให้กำร ฝึกอบรมมีควำมทันสมัย และด้วยกำรทำเอำเทคโนโลยีโมบำยมำมีส่วนร่วม ด้วยแนวคิด ที่ว่ำ เรียนรู้ที่ใดก็ได้ ไม่ว่ำจะเวลำอำหำรกลำงวัน หรือสถำนที่ใดก็ได้(morfmedia,2012) นีก้็ถือเป็นหนงึ่ในแนวทำงกำรประยุกต์ใช้โมบำยเลิร์นนิ่งเพื่อกำรฝึกอบรมบุคลำกรใน องค์กรได้อีกทำงหนึ่ง
  • 28. แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร Klopfer, Squire, Holland and Jenkins (2002) เสนอความคิดว่า M-Learning นั้นเป็นโซลูชั่นของการฝึกอบรมการปฏิบัติในสถานที่ทา งาน ซึ่ง อธิบายไว้ว่าเป็นสิ่งที่พกพาง่าย เป็นการสื่อสารทางสังคม ความไวต่อการเข้าถึง ข้อมูลที่หลากหลาย และการเชื่อมต่อข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นได้อย่างสะดวก จึง เหมาสาหรับเป็นเครื่องมือเพื่อใช้ในการฝึกอบรมสาหรับองค์กร Lundin and Magnusson (2003) ได้พบว่าเทคโนโลยีโมบายได้แก้ไข ข้อจา กัดของการกระจายตัวกันของพนักงาน กล่าวคือการทา งานโดยทั่วไป พนักงานมักจะไม่ค่อยมีเวลาได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนการทา งานซึ่งกันและกัน ทา ให้โมบายเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มการติดต่อสื่อสารกันในองค์กร เป็นการช่วย ในเรื่องการพัฒนาพนักงานอีกทางหนึ่ง
  • 29. แนวทางการใช้โมบายเลิร์นนิ่งเพื่อการฝึกอบรมบุคลากร เมื่อกล่ำวถึงกำรฝึกอบรม (Training) ในรูปแบบเดิมๆหลำยคนคง นึกถึงห้องประชุมสี่เหลี่ยม มีโต๊ะเรียน มีเอกสำรประกอบกำรฝึกอบรม และมี วิทยำกร (Trainer) ที่มำถ่ำยทอดควำมรู้ในหัวข้อที่ฝึกอบรม นนั่คือกำร ฝึกอบรมที่พวกเรำคงคุ้นเคยกัน แต่ในควำมเป็นจริงแล้วคำว่ำ “ กำร ฝึกอบรม ” นัน้จะมีสีสัน และมีควำมน่ำสนใจมำกกว่ำทีเดียว ถ้ำผู้ที่ดูแลด้ำน กำรฝึกอบรมในองค์กรได้นำโมบำยเทคโนโลยีมำช่วยเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของกำร ฝึกอบรม เพรำะจะสำมำรถทำให้พนักงำนในองค์กร เกิดกำรเรียนรู้ จนสำมำรถ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในส่วนของ ควำมรู้ (Knowledge) ทักษะ ( Skill ) และทัศนคติ (Attitude) ในกำรทำงำน ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อเป็น กำรสร้ำงควำมสำมำรถของพนักงำนทุกระดับให้มีแรงนำองค์กรไปสู่ควำมสำเร็จ ได้