SlideShare a Scribd company logo
แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู
รายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4
ชุดที่ 3 นิโรธ
ประทุม อรามศักดิ์
ครูชํานาญการ
โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา
แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู วิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ชุดที่ 3 เรื่อง นิโรธ วาดวย สุข 2 เลมนี้ ไดจัดทํา
ขึ้นตามหลักสูตรพุทธศักราช 2544 โดยคนควาจากหนังสือ ตํารา และเอกสารตาง ๆ และ
ประสบการณการสอนวิชาพระพุทธศาสนามาเปนเวลา 30 ป จึงไดพัฒนาสื่อการสอนชุดนี้เพื่อ
ใชประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่เนนทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ทําใหผูเรียน
สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห การเผชิญปญหา และหาทางแกปญหาได
ดวยตนเอง
การเรียบเรียงแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู วิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 เลมนี้
มีโครงสรางตามคําอธิบายรายวิชาในหนวยพระธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 ไดเนนใหผูเรียนเกิด
ความเขาใจ เห็นความจําเปนที่จะตองศึกษา ปฏิบัติตน และสามารถตัดสินใจเลือกแนวทาง
ในการปฏิบัติ โดยตระหนักถึงปญหาที่เกิดขึ้น หาวิธีแกไขที่ถูกตอง จนสามารถนําไป
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันและอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูเลมนี้ จะเปนประโยชน
แกนักเรียนและเพื่อนครูที่สอนรายวิชานี้ และเปนประโยชนตอความกาวหนาทางวิชาการของ
ครูผูสอน ขาพเจาขอขอบพระคุณเจาของตําราและเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อใหเอกสารเลมนี้
มีความสมบูรณขึ้น แตหากผูอานพบขอผิดพลาดประการใด กรุณาใหคําแนะนําแกขาพเจาดวย
จักขอบพระคุณยิ่ง
ประทุม อรามศักดิ์
ครูชํานาญการ
สารบัญ
หนา
คําชี้แจง ก
คําแนะนําสําหรับครู ข
คําแนะนําสําหรับนักเรียน ค
แผนภูมิการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู ง
แผนภูมิ ชุดที่ 3 1
แบบทดสอบกอนเรียน 2
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 5
ใบความรูเรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ 6
ใบกิจกรรมที่ 1 10
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 1 11
ใบกิจกรรมที่ 2 12
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 2 13
ใบกิจกรรมที่ 3 14
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 3 15
ใบกิจกรรมที่ 4 16
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 4 17
ใบกิจกรรมที่ 5 19
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 5 21
แบบทดสอบหลังเรียน 23
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 26
บรรณานุกรม 27
ภาคผนวก 29
หนังสืออานเพิ่มเติม 29
คําชี้แจง
แบบฝกเสริมทักษะรายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวย
พระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ชุดที่ 3 เรื่อง นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ จัดทําขึ้นเพื่อใหผูเรียน ครู และผูที่สนใจใชเปนแบบฝกเสริมทักษะการ
เรียนรู โดยมุงใหผูเรียนเกิดพัฒนาทางดานตาง ๆ เชน ทักษะการคิด วิเคราะห การเผชิญ
ปญหา และการหาแนวทางในการแกปญหาไดถูกตองเหมาะสม
ภายในเลมประกอบดวย
1. คําแนะนําสําหรับครู
2. คําแนะนําสําหรับนักเรียน
3. แผนภูมิการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู
4. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
5. จุดประสงคการเรียนรู
6. แบบทดสอบกอนเรียน
7. ใบความรู
8. ใบกิจกรรม
9. แนวตอบใบกิจกรรม
10. แบบทดสอบหลังเรียน
11. เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ก
คําแนะนําสําหรับครู
แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูชุดที่ 3 นี้ใชประกอบการเรียนการสอนคูกับแผนการ
จัดการเรียนรูที่ 3 รายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม
เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูคูกับแผนการจัดการเรียนรูในเรื่อง
เดียวกันมาลวงหนาอยางละเอียด
2. เตรียมสื่ออุปกรณการเรียนการสอนที่จะตองใชทํากิจกรรมในแตละครั้งให
พรอมกอนสอน หากมีปญหาจะไดแกไขกอนทําการสอน
3. การสอนเนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการโดยมุงใหผูเรียนเกิดพัฒนาการ
ทางดานตาง ๆ เชน ทักษะการคิด วิเคราะห การเผชิญปญหา และการหาแนวทางในการ
แกปญหาไดถูกตองเหมาะสม
4. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมผูเรียนทั้งรายบุคคล
และรายกลุม
5. ตรวจแนวคําตอบใบกิจกรรมจากใบเฉลยกิจกรรมเพื่อดูการพัฒนาการเรียนรู
ของนักเรียน
6. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูครบทุกชุดแลว ใหนักเรียนทํา
แบบทดสอบหลังเรียนลงในกระดาษคําตอบ
7. ตรวจกระดาษคําตอบของแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน
8. กระตุนใหนักเรียนเรียนรูอยางตั้งใจและสนใจปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครู
มอบหมายเพื่อใหการเรียนการสอนบรรลุตามจุดประสงคอยางมีประสิทธิภาพ
9. ครูตองควบคุมการใชแบบฝกเสริมทักษะอยางระมัดระวังและรวดเร็ว
ทันเวลา
10. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนการสอนแตละครั้ง ครูตองใหนักเรียนเก็บสื่อ
การเรียนใหเปนระเบียบเรียบรอย หากชุดใดชํารุดก็ซอมแซมเพื่อเก็บไวใชครั้งตอไป
ข
คําแนะนําสําหรับนักเรียน
แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู ชุดที่ 3 นี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชา
พระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4
นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้
1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 10 ขอลงในกระดาษคําตอบ
2. ศึกษาแบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 3 เรื่องนิโรธ ตามลําดับกิจกรรม และทําใบ
กิจกรรมตามที่กําหนดให
3. ครูตรวจใบกิจกรรม ใหคะแนน
4. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ครูจะสังเกตและประเมินพฤติกรรมผูเรียนทั้งรายบุคคล
และรายกลุม
5. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะ ตรวจแนวคําตอบใบกิจกรรมจากใบเฉลยกิจกรรม
เพื่อดูการพัฒนาการเรียนรูของตนเอง
6. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูครบทุกชุดแลว ทําแบบทดสอบหลัง
เรียนลงในกระดาษคําตอบ
7. ตรวจกระดาษคําตอบของแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน เพื่อดูการ
พัฒนาการเรียนรูของตนเอง
8. การเรียนรูนักเรียนควรตั้งใจและสนใจปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย
เพื่อใหการเรียนรูของนักเรียนบรรลุตามจุดประสงคอยางมีประสิทธิภาพ
9. นักเรียนควรใชแบบฝกเสริมทักษะอยางระมัดระวังและรวดเร็วทันเวลา
10. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนการสอนแตละครั้ง จะควรเก็บสื่อการเรียนให
เปนระเบียบเรียบรอย
ค
แผนภูมิการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู
ศึกษาคําแนะนําในการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู
ทดสอบกอนเรียน
ศึกษาแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูตามลําดับ
ทํากิจกรรมแตละใบกิจกรรม
ทดสอบหลังเรียน
ผาน ไมผาน
จบ พบครูรายบุคคล
ง
1
ชุดที่ 3
หนวย พระธรรม
เรื่อง
หลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธ
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
นักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง
นิโรธได
สาระการเรียนรู
1. ความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
2. ประเภทของหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
3. แนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
4. การปฏิบัติตนที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
2
กอนศึกษาชุดฝกเสริมทักษะ
มาทําแบบทดสอบกอนเรียนกันกอนนะจะ
3
แบบทดสอบกอนเรียน
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. นิโรธ มีความหมายตรงกับขอใด
ก. ความไมสบายกายไมสบายใจ
ข. หนทางแหงการดับทุกข
ค. สาเหตุที่ทําใหเกิดความทุกข
ง. การดับทุกข
2. “กายิกสุข” หมายถึงอะไร
ก. ความสุขทางอารมณ
ข. ความสุขทางวัตถุ
ค. ความสุขทางกาย
ง. ความสุขทางใจ
3. ความสุขของคฤหัสถหรือผูครองเรือน ขอใดสําคัญที่สุด
ก. ประพฤติไมมีโทษ
ข. มีทรัพย
ค. จายทรัพย
ง. ไมมีหนี้
4. หลักธรรมอริยสัจ 4 นั้น เปนธรรมวาดวยเรื่องเหตุ และผล ขอใดจัดอยูในสวนของผล
ก. ทุกข – สมุทัย
ข. ทุกข – นิโรธ
ค. นิโรธ – มรรค
ง. สมุทัย – มรรค
4
5. การดับทุกขใหสําเร็จ เปนการเดินไปสูหนทางใด
ก. สกทาคามี
ข. อนาคามี
ค. นิพพาน
ง. โสดาบัน
6. ขอใดจัดเปนสามิสสุข
ก. สรอยสุดา ไปพักผอนที่บานตากอากาศสวนตัว
ข. คําปน เปนคนรับใชที่ซื่อสัตยสุจริต
ค. ลัดดา ชวยเหลืองานบานโดยไมตองออกปาก
ง. คุณยายไปวิปสสนารักษาศีลที่วัดทุกวันพระ
7. ผูมีความสุขอยางแทจริง เมื่อไดรูแจงเห็นจริงในสัจธรรม แสดงวาเขาอยูในขั้นใด
ก. เขาใจในทุกข
ข. ลงมือปฏิบัติเพื่อการดับทุกข
ค. รูตนสายปลายเหตุแหงทุกข
ง. รูขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข
8. เพราะเหตุใดพระพุทธเจาใหความสําคัญกับหลักอริยสัจ 4 มาก
ก. ตองการใหมนุษยละชั่วและทําดี
ข. ตองการใหมนุษยรูจักการแกปญหา
ค. ตองการใหมนุษยยอมรับสภาพความจริง
ง. ตองการใหคนหันมานับถือพระพุทธศาสนา
9. ขอใดเปนความหมายตามหลักธรรมสุข 2 ของการยินดีในทรัพยสมบัติมหาสมบัติ
ก. นิรามิสสุข
ข. พรหมวิหาร 4
ค. สามิสสุข
ง. ความสุข
10. บุคคลตอไปนี้ ใครเปนบุคคลที่มีแนวปฏิบัติถูกตองบรรลุตามหลัก สุข 2 มากที่สุด
ก. ทานพุทธทาสภิกขุ
ข. พลเอก เปรม ติณสูลานนท
ค. ปูเย็น
ง. พลตรีจําลอง ศรีเมือง
5
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
1. ง.
2. ค
3. ก
4. ข
5. ค
6. ก
7. ข
8. ข
9. ค
10. ก
6
ใบความรู
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
สาระการเรียนรู
หลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
ความหมาย
นิโรธ หมายถึง การดับความทุกขหรือดับปญหา เปนสภาพที่ปราศจากความทุกข
หรือการมีความสุขนั่นเอง มนุษยทุกคนยอมตองการมีความสุขในการดําเนินชีวิต หลักคํา-
สอนในพระพุทธศาสนา เนนเรื่องสภาพความทุกขหมดสิ้นไป เปนการเขาถึงความสุข คือ
ความดับทุกขหรือการสิ้นทุกข (นิโรธ) ทั้งปวง ซึ่งหลักธรรมที่แสดงใหเห็นถึงสภาพของทุกข
(นิโรธ) มีหลายหมวดดวยกัน แตในชั้นนี้ใหนักเรียนศึกษาหลักธรรม เรื่อง สุข 2
ประเภทของหลักธรรม
สุข 2 ความสุข หมายถึงความสบายกาย ความสบายใจ เปนสิ่งที่มนุษยทุกคน
ตองการ มีหลายประเภท เชน กายิกสุข คือความสุขทางกาย เจตสิกสุข คือความสุขทางใจ แต
สําหรับชั้นนี้จะเรียนในเรื่อง ความสุข 2 แบบ คือ
1. สามิสสุข หมายถึง ความสุขทางวัตถุ คือ ความสุขที่ตองอาศัยเหยื่อลอ เปน
ความสุขจากวัตถุอื่น เชน ความสุขที่เกิดจากการไดเห็นรูป ไดลิ้มรส ไดดมกลิ่น ไดยินเสียง
และการไดสัมผัส เปนที่พึงพอใจเปนที่นาใครนาปารถนา เปนความสุขที่เกิดจากกามคุณ หรือ
ความสุขทางโลกีย เปนการหาความสุขที่ตองไดรับการตอบสนองจากสิ่งแวดลอมภายนอก
ตองอาศัยวัตถุเปนเครื่องอํานวยความสะดวกจึงจะมีความสุขได
7
2. นิรามิสสุข หมายถึง ความสุขทางใจ ปลอดโปรง สงบ เปนความสุขที่ไมตอง
อาศัยวัตถุหรือเหยื่อลอ แตเปนความสุขที่เกิดจากการทําใจใหสงบ รูแจงตามความเปนจริง
เพราะการไดสิ่งตาง ๆ มาตามความอยากของตนดูเหมือนมีความสุข แตจริง ๆ แลวการอยาก
ไดก็เปนทุกขและเมื่อไดมาแลวก็ตองอาศัยสิ่งนั้นเพื่อสรางสุข คอยหวงแหนไมใหหายไป ซึ่ง
ลวนแลวแตเปนความทุกขทั้งสิ้น ดังนั้นการทําใจใหวางจากการอยากไดทั้งปวง ก็ยอมเปน
สุขแบบนิรามิส
แนวทางการประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรม สุข 2
ความสุขของคฤหัสถตามแนวทางพระพุทธศาสนามี 4 ประการ คือ สุขเกิดจาก
การมีทรัพย หมายถึง มีทรัพยสมบัติเงินทอง สุขที่เกิดจากการใชจายทรัพย หมายถึง การได
ใชทรัพยตามใจปรารถนา สุขเกิดจากความไมเปนหนี้ หมายถึง ไมตองกูยืมทรัพยจากใคร สุข
เกิดจากความประพฤติไมมีโทษ คือ การทําอะไรตั้งอยูบนความสุจริต
ความสุขเหลานี้เปนความสุขที่ใครๆ ก็ปรารถนาอยากใหมีขึ้นในครอบครัวของตน
เพราะเปนธรรมดาของปุถุชนที่ยังตองการความสุขทางโลกอยู ในความสุข 4 ขอนี้ขอที่สําคัญ
ที่สุดคือสุขเกิดจากความประพฤติไมมีโทษ เพราะเปนขอที่ทําใหเกิดความภาคภูมิใจวาตนเอง
มีความประพฤติสุจริตทั้งทางกาย วาจา และใจ ไมบกพรองเสียหาย ใครก็มาติเตียนไมได
ถาจะใหดียิ่งขึ้นไปกวานี้จนถึงขั้นนิโรธไดนั้น ตองไมหลงใหลติดยึดอยูกับ
ความสุขทั้ง 4 ประการดังกลาวขางตน เพราะยังเปนสามิสสุขซึ่งยังตองผจญกับความทุกขไม
รูจักจบสิ้น ในการดับทุกข(นิโรธ) ไดนั้นตองสุขแบบนิรามิสสุข คือความสุขภายในหรือ
ความสุขทางใจ เปนความสุขที่ไมตองอาศัยวัตถุภายนอก ความสุขระดับนี้คือการตั้งจิตให
สงบเปนสมาธิ ตัดกิเลสความอยากทั้งหลายได เปนพื้นฐานที่จะกาวไปสูนิพพานไดงายขึ้น
คุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามหลักธรรม สุข 2
ในการบําเพ็ญเพียรทางจิตหรือเจริญภาวนา การทําความดีหรือกรรมดีทั่ว ๆ ไปที่
เรียกวา บุญ ก็มีพุทธพจนตรัสวา “บุญเปนเรื่องของความสุข” อานิสงสของผูปฏิบัตินิโรธ จะ
มีมาก พอสรุปเปนขอ ๆ ตามลําดับไดดังนี้
1. เปนการสะกด ความอยากหรือ กิเลสทั้งหลายไดเปนอยางดี ทําใหใจสงบ
เปนสุข
2. นิรามิสสุขเปนปจจัยชวยใหเกิดสมาธิ ดังพุทธพจน วา “ผูมีสุข จิตยอมตั้ง
มั่น(เปนสมาธิ)”
8
3. จิตเปนสมาธิบรรลุฌานแลว ความสุขก็เปนองคประกอบของฌาน
4. สุขที่ประณีตขึ้นไปอีก คือจุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ
นิพพาน เปนบรมสุขคือ สุขสูงสุด
5. ทําใหเปนผูนาเลื่อมใสศรัทธา เพราะการปฏิบัติธรรมเขานิโรธจะบริสุทธิ์
6. เกิดบุญกุศลอยางสูงแกผูปฏิบัติ
กลาวโดยสรุป ความดับทุกข หมายถึง หมดความทุกข บรรลุความสุขอันสูงสุด มี
ความสําคัญมากในการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนา
9
1. สามิสสุข ความสุขทางวัตถุ 2. นิรามิสสุข ความสุขทางใจ
ภาพโดย อิสระพงษ สิทธิพล. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2551.
สรุปหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
10
ใบกิจกรรมที่ 1
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง ใหนักเรียนหาประวัติบุคคลหรือพระที่เปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจากอินเทอรเน็ท
หรือหนังสือพิมพ มาติดในที่เวนไวแลวตอบคําถามตอไปนี้ (ฝกคิดแบบแยกแยะ
สวนประกอบ)
กรณีตัวอยาง
(ที่มา………………………………………………………………………………)
1. บุคคลผูนี้มีพฤติกรรมหรือแนวการปฏิบัติตนอยางไร....................................................
2. จากขาวนี้สะทอนใหเห็นความสําคัญของการดําเนินชีวิตอยางไร......................................
3. ประโยชนหรือขอคิดจากขาวนี้คืออะไร………………………………………………
4. ขาวนี้มีผลตอผูอื่นอยางไรบาง……………………………………………………………
5. นักเรียนมีความคิดเห็นกับขาวนี้อยางไร………………………………………………….
11
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 1
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
คําชี้แจง ใหนักเรียนหาประวัติบุคคลหรือพระที่เปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจากอินเทอรเน็ท
หรือหนังสือพิมพ มาติดในที่เวนไวแลวตอบคําถามตอไปนี้ (ฝกคิดแบบแยกแยะ
สวนประกอบ)
กรณีตัวอยาง
(ที่มา………………………………………………………………………………)
1. บุคคลผูนี้มีพฤติกรรมหรือแนวการปฏิบัติตนอยางไร....................................................
2. จากขาวนี้สะทอนใหเห็นความสําคัญของการดําเนินชีวิตอยางไร................................
3. ประโยชนหรือขอคิดจากขาวนี้คืออะไร………………………………………………
4. ขาวนี้มีผลตอผูอื่นอยางไรบาง……………………………………………………………
5. นักเรียนมีความคิดเห็นกับขาวนี้อยางไร………………………………………………….
(พิจารณาคําตอบของนักเรียนโดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
12
ใบกิจกรรมที่ 2
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง จงบอกบุคลิกลักษณะของบุคคลที่ควรเปนตัวอยางและไมควรเอาอยางในการ
ดําเนินชีวิตตามหลักธรรม สุข 2 (ฝกคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย)
บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก
สามิสสุข
เหตุผล
บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก
นิรามิสสุข
เหตุผล
13
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 2
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
คําชี้แจง จงบอกบุคลิกลักษณะของบุคคลที่ควรเปนตัวอยางและไมควรเอาอยางในการ
ดําเนินชีวิตตามหลักธรรม สุข 2 (ฝกคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย)
บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก
สามิสสุข
เหตุผล
1. มีความสุขจากการมีทรัพยจายทรัพยอยาง
สุรุยสุราย
1. ตองการความสุขสบายจากการซื้อโดยไม
คํานึงถึงความจําเปนในชีวิตหรือไม
2. มุงแสวงหาและสะสมวัตถุสิ่งของทุกเวลา
ทุกสถานที่
2. โออวดวาตนมีฐานะดี
3. มีความสุขจากการเที่ยวเตร 3. มัวเมาในกามมารมย
4. พอใจในรูป รส กลิ่น เสียง 4. ลุมหลงในอบาย
บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก
นิรามิสสุข
เหตุผล
1. ยึดถือธรรมและความพอเพียงในการ
ดําเนินชีวิต
1. ทําใหปลอดโปรง ใจสงบ
2. เขาถึงพระธรรม ปฏิบัติธรรมเปนนิสัย 2. เพราะเห็นผลจากการปฏิบัติ
3. มีบุคลิกลักษณะสงบนิ่งตอทรัพยภายนอก 3. การปลอยวางทําใหเปนสุข
4. เปนผูไมมีกิเลสตัณหาความอยากได 4. เปนคนรูเทาทันวาไดก็ทุกขไมไดก็ทุกข
14
ใบกิจกรรมที่ 3
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูจบลงแลว จงตอบคําถามตอไปนี้(ฝกคิดแบบ
อรรถสัมพันธ)
1. เพราะเหตุใดคนจึงตองมีนิรามิสสุข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
2. คนมีนิรามิสสุข จะมีคุณสมบัติอยางไร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
3. นิรามิสสุขเกิดผลดีตอหมูคณะหรือสังคมอยางไร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
4. นักเรียนจะนําหลักธรรม สุข 2 ไปใชในการดําเนินชีวิตอยางไร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
15
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 3
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
คําชี้แจง เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูจบลงแลว จงตอบคําถามตอไปนี้(ฝกคิดแบบ
อรรถสัมพันธ)
1. เพราะเหตุใดคนจึงตองมีนิรามิสสุข
แนวคําตอบ เพื่อเปนแบบอยางที่ดีในการดําเนินชีวิต และทําใหจิตใจมีความสุขอยาง
แทจริงหรือบรรลุความสุขที่แทจริง ไมรอนรน
2. คนมีนิรามิสสุข จะมีคุณสมบัติอยางไร
แนวคําตอบ มีความอดทน สุขุม เยือกเย็น ซื่อสัตย ไมโลภ
3. เกิดผลดีตอหมูคณะหรือสังคมอยางไร
แนวคําตอบ สังคมไมวุนวาย เศรษฐกิจตนเองและครอบครัวดี สังคมเจริญกาวหนา
4. นักเรียนจะนําหลักธรรม สุข 2 ไปใชในการดําเนินชีวิตอยางไร
แนวคําตอบ ลด ละ เลิก สิ่งฟุมเฟอยตางๆ ใชชีวิตอยางสมถะเรียบงาย มีความพอเพียง
หมั่นเตือนตนเองใหตั้งมั่นอยูในทางสายกลาง ไมมากเกินไปและไมนอยจนขาดแคลน
16
ใบกิจกรรมที่ 4
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง ศึกษาสถานการณตอไปนี้ แลวตอบคําถามพรอมเหตุผล (ฝกคิดแบบคุณโทษและ
ทางออก)
สถานการณที่ 1
เศรษฐีคนหนึ่ง ร่ํารวยจากการคาทุกรูปแบบ มีบานหลังโต รถยนตหรู 5 คัน วัน
หนึ่งเขาไดทําบุญวันเกิดที่บาน จัดงานเลี้ยงใหญโต ออกบัตรเชิญบอกแขกทั่วบานทั่วเมืองทั่ว
ทุกสารทิศ เพราะอยากอวดรวย และคิดแตจะเอาผลประโยชนตามนิสัยตน เขาควรปฏิบัติ
อยางไรจึงจะถูกตอง
สถานการณที่ 2
พรรณภา เกิดในครอบครัวร่ํารวย มีพี่นอง 7 คน แตทุกคนใชจายอยางฟุมเฟอย
ไมมีระเบียบ พรรณภา มองเห็นวาถาขืนปลอยเปนแบบนี้ ความลมจมตองตามมา เธอใน
ฐานะเปนพี่คนโต จะมีวิธีการแกปญหาครอบครัวอยางไร
สถานการณที่ 3
ฉันทนา ไดรับการคัดเลือกเปนหัวหนาชั้น ม. 2 เพราะเปนนักเรียนที่ดีมีความ
รับผิดชอบ เธอไดรับขาววา เพื่อนชายในหองคนหนึ่งอกหักผิดหวังเพราะคนที่รักทิ้งตนไปมี
แฟนคนใหมตางโรงเรียน จึงนัดเพื่อน ๆ กันไปดักทํารายนักเรียนตางโรงเรียนคนนั้น ฉันทนา
ควรทําอยางไรดี
17
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 4
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
คําชี้แจง ศึกษาสถานการณตอไปนี้ แลวตอบคําถามพรอมเหตุผล (ฝกคิดแบบคุณโทษและ
ทางออก)
สถานการณที่ 1
เศรษฐีคนหนึ่ง ร่ํารวยจากการคาทุกรูปแบบ มีบานหลังโต รถยนตหรู 5 คัน วัน
หนึ่งเขาไดทําบุญวันเกิดที่บาน จัดงานเลี้ยงใหญโต ออกบัตรเชิญบอกแขกทั่วบานทั่วเมืองทั่ว
ทุกสารทิศ เพราะอยากอวดรวย และคิดแตจะเอาผลประโยชนตามนิสัยตน เขาควรปฏิบัติ
อยางไรจึงจะถูกตอง
แนวคําตอบ ตองมีคนที่เขานับถือชี้แนะแนวทางที่ถูกตอง ถึงความพอดี ความควรไมควร
ความเหมาะสมไมเหมาะสม แนะนําแนวทางสรางกุศลตอบแทนสังคมมากกวาเห็นแก
ประโยชนตน เพราะทรัพยสมบัติภายนอกมิใชความสุขที่แทจริง
สถานการณที่ 2
พรรณภา เกิดในครอบครัวร่ํารวย มีพี่นอง 7 คน แตทุกคนใชจายอยางฟุมเฟอย
ไมมีระเบียบ พรรณภา มองเห็นวาถาขืนปลอยเปนแบบนี้ ความลมจมตองตามมา เธอใน
ฐานะเปนพี่คนโต จะมีวิธีการแกปญหาครอบครัวอยางไร
แนวคําตอบ
1. พรรณภาตองประชุม ปรึกษาทุกคนในครอบครัวใหรับทราบถึงคาใชจายใน
สวนที่เปลาประโยชน เกินความจําเปน หามาตรการประหยัด และชี้แจงใหเขาใจวาความสุข
ไมจําเปนตองมาจากวัตถุที่เกินความพอดี
2. สมาชิกทุกคนตองตระหนักถึงปญหาที่จะเกิดตามมา และจะทําใหเกิดทุกข
ตองหาวิธีปองกันไมใหเกิดทุกขคือตองแกที่สาเหตุ และชี้ใหทุกคนเห็นวาวัตถุสิ่งของบางทีก็
นําทุกขมาให ควรพัฒนาจิตใจมากกวาวัตถุ
18
สถานการณที่ 3
ฉันทนา ไดรับการคัดเลือกเปนหัวหนาชั้น ม. 2 เพราะเปนนักเรียนที่ดีมีความ
รับผิดชอบ เธอไดรับขาววา เพื่อนชายในหองคนหนึ่งอกหักผิดหวังเพราะคนที่รักทิ้งตนไปมี
แฟนคนใหมตางโรงเรียน จึงนัดเพื่อน ๆ กันไปดักทํารายนักเรียนตางโรงเรียนคนนั้น ฉันทนา
ควรทําอยางไรดี
แนวคําตอบ
1. ฉันทนาตองสอบถามสาเหตุที่แทจริงของปญหาที่เกิดขึ้น วาเกิดจากอะไร
2. ปรึกษาหารือกับเพื่อน ๆ เพื่อหาทางออกที่ดีกวาที่จะไปทํารายกัน เพราะจะทํา
ใหความทุกขอยางอื่นเพิ่มเขามาอีก ควรหาวิธีการและทางออกอยางสันติ และหากเห็นเกิน
กําลังแกไดก็ใหปรึกษาครูในโรงเรียนหรือฝายปกครอง
19
ใบกิจกรรมที่ 5
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
กิจกรรมพัฒนาตนตามหลักธรรม
1. ฝกฝนการเปนคนรูเทาทันตามหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธวาดวย สุข 2ได
2. ประเมินพฤติกรรมของตนเองที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธได
คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความรูสึกของตนเอง (ฝกคิดแบบสามัญ
ลักษณ)
ระดับความคิดเห็น
พฤติกรรม ดีมาก
(4)
ดี
(3)
พอใช
(2)
ปรับปรุง
(1)
1. ซื้อสินคาเฉพาะสิ่งที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น
2. ยกยองใหกําลังใจเพื่อนที่เปนคนสมถะเรียบงาย
3. มีเพื่อนสนิทที่มีลักษณะนิสัยตรงกัน
4. มีความแนวแนในการประพฤติตนตามหลัก สุข 2
5. แนะนําตักเตือนผูอื่นดวยความจริงใจ
6. มีความอดทนอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุใหเกิดกิเลสได
7. มีคานิยมในการบริโภคที่ดี
8. เมื่อประสบปญหาก็จะยอนไปหาตนเหตุแหง
ปญหา และจะแกใหตรงสาเหตุ
9. มีความสุขในการดําเนินชีวิตเรียบงาย
10. ตระหนักอยูเสมอวาวัตถุเปนเพียงสิ่งของนอก
กาย ไมสําคัญเทาพัฒนาจิตใจ
11. เดินตามพุทธวิธี กําจัดความอยากได และรูสึก
เปนสุขที่เอาชนะได
12. หมั่นทําใจใหสงบเย็น
13. ควบคุมความประพฤติทั้งทาง กาย วาจา และใจ
20
ระดับความคิดเห็น
พฤติกรรม ดีมาก
(4)
ดี
(3)
พอใช
(2)
ปรับปรุง
(1)
14. ปรับตัวใหเขากับทุกสถานการณได
15. สรางคานิยมการทําความดีวาชนะความชั่วได
รวมคะแนน
นักเรียนมีแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักธรรม สุข 2 คือ ..........................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชื่อ .............................................. ผูประเมิน
หมายเหตุ เมื่อเรียนเรื่องนี้จบแลวนักเรียนประเมินตนเองดวยแบบประเมินนี้อีกครั้งโดยใช
เวลา 1 สัปดาห
21
แนวตอบใบกิจกรรมที่ 5
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
กิจกรรมพัฒนาตนตามหลักธรรม
1. ฝกฝนการเปนคนรูเทาทันตามหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธวาดวย สุข 2ได
2. ประเมินพฤติกรรมของตนเองที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธได
คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความรูสึกของตนเอง (ฝกคิดแบบสามัญ
ลักษณ)
ระดับความคิดเห็น
พฤติกรรม ดีมาก
(4)
ดี
(3)
พอใช
(2)
ปรับปรุง
(1)
1. ซื้อสินคาเฉพาะสิ่งที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น
2. ยกยองใหกําลังใจเพื่อนที่เปนคนสมถะเรียบงาย
3. มีเพื่อนสนิทที่มีลักษณะนิสัยตรงกัน
4. มีความแนวแนในการประพฤติตนตามหลัก สุข 2
5. แนะนําตักเตือนผูอื่นดวยความจริงใจ
6. มีความอดทนอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุใหเกิดกิเลสได
7. มีคานิยมในการบริโภคที่ดี
8. เมื่อประสบปญหาก็จะยอนไปหาตนเหตุแหง
ปญหา และจะแกใหตรงสาเหตุ
9. มีความสุขในการดําเนินชีวิตเรียบงาย
10. ตระหนักอยูเสมอวาวัตถุเปนเพียงสิ่งของนอก
กาย ไมสําคัญเทาพัฒนาจิตใจ
11. เดินตามพุทธวิธี กําจัดความอยากได และรูสึก
เปนสุขที่เอาชนะได
12. หมั่นทําใจใหสงบเย็น
13. ควบคุมความประพฤติทั้งทาง กาย วาจา และใจ
22
ระดับความคิดเห็น
พฤติกรรม ดีมาก
(4)
ดี
(3)
พอใช
(2)
ปรับปรุง
(1)
14. ปรับตัวใหเขากับทุกสถานการณได
15. สรางคานิยมการทําความดีวาชนะความชั่วได
รวมคะแนน
นักเรียนมีแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักธรรม สุข 2 คือ ..........................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลงชื่อ .............................................. ผูประเมิน
หมายเหตุ เมื่อเรียนเรื่องนี้จบแลวนักเรียนประเมินตนเองดวยแบบประเมินนี้อีกครั้งโดยใช
เวลา 1 สัปดาห
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
เกณฑการพิจารณา
คะแนน 46 – 60 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 31 – 45 หมายถึง ดี
คะแนน 16 – 30 หมายถึง พอใช
คะแนน 1 – 15 หมายถึง ควรปรับปรุง
23
หลังจากทําแบบฝกเสริมทักษะเสร็จแลว
เรามาทําแบบทดสอบหลังเรียนกันนะ
24
แบบทดสอบหลังเรียน
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได
2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ผูมีความสุขอยางแทจริง เมื่อไดรูแจงเห็นจริงในสัจธรรม แสดงวาเขาอยูในขั้นใด
ก. เขาใจในทุกข
ข. ลงมือปฏิบัติเพื่อการดับทุกข
ค. รูตนสายปลายเหตุแหงทุกข
ง. รูขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข
2. เพราะเหตุใดพระพุทธเจาใหความสําคัญกับหลักอริยสัจ 4 มาก
ก. ตองการใหมนุษยละชั่วและทําดี
ข. ตองการใหมนุษยรูจักการแกปญหา
ค. ตองการใหมนุษยยอมรับสภาพความจริง
ง. ตองการใหคนหันมานับถือพระพุทธศาสนา
3. นิโรธ มีความหมายตรงกับขอใด
ก. ความไมสบายกายไมสบายใจ
ข. หนทางแหงการดับทุกข
ค. สาเหตุที่ทําใหเกิดความทุกข
ง. การดับทุกข
4. หลักธรรมอริยสัจ 4 นั้น เปนธรรมวาดวยเรื่องเหตุ และผล ขอใดจัดอยูในสวนของผล
ก. ทุกข – สมุทัย
ข. ทุกข – นิโรธ
ค. นิโรธ – มรรค
ง. สมุทัย – มรรค
25
5. การดับทุกขใหสําเร็จ เปนการเดินไปสูหนทางใด
ก. สกทาคามี
ข. อนาคามี
ค. นิพพาน
ง. โสดาบัน
6. ความสุขของคฤหัสถหรือผูครองเรือน ขอใดสําคัญที่สุด
ก. ประพฤติไมมีโทษ
ข. มีทรัพย
ค. จายทรัพย
ง. ไมมีหนี้
7. บุคคลตอไปนี้ ใครเปนบุคคลที่มีแนวปฏิบัติถูกตองบรรลุตามหลัก สุข 2 มากที่สุด
ก. ทานพุทธทาสภิกขุ
ข. พลเอก เปรม ติณสูลานนท
ค. ปูเย็น
ง. พลตรีจําลอง ศรีเมือง
8. ขอใดจัดเปนสามิสสุข
ก. สรอยสุดา ไปพักผอนที่บานตากอากาศสวนตัว
ข. คําปน เปนคนรับใชที่ซื่อสัตยสุจริต
ค. ลัดดา ชวยเหลืองานบานโดยไมตองออกปาก
ง. คุณยายไปวิปสสนารักษาศีลที่วัดทุกวันพระ
9. “กายิกสุข” หมายถึงอะไร
ก. ความสุขทางอารมณ
ข. ความสุขทางวัตถุ
ค. ความสุขทางกาย
ง. ความสุขทางใจ
10.ขอใดเปนความหมายตามหลักธรรมสุข 2 ของการยินดีในทรัพยสมบัติมหาสมบัติ
ก. นิรามิสสุข
ข. พรหมวิหาร 4
ค. สามิสสุข
ง. ความสุข
26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
1. ข
2. ข
3. ง
4. ข
5. ค
6. ก
7. ก
8. ก
9. ค
10. ค
บรรณานุกรม
กําพล ทองบุญนุม. จิตสดใส แมกายพิการ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ธรรมดา, 2546.
จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และกวี อิศริวรรณ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน
พระพุทธศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2547.
_______ . หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน พระพุทธศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนา
พานิช, 2547.
ดวงเดือน ออนนวม และคณะ. หลักและวิธีการสรางแบบฝกทักษะ. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพอักษรไทย, 2536.
ทิศนา แขมมณี. ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพครั้งที่ 3. โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.
_______. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม : จากทฤษฎีสูการปฏิบัติ.
กรุงเทพมหานคร : เมธีทิปส, 2546.
เนาวนิตย ใจมั่น. แนวการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมใหแกผูเรียนระดับ
มัธยมศึกษา พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, แอคทีฟ พริ้นท, 2548.
บุญธรรม ศรสวัสดิ์ และคณะ. พระพุทธศาสนาฉบับสมบูรณแบบ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, 2544.
พรรณธิภา ออนแสง. การจัดทําแบบฝกทักษะ. มปท; 2532.
พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เทคนิคการสอนของพระพุทธเจา. พิมพครั้งที่ 2,
กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม, 2532.
พระธรรมปฎก (ป.อ ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพครั้งที่ 6.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2538.
พระระพิน พุทฺธิสาโร และวีรชาติ นิ่มอนงค. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ศาสนา
ศีลธรรม จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนา
คุณภาพวิชาการ, 2551.
ยุพา ยิ้มพงษ. การสรางแบบฝกทักษะ. มปท; 2532.
27
สุมน อมรวิวัฒน. การพัฒนาการเรียนรูตามแนวพุทธศาสตร : ทักษะกระบวนการเผชิญ
สถานการณ. นนทบุรี : พิมพลักษณ, 2542.
_______. หลักบูรณาการทางการศึกษาตามนัยแหงพุทธธรรม. นนทบุรี : พิมพลักษณ, 2544.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. วารสารวิชาการ.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2549.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด
ตนแบบการเรียนรูทางทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน, หนวยศึกษานิเทศก. คูมือชุดการเรียนการสอนจริย
ศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา, 2537.
สุริวัตร จันทรโสภา. พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญ
ทัศน, มปป.
สุวิทย มูลคํา. กลยุทธิ์การพัฒนากระบวนการคิด. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : ภาพ
พิมพ, 2550.
. ครบเครื่องเรื่องการคิด. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ, 2550.
28
ภาคผนวก
หนังสืออานเพิ่มเติม
ปรีชา ชางขวัญยืน และวิจิตร แกววิศิษฐ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0111
พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
ไทยวัฒนาพานิช, 2548.
วิชาการ, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือการจัดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา.
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2543.
วิชาการ, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0110
พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
คุรุสภาลาดพราว, 2540.
อเนก พ.อนุกูลบุตร และคณะ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0110 พระพุทธศาสนา ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2541.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ และคณะ. หนังสือเรียนสมบูรณแบบ ส 0111 พระพุทธศาสนา ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,2539.
29
ชุดการสอน

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
Thanawut Rattanadon
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
niralai
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
The'Kong KongkiingZz
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Ch Khankluay
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 

Viewers also liked

วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
Thongsawan Seeha
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
O-SOT Kanesuna POTATO
 
Kudavi 2.10.2016
Kudavi 2.10.2016Kudavi 2.10.2016
Kudavi 2.10.2016
Tom Currier
 
P layers-1
P layers-1P layers-1
P layers-1
Mark Moore
 
Глюгард регулятор углеводного обмена
Глюгард регулятор углеводного обменаГлюгард регулятор углеводного обмена
Глюгард регулятор углеводного обмена
Елена Шальнова
 
Overview of the Virginia Education Wizard
Overview of the Virginia Education WizardOverview of the Virginia Education Wizard
Overview of the Virginia Education Wizard
chjensen
 
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA} RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
rakesh_srivastava
 
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53e
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53eBa759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53e
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53eCarlos Carvalho
 
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 20135/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
Tunnel Studios
 
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
Tunnel Studios
 
Flash2HTML Convertions #fbm2012
Flash2HTML Convertions #fbm2012Flash2HTML Convertions #fbm2012
Flash2HTML Convertions #fbm2012
Datamatics Global Services GmbH
 
E-marketing
E-marketingE-marketing
E-marketing
Yellow Umbrella
 
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part iv
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part ivBooks of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part iv
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part ivMarcela D'Amico
 
Understanding vocabulary from context
Understanding vocabulary from contextUnderstanding vocabulary from context
Understanding vocabulary from contextLes Davy
 
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
Son Vivienne
 
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
Cámara de Comercio de Bilbao
 
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
FGV-EAESP
 

Viewers also liked (20)

วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
คค
 
Kudavi 2.10.2016
Kudavi 2.10.2016Kudavi 2.10.2016
Kudavi 2.10.2016
 
P layers-1
P layers-1P layers-1
P layers-1
 
Глюгард регулятор углеводного обмена
Глюгард регулятор углеводного обменаГлюгард регулятор углеводного обмена
Глюгард регулятор углеводного обмена
 
Overview of the Virginia Education Wizard
Overview of the Virginia Education WizardOverview of the Virginia Education Wizard
Overview of the Virginia Education Wizard
 
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA} RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
RAJIV GANDHI PR SASHAKTIKARAN YOJANA {RGPSA}
 
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53e
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53eBa759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53e
Ba759 e70 4b70-45e3-896deb1f6574f53e
 
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 20135/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
5/7/2013 Mediakey /// awards&awards anno 2013
 
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
2013 Annual Genio Italiano /// Artigiani della creatività!
 
Flash2HTML Convertions #fbm2012
Flash2HTML Convertions #fbm2012Flash2HTML Convertions #fbm2012
Flash2HTML Convertions #fbm2012
 
E-marketing
E-marketingE-marketing
E-marketing
 
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part iv
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part ivBooks of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part iv
Books of jeu and the untitled text in the bruce codex schmidt mac dermot part iv
 
Understanding vocabulary from context
Understanding vocabulary from contextUnderstanding vocabulary from context
Understanding vocabulary from context
 
Production log
Production logProduction log
Production log
 
Noni cai-thien-suc-khoe
Noni cai-thien-suc-khoeNoni cai-thien-suc-khoe
Noni cai-thien-suc-khoe
 
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
Networked Intimate Citizenship: mediated social change?
 
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
Egoera: La economía de Bizkaia - Diciembre 2015
 
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
Inadimplência do consumidor, professor Samy Dana.
 

Similar to ชุดการสอน

โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
tassanee chaicharoen
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
Math website
Math websiteMath website
Math websitezensation
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 

Similar to ชุดการสอน (20)

โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Math website
Math websiteMath website
Math website
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี

ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
งานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคมงานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคม
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี (20)

ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
 
งานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคมงานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ชุดการสอน

  • 1. แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู รายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ชุดที่ 3 นิโรธ ประทุม อรามศักดิ์ ครูชํานาญการ โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คํานํา แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู วิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ชุดที่ 3 เรื่อง นิโรธ วาดวย สุข 2 เลมนี้ ไดจัดทํา ขึ้นตามหลักสูตรพุทธศักราช 2544 โดยคนควาจากหนังสือ ตํารา และเอกสารตาง ๆ และ ประสบการณการสอนวิชาพระพุทธศาสนามาเปนเวลา 30 ป จึงไดพัฒนาสื่อการสอนชุดนี้เพื่อ ใชประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่เนนทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ทําใหผูเรียน สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห การเผชิญปญหา และหาทางแกปญหาได ดวยตนเอง การเรียบเรียงแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู วิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 เลมนี้ มีโครงสรางตามคําอธิบายรายวิชาในหนวยพระธรรม เรื่อง อริยสัจ 4 ไดเนนใหผูเรียนเกิด ความเขาใจ เห็นความจําเปนที่จะตองศึกษา ปฏิบัติตน และสามารถตัดสินใจเลือกแนวทาง ในการปฏิบัติ โดยตระหนักถึงปญหาที่เกิดขึ้น หาวิธีแกไขที่ถูกตอง จนสามารถนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันและอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูเลมนี้ จะเปนประโยชน แกนักเรียนและเพื่อนครูที่สอนรายวิชานี้ และเปนประโยชนตอความกาวหนาทางวิชาการของ ครูผูสอน ขาพเจาขอขอบพระคุณเจาของตําราและเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อใหเอกสารเลมนี้ มีความสมบูรณขึ้น แตหากผูอานพบขอผิดพลาดประการใด กรุณาใหคําแนะนําแกขาพเจาดวย จักขอบพระคุณยิ่ง ประทุม อรามศักดิ์ ครูชํานาญการ
  • 3. สารบัญ หนา คําชี้แจง ก คําแนะนําสําหรับครู ข คําแนะนําสําหรับนักเรียน ค แผนภูมิการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู ง แผนภูมิ ชุดที่ 3 1 แบบทดสอบกอนเรียน 2 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 5 ใบความรูเรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ 6 ใบกิจกรรมที่ 1 10 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 1 11 ใบกิจกรรมที่ 2 12 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 2 13 ใบกิจกรรมที่ 3 14 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 3 15 ใบกิจกรรมที่ 4 16 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 4 17 ใบกิจกรรมที่ 5 19 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 5 21 แบบทดสอบหลังเรียน 23 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 26 บรรณานุกรม 27 ภาคผนวก 29 หนังสืออานเพิ่มเติม 29
  • 4. คําชี้แจง แบบฝกเสริมทักษะรายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวย พระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ชุดที่ 3 เรื่อง นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบ โยนิโสมนสิการ จัดทําขึ้นเพื่อใหผูเรียน ครู และผูที่สนใจใชเปนแบบฝกเสริมทักษะการ เรียนรู โดยมุงใหผูเรียนเกิดพัฒนาทางดานตาง ๆ เชน ทักษะการคิด วิเคราะห การเผชิญ ปญหา และการหาแนวทางในการแกปญหาไดถูกตองเหมาะสม ภายในเลมประกอบดวย 1. คําแนะนําสําหรับครู 2. คําแนะนําสําหรับนักเรียน 3. แผนภูมิการใชแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู 4. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 5. จุดประสงคการเรียนรู 6. แบบทดสอบกอนเรียน 7. ใบความรู 8. ใบกิจกรรม 9. แนวตอบใบกิจกรรม 10. แบบทดสอบหลังเรียน 11. เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ก
  • 5. คําแนะนําสําหรับครู แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูชุดที่ 3 นี้ใชประกอบการเรียนการสอนคูกับแผนการ จัดการเรียนรูที่ 3 รายวิชาพระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูคูกับแผนการจัดการเรียนรูในเรื่อง เดียวกันมาลวงหนาอยางละเอียด 2. เตรียมสื่ออุปกรณการเรียนการสอนที่จะตองใชทํากิจกรรมในแตละครั้งให พรอมกอนสอน หากมีปญหาจะไดแกไขกอนทําการสอน 3. การสอนเนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการโดยมุงใหผูเรียนเกิดพัฒนาการ ทางดานตาง ๆ เชน ทักษะการคิด วิเคราะห การเผชิญปญหา และการหาแนวทางในการ แกปญหาไดถูกตองเหมาะสม 4. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมผูเรียนทั้งรายบุคคล และรายกลุม 5. ตรวจแนวคําตอบใบกิจกรรมจากใบเฉลยกิจกรรมเพื่อดูการพัฒนาการเรียนรู ของนักเรียน 6. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูครบทุกชุดแลว ใหนักเรียนทํา แบบทดสอบหลังเรียนลงในกระดาษคําตอบ 7. ตรวจกระดาษคําตอบของแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน 8. กระตุนใหนักเรียนเรียนรูอยางตั้งใจและสนใจปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครู มอบหมายเพื่อใหการเรียนการสอนบรรลุตามจุดประสงคอยางมีประสิทธิภาพ 9. ครูตองควบคุมการใชแบบฝกเสริมทักษะอยางระมัดระวังและรวดเร็ว ทันเวลา 10. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนการสอนแตละครั้ง ครูตองใหนักเรียนเก็บสื่อ การเรียนใหเปนระเบียบเรียบรอย หากชุดใดชํารุดก็ซอมแซมเพื่อเก็บไวใชครั้งตอไป ข
  • 6. คําแนะนําสําหรับนักเรียน แบบฝกเสริมทักษะการเรียนรู ชุดที่ 3 นี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชา พระพุทธศาสนา ส 30211 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หนวยพระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธ วาดวย สุข 2 ที่เนนแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 10 ขอลงในกระดาษคําตอบ 2. ศึกษาแบบฝกเสริมทักษะชุดที่ 3 เรื่องนิโรธ ตามลําดับกิจกรรม และทําใบ กิจกรรมตามที่กําหนดให 3. ครูตรวจใบกิจกรรม ใหคะแนน 4. ขณะปฏิบัติกิจกรรม ครูจะสังเกตและประเมินพฤติกรรมผูเรียนทั้งรายบุคคล และรายกลุม 5. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะ ตรวจแนวคําตอบใบกิจกรรมจากใบเฉลยกิจกรรม เพื่อดูการพัฒนาการเรียนรูของตนเอง 6. เมื่อทําแบบฝกเสริมทักษะการเรียนรูครบทุกชุดแลว ทําแบบทดสอบหลัง เรียนลงในกระดาษคําตอบ 7. ตรวจกระดาษคําตอบของแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน เพื่อดูการ พัฒนาการเรียนรูของตนเอง 8. การเรียนรูนักเรียนควรตั้งใจและสนใจปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูมอบหมาย เพื่อใหการเรียนรูของนักเรียนบรรลุตามจุดประสงคอยางมีประสิทธิภาพ 9. นักเรียนควรใชแบบฝกเสริมทักษะอยางระมัดระวังและรวดเร็วทันเวลา 10. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนการสอนแตละครั้ง จะควรเก็บสื่อการเรียนให เปนระเบียบเรียบรอย ค
  • 8. 1 ชุดที่ 3 หนวย พระธรรม เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง นักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธได สาระการเรียนรู 1. ความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ 2. ประเภทของหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ 3. แนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ 4. การปฏิบัติตนที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ
  • 10. 3 แบบทดสอบกอนเรียน หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. นิโรธ มีความหมายตรงกับขอใด ก. ความไมสบายกายไมสบายใจ ข. หนทางแหงการดับทุกข ค. สาเหตุที่ทําใหเกิดความทุกข ง. การดับทุกข 2. “กายิกสุข” หมายถึงอะไร ก. ความสุขทางอารมณ ข. ความสุขทางวัตถุ ค. ความสุขทางกาย ง. ความสุขทางใจ 3. ความสุขของคฤหัสถหรือผูครองเรือน ขอใดสําคัญที่สุด ก. ประพฤติไมมีโทษ ข. มีทรัพย ค. จายทรัพย ง. ไมมีหนี้ 4. หลักธรรมอริยสัจ 4 นั้น เปนธรรมวาดวยเรื่องเหตุ และผล ขอใดจัดอยูในสวนของผล ก. ทุกข – สมุทัย ข. ทุกข – นิโรธ ค. นิโรธ – มรรค ง. สมุทัย – มรรค
  • 11. 4 5. การดับทุกขใหสําเร็จ เปนการเดินไปสูหนทางใด ก. สกทาคามี ข. อนาคามี ค. นิพพาน ง. โสดาบัน 6. ขอใดจัดเปนสามิสสุข ก. สรอยสุดา ไปพักผอนที่บานตากอากาศสวนตัว ข. คําปน เปนคนรับใชที่ซื่อสัตยสุจริต ค. ลัดดา ชวยเหลืองานบานโดยไมตองออกปาก ง. คุณยายไปวิปสสนารักษาศีลที่วัดทุกวันพระ 7. ผูมีความสุขอยางแทจริง เมื่อไดรูแจงเห็นจริงในสัจธรรม แสดงวาเขาอยูในขั้นใด ก. เขาใจในทุกข ข. ลงมือปฏิบัติเพื่อการดับทุกข ค. รูตนสายปลายเหตุแหงทุกข ง. รูขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข 8. เพราะเหตุใดพระพุทธเจาใหความสําคัญกับหลักอริยสัจ 4 มาก ก. ตองการใหมนุษยละชั่วและทําดี ข. ตองการใหมนุษยรูจักการแกปญหา ค. ตองการใหมนุษยยอมรับสภาพความจริง ง. ตองการใหคนหันมานับถือพระพุทธศาสนา 9. ขอใดเปนความหมายตามหลักธรรมสุข 2 ของการยินดีในทรัพยสมบัติมหาสมบัติ ก. นิรามิสสุข ข. พรหมวิหาร 4 ค. สามิสสุข ง. ความสุข 10. บุคคลตอไปนี้ ใครเปนบุคคลที่มีแนวปฏิบัติถูกตองบรรลุตามหลัก สุข 2 มากที่สุด ก. ทานพุทธทาสภิกขุ ข. พลเอก เปรม ติณสูลานนท ค. ปูเย็น ง. พลตรีจําลอง ศรีเมือง
  • 12. 5 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ 1. ง. 2. ค 3. ก 4. ข 5. ค 6. ก 7. ข 8. ข 9. ค 10. ก
  • 13. 6 ใบความรู หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได สาระการเรียนรู หลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ความหมาย นิโรธ หมายถึง การดับความทุกขหรือดับปญหา เปนสภาพที่ปราศจากความทุกข หรือการมีความสุขนั่นเอง มนุษยทุกคนยอมตองการมีความสุขในการดําเนินชีวิต หลักคํา- สอนในพระพุทธศาสนา เนนเรื่องสภาพความทุกขหมดสิ้นไป เปนการเขาถึงความสุข คือ ความดับทุกขหรือการสิ้นทุกข (นิโรธ) ทั้งปวง ซึ่งหลักธรรมที่แสดงใหเห็นถึงสภาพของทุกข (นิโรธ) มีหลายหมวดดวยกัน แตในชั้นนี้ใหนักเรียนศึกษาหลักธรรม เรื่อง สุข 2 ประเภทของหลักธรรม สุข 2 ความสุข หมายถึงความสบายกาย ความสบายใจ เปนสิ่งที่มนุษยทุกคน ตองการ มีหลายประเภท เชน กายิกสุข คือความสุขทางกาย เจตสิกสุข คือความสุขทางใจ แต สําหรับชั้นนี้จะเรียนในเรื่อง ความสุข 2 แบบ คือ 1. สามิสสุข หมายถึง ความสุขทางวัตถุ คือ ความสุขที่ตองอาศัยเหยื่อลอ เปน ความสุขจากวัตถุอื่น เชน ความสุขที่เกิดจากการไดเห็นรูป ไดลิ้มรส ไดดมกลิ่น ไดยินเสียง และการไดสัมผัส เปนที่พึงพอใจเปนที่นาใครนาปารถนา เปนความสุขที่เกิดจากกามคุณ หรือ ความสุขทางโลกีย เปนการหาความสุขที่ตองไดรับการตอบสนองจากสิ่งแวดลอมภายนอก ตองอาศัยวัตถุเปนเครื่องอํานวยความสะดวกจึงจะมีความสุขได
  • 14. 7 2. นิรามิสสุข หมายถึง ความสุขทางใจ ปลอดโปรง สงบ เปนความสุขที่ไมตอง อาศัยวัตถุหรือเหยื่อลอ แตเปนความสุขที่เกิดจากการทําใจใหสงบ รูแจงตามความเปนจริง เพราะการไดสิ่งตาง ๆ มาตามความอยากของตนดูเหมือนมีความสุข แตจริง ๆ แลวการอยาก ไดก็เปนทุกขและเมื่อไดมาแลวก็ตองอาศัยสิ่งนั้นเพื่อสรางสุข คอยหวงแหนไมใหหายไป ซึ่ง ลวนแลวแตเปนความทุกขทั้งสิ้น ดังนั้นการทําใจใหวางจากการอยากไดทั้งปวง ก็ยอมเปน สุขแบบนิรามิส แนวทางการประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรม สุข 2 ความสุขของคฤหัสถตามแนวทางพระพุทธศาสนามี 4 ประการ คือ สุขเกิดจาก การมีทรัพย หมายถึง มีทรัพยสมบัติเงินทอง สุขที่เกิดจากการใชจายทรัพย หมายถึง การได ใชทรัพยตามใจปรารถนา สุขเกิดจากความไมเปนหนี้ หมายถึง ไมตองกูยืมทรัพยจากใคร สุข เกิดจากความประพฤติไมมีโทษ คือ การทําอะไรตั้งอยูบนความสุจริต ความสุขเหลานี้เปนความสุขที่ใครๆ ก็ปรารถนาอยากใหมีขึ้นในครอบครัวของตน เพราะเปนธรรมดาของปุถุชนที่ยังตองการความสุขทางโลกอยู ในความสุข 4 ขอนี้ขอที่สําคัญ ที่สุดคือสุขเกิดจากความประพฤติไมมีโทษ เพราะเปนขอที่ทําใหเกิดความภาคภูมิใจวาตนเอง มีความประพฤติสุจริตทั้งทางกาย วาจา และใจ ไมบกพรองเสียหาย ใครก็มาติเตียนไมได ถาจะใหดียิ่งขึ้นไปกวานี้จนถึงขั้นนิโรธไดนั้น ตองไมหลงใหลติดยึดอยูกับ ความสุขทั้ง 4 ประการดังกลาวขางตน เพราะยังเปนสามิสสุขซึ่งยังตองผจญกับความทุกขไม รูจักจบสิ้น ในการดับทุกข(นิโรธ) ไดนั้นตองสุขแบบนิรามิสสุข คือความสุขภายในหรือ ความสุขทางใจ เปนความสุขที่ไมตองอาศัยวัตถุภายนอก ความสุขระดับนี้คือการตั้งจิตให สงบเปนสมาธิ ตัดกิเลสความอยากทั้งหลายได เปนพื้นฐานที่จะกาวไปสูนิพพานไดงายขึ้น คุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามหลักธรรม สุข 2 ในการบําเพ็ญเพียรทางจิตหรือเจริญภาวนา การทําความดีหรือกรรมดีทั่ว ๆ ไปที่ เรียกวา บุญ ก็มีพุทธพจนตรัสวา “บุญเปนเรื่องของความสุข” อานิสงสของผูปฏิบัตินิโรธ จะ มีมาก พอสรุปเปนขอ ๆ ตามลําดับไดดังนี้ 1. เปนการสะกด ความอยากหรือ กิเลสทั้งหลายไดเปนอยางดี ทําใหใจสงบ เปนสุข 2. นิรามิสสุขเปนปจจัยชวยใหเกิดสมาธิ ดังพุทธพจน วา “ผูมีสุข จิตยอมตั้ง มั่น(เปนสมาธิ)”
  • 15. 8 3. จิตเปนสมาธิบรรลุฌานแลว ความสุขก็เปนองคประกอบของฌาน 4. สุขที่ประณีตขึ้นไปอีก คือจุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ นิพพาน เปนบรมสุขคือ สุขสูงสุด 5. ทําใหเปนผูนาเลื่อมใสศรัทธา เพราะการปฏิบัติธรรมเขานิโรธจะบริสุทธิ์ 6. เกิดบุญกุศลอยางสูงแกผูปฏิบัติ กลาวโดยสรุป ความดับทุกข หมายถึง หมดความทุกข บรรลุความสุขอันสูงสุด มี ความสําคัญมากในการปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนา
  • 16. 9 1. สามิสสุข ความสุขทางวัตถุ 2. นิรามิสสุข ความสุขทางใจ ภาพโดย อิสระพงษ สิทธิพล. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 2551. สรุปหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ
  • 17. 10 ใบกิจกรรมที่ 1 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง ใหนักเรียนหาประวัติบุคคลหรือพระที่เปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจากอินเทอรเน็ท หรือหนังสือพิมพ มาติดในที่เวนไวแลวตอบคําถามตอไปนี้ (ฝกคิดแบบแยกแยะ สวนประกอบ) กรณีตัวอยาง (ที่มา………………………………………………………………………………) 1. บุคคลผูนี้มีพฤติกรรมหรือแนวการปฏิบัติตนอยางไร.................................................... 2. จากขาวนี้สะทอนใหเห็นความสําคัญของการดําเนินชีวิตอยางไร...................................... 3. ประโยชนหรือขอคิดจากขาวนี้คืออะไร……………………………………………… 4. ขาวนี้มีผลตอผูอื่นอยางไรบาง…………………………………………………………… 5. นักเรียนมีความคิดเห็นกับขาวนี้อยางไร………………………………………………….
  • 18. 11 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 1 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ คําชี้แจง ใหนักเรียนหาประวัติบุคคลหรือพระที่เปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจากอินเทอรเน็ท หรือหนังสือพิมพ มาติดในที่เวนไวแลวตอบคําถามตอไปนี้ (ฝกคิดแบบแยกแยะ สวนประกอบ) กรณีตัวอยาง (ที่มา………………………………………………………………………………) 1. บุคคลผูนี้มีพฤติกรรมหรือแนวการปฏิบัติตนอยางไร.................................................... 2. จากขาวนี้สะทอนใหเห็นความสําคัญของการดําเนินชีวิตอยางไร................................ 3. ประโยชนหรือขอคิดจากขาวนี้คืออะไร……………………………………………… 4. ขาวนี้มีผลตอผูอื่นอยางไรบาง…………………………………………………………… 5. นักเรียนมีความคิดเห็นกับขาวนี้อยางไร…………………………………………………. (พิจารณาคําตอบของนักเรียนโดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
  • 19. 12 ใบกิจกรรมที่ 2 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง จงบอกบุคลิกลักษณะของบุคคลที่ควรเปนตัวอยางและไมควรเอาอยางในการ ดําเนินชีวิตตามหลักธรรม สุข 2 (ฝกคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย) บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก สามิสสุข เหตุผล บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก นิรามิสสุข เหตุผล
  • 20. 13 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 2 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ คําชี้แจง จงบอกบุคลิกลักษณะของบุคคลที่ควรเปนตัวอยางและไมควรเอาอยางในการ ดําเนินชีวิตตามหลักธรรม สุข 2 (ฝกคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย) บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก สามิสสุข เหตุผล 1. มีความสุขจากการมีทรัพยจายทรัพยอยาง สุรุยสุราย 1. ตองการความสุขสบายจากการซื้อโดยไม คํานึงถึงความจําเปนในชีวิตหรือไม 2. มุงแสวงหาและสะสมวัตถุสิ่งของทุกเวลา ทุกสถานที่ 2. โออวดวาตนมีฐานะดี 3. มีความสุขจากการเที่ยวเตร 3. มัวเมาในกามมารมย 4. พอใจในรูป รส กลิ่น เสียง 4. ลุมหลงในอบาย บุคลิกลักษณะของผูประพฤติตนตามหลัก นิรามิสสุข เหตุผล 1. ยึดถือธรรมและความพอเพียงในการ ดําเนินชีวิต 1. ทําใหปลอดโปรง ใจสงบ 2. เขาถึงพระธรรม ปฏิบัติธรรมเปนนิสัย 2. เพราะเห็นผลจากการปฏิบัติ 3. มีบุคลิกลักษณะสงบนิ่งตอทรัพยภายนอก 3. การปลอยวางทําใหเปนสุข 4. เปนผูไมมีกิเลสตัณหาความอยากได 4. เปนคนรูเทาทันวาไดก็ทุกขไมไดก็ทุกข
  • 21. 14 ใบกิจกรรมที่ 3 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูจบลงแลว จงตอบคําถามตอไปนี้(ฝกคิดแบบ อรรถสัมพันธ) 1. เพราะเหตุใดคนจึงตองมีนิรามิสสุข …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 2. คนมีนิรามิสสุข จะมีคุณสมบัติอยางไร …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 3. นิรามิสสุขเกิดผลดีตอหมูคณะหรือสังคมอยางไร …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 4. นักเรียนจะนําหลักธรรม สุข 2 ไปใชในการดําเนินชีวิตอยางไร …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………
  • 22. 15 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 3 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ คําชี้แจง เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูจบลงแลว จงตอบคําถามตอไปนี้(ฝกคิดแบบ อรรถสัมพันธ) 1. เพราะเหตุใดคนจึงตองมีนิรามิสสุข แนวคําตอบ เพื่อเปนแบบอยางที่ดีในการดําเนินชีวิต และทําใหจิตใจมีความสุขอยาง แทจริงหรือบรรลุความสุขที่แทจริง ไมรอนรน 2. คนมีนิรามิสสุข จะมีคุณสมบัติอยางไร แนวคําตอบ มีความอดทน สุขุม เยือกเย็น ซื่อสัตย ไมโลภ 3. เกิดผลดีตอหมูคณะหรือสังคมอยางไร แนวคําตอบ สังคมไมวุนวาย เศรษฐกิจตนเองและครอบครัวดี สังคมเจริญกาวหนา 4. นักเรียนจะนําหลักธรรม สุข 2 ไปใชในการดําเนินชีวิตอยางไร แนวคําตอบ ลด ละ เลิก สิ่งฟุมเฟอยตางๆ ใชชีวิตอยางสมถะเรียบงาย มีความพอเพียง หมั่นเตือนตนเองใหตั้งมั่นอยูในทางสายกลาง ไมมากเกินไปและไมนอยจนขาดแคลน
  • 23. 16 ใบกิจกรรมที่ 4 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง ศึกษาสถานการณตอไปนี้ แลวตอบคําถามพรอมเหตุผล (ฝกคิดแบบคุณโทษและ ทางออก) สถานการณที่ 1 เศรษฐีคนหนึ่ง ร่ํารวยจากการคาทุกรูปแบบ มีบานหลังโต รถยนตหรู 5 คัน วัน หนึ่งเขาไดทําบุญวันเกิดที่บาน จัดงานเลี้ยงใหญโต ออกบัตรเชิญบอกแขกทั่วบานทั่วเมืองทั่ว ทุกสารทิศ เพราะอยากอวดรวย และคิดแตจะเอาผลประโยชนตามนิสัยตน เขาควรปฏิบัติ อยางไรจึงจะถูกตอง สถานการณที่ 2 พรรณภา เกิดในครอบครัวร่ํารวย มีพี่นอง 7 คน แตทุกคนใชจายอยางฟุมเฟอย ไมมีระเบียบ พรรณภา มองเห็นวาถาขืนปลอยเปนแบบนี้ ความลมจมตองตามมา เธอใน ฐานะเปนพี่คนโต จะมีวิธีการแกปญหาครอบครัวอยางไร สถานการณที่ 3 ฉันทนา ไดรับการคัดเลือกเปนหัวหนาชั้น ม. 2 เพราะเปนนักเรียนที่ดีมีความ รับผิดชอบ เธอไดรับขาววา เพื่อนชายในหองคนหนึ่งอกหักผิดหวังเพราะคนที่รักทิ้งตนไปมี แฟนคนใหมตางโรงเรียน จึงนัดเพื่อน ๆ กันไปดักทํารายนักเรียนตางโรงเรียนคนนั้น ฉันทนา ควรทําอยางไรดี
  • 24. 17 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 4 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ คําชี้แจง ศึกษาสถานการณตอไปนี้ แลวตอบคําถามพรอมเหตุผล (ฝกคิดแบบคุณโทษและ ทางออก) สถานการณที่ 1 เศรษฐีคนหนึ่ง ร่ํารวยจากการคาทุกรูปแบบ มีบานหลังโต รถยนตหรู 5 คัน วัน หนึ่งเขาไดทําบุญวันเกิดที่บาน จัดงานเลี้ยงใหญโต ออกบัตรเชิญบอกแขกทั่วบานทั่วเมืองทั่ว ทุกสารทิศ เพราะอยากอวดรวย และคิดแตจะเอาผลประโยชนตามนิสัยตน เขาควรปฏิบัติ อยางไรจึงจะถูกตอง แนวคําตอบ ตองมีคนที่เขานับถือชี้แนะแนวทางที่ถูกตอง ถึงความพอดี ความควรไมควร ความเหมาะสมไมเหมาะสม แนะนําแนวทางสรางกุศลตอบแทนสังคมมากกวาเห็นแก ประโยชนตน เพราะทรัพยสมบัติภายนอกมิใชความสุขที่แทจริง สถานการณที่ 2 พรรณภา เกิดในครอบครัวร่ํารวย มีพี่นอง 7 คน แตทุกคนใชจายอยางฟุมเฟอย ไมมีระเบียบ พรรณภา มองเห็นวาถาขืนปลอยเปนแบบนี้ ความลมจมตองตามมา เธอใน ฐานะเปนพี่คนโต จะมีวิธีการแกปญหาครอบครัวอยางไร แนวคําตอบ 1. พรรณภาตองประชุม ปรึกษาทุกคนในครอบครัวใหรับทราบถึงคาใชจายใน สวนที่เปลาประโยชน เกินความจําเปน หามาตรการประหยัด และชี้แจงใหเขาใจวาความสุข ไมจําเปนตองมาจากวัตถุที่เกินความพอดี 2. สมาชิกทุกคนตองตระหนักถึงปญหาที่จะเกิดตามมา และจะทําใหเกิดทุกข ตองหาวิธีปองกันไมใหเกิดทุกขคือตองแกที่สาเหตุ และชี้ใหทุกคนเห็นวาวัตถุสิ่งของบางทีก็ นําทุกขมาให ควรพัฒนาจิตใจมากกวาวัตถุ
  • 25. 18 สถานการณที่ 3 ฉันทนา ไดรับการคัดเลือกเปนหัวหนาชั้น ม. 2 เพราะเปนนักเรียนที่ดีมีความ รับผิดชอบ เธอไดรับขาววา เพื่อนชายในหองคนหนึ่งอกหักผิดหวังเพราะคนที่รักทิ้งตนไปมี แฟนคนใหมตางโรงเรียน จึงนัดเพื่อน ๆ กันไปดักทํารายนักเรียนตางโรงเรียนคนนั้น ฉันทนา ควรทําอยางไรดี แนวคําตอบ 1. ฉันทนาตองสอบถามสาเหตุที่แทจริงของปญหาที่เกิดขึ้น วาเกิดจากอะไร 2. ปรึกษาหารือกับเพื่อน ๆ เพื่อหาทางออกที่ดีกวาที่จะไปทํารายกัน เพราะจะทํา ใหความทุกขอยางอื่นเพิ่มเขามาอีก ควรหาวิธีการและทางออกอยางสันติ และหากเห็นเกิน กําลังแกไดก็ใหปรึกษาครูในโรงเรียนหรือฝายปกครอง
  • 26. 19 ใบกิจกรรมที่ 5 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ กิจกรรมพัฒนาตนตามหลักธรรม 1. ฝกฝนการเปนคนรูเทาทันตามหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธวาดวย สุข 2ได 2. ประเมินพฤติกรรมของตนเองที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธได คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความรูสึกของตนเอง (ฝกคิดแบบสามัญ ลักษณ) ระดับความคิดเห็น พฤติกรรม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) 1. ซื้อสินคาเฉพาะสิ่งที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น 2. ยกยองใหกําลังใจเพื่อนที่เปนคนสมถะเรียบงาย 3. มีเพื่อนสนิทที่มีลักษณะนิสัยตรงกัน 4. มีความแนวแนในการประพฤติตนตามหลัก สุข 2 5. แนะนําตักเตือนผูอื่นดวยความจริงใจ 6. มีความอดทนอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุใหเกิดกิเลสได 7. มีคานิยมในการบริโภคที่ดี 8. เมื่อประสบปญหาก็จะยอนไปหาตนเหตุแหง ปญหา และจะแกใหตรงสาเหตุ 9. มีความสุขในการดําเนินชีวิตเรียบงาย 10. ตระหนักอยูเสมอวาวัตถุเปนเพียงสิ่งของนอก กาย ไมสําคัญเทาพัฒนาจิตใจ 11. เดินตามพุทธวิธี กําจัดความอยากได และรูสึก เปนสุขที่เอาชนะได 12. หมั่นทําใจใหสงบเย็น 13. ควบคุมความประพฤติทั้งทาง กาย วาจา และใจ
  • 27. 20 ระดับความคิดเห็น พฤติกรรม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) 14. ปรับตัวใหเขากับทุกสถานการณได 15. สรางคานิยมการทําความดีวาชนะความชั่วได รวมคะแนน นักเรียนมีแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักธรรม สุข 2 คือ .......................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ลงชื่อ .............................................. ผูประเมิน หมายเหตุ เมื่อเรียนเรื่องนี้จบแลวนักเรียนประเมินตนเองดวยแบบประเมินนี้อีกครั้งโดยใช เวลา 1 สัปดาห
  • 28. 21 แนวตอบใบกิจกรรมที่ 5 หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ กิจกรรมพัฒนาตนตามหลักธรรม 1. ฝกฝนการเปนคนรูเทาทันตามหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธวาดวย สุข 2ได 2. ประเมินพฤติกรรมของตนเองที่สอดคลองกับหลักธรรมอริยสัจ 4 นิโรธได คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ในชองที่ตรงกับความรูสึกของตนเอง (ฝกคิดแบบสามัญ ลักษณ) ระดับความคิดเห็น พฤติกรรม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) 1. ซื้อสินคาเฉพาะสิ่งที่จําเปนจริง ๆ เทานั้น 2. ยกยองใหกําลังใจเพื่อนที่เปนคนสมถะเรียบงาย 3. มีเพื่อนสนิทที่มีลักษณะนิสัยตรงกัน 4. มีความแนวแนในการประพฤติตนตามหลัก สุข 2 5. แนะนําตักเตือนผูอื่นดวยความจริงใจ 6. มีความอดทนอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุใหเกิดกิเลสได 7. มีคานิยมในการบริโภคที่ดี 8. เมื่อประสบปญหาก็จะยอนไปหาตนเหตุแหง ปญหา และจะแกใหตรงสาเหตุ 9. มีความสุขในการดําเนินชีวิตเรียบงาย 10. ตระหนักอยูเสมอวาวัตถุเปนเพียงสิ่งของนอก กาย ไมสําคัญเทาพัฒนาจิตใจ 11. เดินตามพุทธวิธี กําจัดความอยากได และรูสึก เปนสุขที่เอาชนะได 12. หมั่นทําใจใหสงบเย็น 13. ควบคุมความประพฤติทั้งทาง กาย วาจา และใจ
  • 29. 22 ระดับความคิดเห็น พฤติกรรม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) 14. ปรับตัวใหเขากับทุกสถานการณได 15. สรางคานิยมการทําความดีวาชนะความชั่วได รวมคะแนน นักเรียนมีแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักธรรม สุข 2 คือ .......................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ลงชื่อ .............................................. ผูประเมิน หมายเหตุ เมื่อเรียนเรื่องนี้จบแลวนักเรียนประเมินตนเองดวยแบบประเมินนี้อีกครั้งโดยใช เวลา 1 สัปดาห (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) เกณฑการพิจารณา คะแนน 46 – 60 หมายถึง ดีมาก คะแนน 31 – 45 หมายถึง ดี คะแนน 16 – 30 หมายถึง พอใช คะแนน 1 – 15 หมายถึง ควรปรับปรุง
  • 31. 24 แบบทดสอบหลังเรียน หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายหลักธรรมอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธ ได 2. อธิบายประเภทของอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 3. อธิบายแนวทางการประพฤติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได 4. วิเคราะหคุณคาหรืออานิสงสที่เกิดจากการปฏิบัติตามอริยสัจ 4 เรื่องนิโรธได คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. ผูมีความสุขอยางแทจริง เมื่อไดรูแจงเห็นจริงในสัจธรรม แสดงวาเขาอยูในขั้นใด ก. เขาใจในทุกข ข. ลงมือปฏิบัติเพื่อการดับทุกข ค. รูตนสายปลายเหตุแหงทุกข ง. รูขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข 2. เพราะเหตุใดพระพุทธเจาใหความสําคัญกับหลักอริยสัจ 4 มาก ก. ตองการใหมนุษยละชั่วและทําดี ข. ตองการใหมนุษยรูจักการแกปญหา ค. ตองการใหมนุษยยอมรับสภาพความจริง ง. ตองการใหคนหันมานับถือพระพุทธศาสนา 3. นิโรธ มีความหมายตรงกับขอใด ก. ความไมสบายกายไมสบายใจ ข. หนทางแหงการดับทุกข ค. สาเหตุที่ทําใหเกิดความทุกข ง. การดับทุกข 4. หลักธรรมอริยสัจ 4 นั้น เปนธรรมวาดวยเรื่องเหตุ และผล ขอใดจัดอยูในสวนของผล ก. ทุกข – สมุทัย ข. ทุกข – นิโรธ ค. นิโรธ – มรรค ง. สมุทัย – มรรค
  • 32. 25 5. การดับทุกขใหสําเร็จ เปนการเดินไปสูหนทางใด ก. สกทาคามี ข. อนาคามี ค. นิพพาน ง. โสดาบัน 6. ความสุขของคฤหัสถหรือผูครองเรือน ขอใดสําคัญที่สุด ก. ประพฤติไมมีโทษ ข. มีทรัพย ค. จายทรัพย ง. ไมมีหนี้ 7. บุคคลตอไปนี้ ใครเปนบุคคลที่มีแนวปฏิบัติถูกตองบรรลุตามหลัก สุข 2 มากที่สุด ก. ทานพุทธทาสภิกขุ ข. พลเอก เปรม ติณสูลานนท ค. ปูเย็น ง. พลตรีจําลอง ศรีเมือง 8. ขอใดจัดเปนสามิสสุข ก. สรอยสุดา ไปพักผอนที่บานตากอากาศสวนตัว ข. คําปน เปนคนรับใชที่ซื่อสัตยสุจริต ค. ลัดดา ชวยเหลืองานบานโดยไมตองออกปาก ง. คุณยายไปวิปสสนารักษาศีลที่วัดทุกวันพระ 9. “กายิกสุข” หมายถึงอะไร ก. ความสุขทางอารมณ ข. ความสุขทางวัตถุ ค. ความสุขทางกาย ง. ความสุขทางใจ 10.ขอใดเปนความหมายตามหลักธรรมสุข 2 ของการยินดีในทรัพยสมบัติมหาสมบัติ ก. นิรามิสสุข ข. พรหมวิหาร 4 ค. สามิสสุข ง. ความสุข
  • 33. 26 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หลักธรรม อริยสัจ 4 เรื่อง นิโรธ 1. ข 2. ข 3. ง 4. ข 5. ค 6. ก 7. ก 8. ก 9. ค 10. ค
  • 34. บรรณานุกรม กําพล ทองบุญนุม. จิตสดใส แมกายพิการ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ธรรมดา, 2546. จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และกวี อิศริวรรณ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน พระพุทธศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2547. _______ . หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน พระพุทธศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนา พานิช, 2547. ดวงเดือน ออนนวม และคณะ. หลักและวิธีการสรางแบบฝกทักษะ. กรุงเทพมหานคร : โรง พิมพอักษรไทย, 2536. ทิศนา แขมมณี. ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 3. โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547. _______. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม : จากทฤษฎีสูการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : เมธีทิปส, 2546. เนาวนิตย ใจมั่น. แนวการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมใหแกผูเรียนระดับ มัธยมศึกษา พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, แอคทีฟ พริ้นท, 2548. บุญธรรม ศรสวัสดิ์ และคณะ. พระพุทธศาสนาฉบับสมบูรณแบบ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, 2544. พรรณธิภา ออนแสง. การจัดทําแบบฝกทักษะ. มปท; 2532. พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เทคนิคการสอนของพระพุทธเจา. พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม, 2532. พระธรรมปฎก (ป.อ ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2538. พระระพิน พุทฺธิสาโร และวีรชาติ นิ่มอนงค. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนา คุณภาพวิชาการ, 2551. ยุพา ยิ้มพงษ. การสรางแบบฝกทักษะ. มปท; 2532. 27
  • 35. สุมน อมรวิวัฒน. การพัฒนาการเรียนรูตามแนวพุทธศาสตร : ทักษะกระบวนการเผชิญ สถานการณ. นนทบุรี : พิมพลักษณ, 2542. _______. หลักบูรณาการทางการศึกษาตามนัยแหงพุทธธรรม. นนทบุรี : พิมพลักษณ, 2544. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. วารสารวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2549. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด ตนแบบการเรียนรูทางทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน, หนวยศึกษานิเทศก. คูมือชุดการเรียนการสอนจริย ศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา, 2537. สุริวัตร จันทรโสภา. พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญ ทัศน, มปป. สุวิทย มูลคํา. กลยุทธิ์การพัฒนากระบวนการคิด. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : ภาพ พิมพ, 2550. . ครบเครื่องเรื่องการคิด. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ, 2550. 28
  • 36. ภาคผนวก หนังสืออานเพิ่มเติม ปรีชา ชางขวัญยืน และวิจิตร แกววิศิษฐ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0111 พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ไทยวัฒนาพานิช, 2548. วิชาการ, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือการจัดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2543. วิชาการ, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0110 พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2540. อเนก พ.อนุกูลบุตร และคณะ. หนังสือเรียนสังคมศึกษา รายวิชา ส 0110 พระพุทธศาสนา ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2541. อมร โสภณวิเชษฐวงศ และคณะ. หนังสือเรียนสมบูรณแบบ ส 0111 พระพุทธศาสนา ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,2539. 29