SlideShare a Scribd company logo
วิวัฒนาการการศึกษาไทย 
แบ่งออกได้ 5 ช่วง ดังนี้ 
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ 
- การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย 
- การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา 
- การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น 
2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา 
3. การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก 
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา 
5. การศึกษาสมัยปัจจุบัน
การศึกษาของไทยสมัยโบราณ 
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรม 
ประเพณีที่มีมาแต่เดิม จา เป็นที่คนไทยในสมัยนั้นจะต้องหาความรู้ 
จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ ซึ่งในสมัยนี้มีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางของ 
การศึกษา นอกจากนี้ในชุมชนต่าง ๆ ก็มีภูมิปัญญามากมายซึ่งมี 
ปราชญ์แต่ละสาขาวิชา เช่น ด้านการก่อสร้าง เป็นต้น
1. การศึกษาในสมัยสุโขทัย 
รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ 
ฝ่ายอาณาจักร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 
- ส่วนที่เป็นการจัดการศึกษาสา หรับผู้ชายที่เป็นทหาร 
- ส่วนพลเรือน สา หรับผู้หญิงให้เรียนวิชาช่างสตรี เช่น การเย็บ ปัก 
ถักร้อย กิริยามารยาท 
ฝ่ายศาสนาจักร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาการจัด 
การศึกษาในสมัยสุโขทัย จึงเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นพระพุทธศาสนา 
และศิลปศาสตร์
สถานศึกษา 
คือ วัง สา นักราชบัณฑิต บ้าน และ วัด 
เนื้อหาวิชาที่สอน คือ 
(1) วิชาความรู้สามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลี 
และสันสกฤตในการศึกษา 
(2) วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ 
(3) วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ 
ใช้เป็นพาหนะในการออกศึกและตา ราพิชัยยุทธ
2. การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา 
รูปแบบการจัดการศึกษา มีดังนี้ 
(1) การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน เรียนเลข อันเป็นวิชา 
พื้นฐานของคนไทย 
(2) การศึกษาทางด้านศาสนา วัดยังมีบทบาทมากในสมัยนี้ยังส่งเสริม 
พุทธศาสนาโดยทรงวางกฎเกณฑ์ไว้ว่าประชาชนคนใดไม่เคยบวชเรียน 
เขียนอ่านมาก่อน จะไม่ทรงแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการและในสมัยสมเด็จ 
พระนารายณ์มหาราช มีนักสอนศาสนาได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือ 
และวิชาอื่น ๆ ขึ้นเรียกโรงเรียนนี้ว่า โรงเรียนสามเณร เพื่อชักจูงให้ชาว 
ไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์
(3) การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี มีการสอนทั้งภาษาไทย 
บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และภาษาจีน ในรัชสมัยสมเด็จ 
พระนารายณ์มหาราชมีวรรณคดีหลายเล่ม เช่น คา ฉันท์ 
(4) การศึกษาของผู้หญิง มีการเรียนวิชาชีพ การเรือน การครัว ทอผ้า 
ตลอดจนกิริยามารยาท 
(5) การศึกษาวิชาการด้านทหาร มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดิน
สถานศึกษา 
ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัย แต่มีความต่าง 
คือ มีโรงเรียนมิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้าสร้างเพื่อ 
เผยแพร่ศาสนาและขณะ เดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย
เนื้อหาวิชาที่สอน คือ 
(1) วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทย 
จินดามณี 
(2) วิชาชีพ มีการเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล หลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมี 
การเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น ดาราศาสตร์ แพทยศาสตร์ เป็นต้น 
(3) ด้านอักษรศาสตร์มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ เช่น ภาษาไทย บาลี 
สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน 
(4) วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น 
(5) วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย
3. การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น 
การศึกษาในสมัยนี้ธนบุรีมีความคล้ายกับสมัยอยุธยา การจัดการศึกษามีดังนี้ 
(1) สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมตา ราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจาก 
การทา ลายของพม่า เน้นการทา นุบา รุงตา ราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี 
(2) สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษร 
ศาสตร์ 
(3) สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีชาติโปรตุเกสเข้ามาติดต่อทางการ 
ค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกรา ในสมัยนี้ได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ 
โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์
(4) สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงส่งเสริมการศึกษาด้าน 
ศาสนาเป็นพิเศษ ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นากิจการแพทย์ 
สมัยใหม่ เช่น การผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตั้งโรงพิมพ์หนังสือไทย 
เป็นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2379 
(5) สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และ 
อเมริกันเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนา วิทยาการ 
สมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยโดยมีหลักสูตรเกี่ยวกับการอ่านและ 
เขียนภาษาไทยทั้งในด้านโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา 
แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 
1. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 
ได้ทรงปรับปรุงประเทศให้เจริญในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการศึกษา 
เพื่อให้คนในประเทศให้มีความรู้ความสามารถจะช่วยให้ ประเทศชาติมี 
ความเจริญก้าวหน้าจึงได้มีการจัดการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน 
(Formal education) มีการกา หนดวิชาทีเรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมี 
ทุนให้ไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ
ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้มี5 ปัจจัย คือ 
(1) แนวคิดและวิทยาการต่างๆ ของชาติตะวันตก 
(2) ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอา นาจ 
(3) ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ เข้ามารับราชการ 
(4) โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง 
(5) การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป
การจัดต้งัสถานศึกษา 
ปี พ.ศ. 2414 เพื่อฝึกคนให้เข้ารับราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร 
(น้อย อาจาริยางกูร) เป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิด 
เลข และขนบธรรมเนียมราชการ และการจัดตั้งโรงเรียนสา หรับสอน 
ภาษาอังกฤษ และปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
ปี พ.ศ. 2432 ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยา 
ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งตั้งอยู่ที่วัดเทพศิริทราวาส ไป รวม 
กับโรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก (บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) 
ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียน 
เบญจมราชาลัย
การจัดแบบเรียน 
หลักสูตรและการสอบไล่ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ 
ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจาริยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวง 
ขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี พ.ศ. 2427 
กา หนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตามแบบเรียนหลวงหก 
เล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ ได้แก้ไขการสอบไล่ 
จากเดิมปี1 ครั้งเป็นปีละ 2 ครั้งเพื่อไม่ให้นักเรียนเสียเวลานานเกินไป
2. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา มีดังนี้ 
(1) พระบรมราชโนบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความ 
เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ 
(2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้ว 
พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็น 
หลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศ 
อังกฤษเข้ามาจัดตั้งกองเสือป่า 
(3) จึงมีความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบ 
ประชาธิปไตย มุ่งที่จะหันเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป
วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา มีดังนี้ 
ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้า 
รับราชการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของ 
ประเทศไทยปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือขึ้นเป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2459 
จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาด 
ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้นโดยโอน 
กลับมาขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติ 
ประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7 ปี บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 8 
ให้เรียนอยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ 14 ปีบริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 15 โดยไม่ 
ต้องเสียค่าเล่าเรียน
3. การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้ 
(1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ 
(2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก 
(3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า (พ.ศ.2463 - พ.ศ.2474) 
(4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา
วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้ 
ปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการอย่างเดิม 
ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษา คนละ 1-3 บาท 
ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการ เพื่อให้สอดคล้องกับ 
ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
3. การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ 
ปัจจัยของไทยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา 
(1) นโยบายการจัดการศึกษาของคณะราษฎร์ คืออุดมการณ์ของคณะ 
ราษฎร์ มีปรากฏอยู่ในหลัก 6 ประการ ข้อที่ 6 จะต้องให้การศึกษาอย่าง 
เต็มที่แก่ราษฎร 
(2) การเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2488 ทา ให้ 
แนวคิดทางการศึกษาของไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็นอย่างมาก
วิวัฒนาการการจัดการศึกษา มีดังนี้ 
(1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ มีการปรับปรุงการจัด 
การศึกษาภาคบังคับจาก 6 ปี เหลือ 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษา 
ชาติ พ.ศ.2479 
(2) การมอบให้ท้องถิ่นเป็นฝ่ายดูแล ถิ่นจัดการศึกษา
(3) การปรับปรุงหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการศึกษา 
และเหตุการณ์สา คัญทางการศึกษา ดังเช่น ปี พ.ศ. 2476 ประกาศตั้ง 
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2478 ประกาศใช้พระราชบัญญัติ 
ประถมศึกษาทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2488 ประกาศใช้พระราชบัญญัติครู 
พุทธศักราช 2488 ใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ฉบับที่ 4 การ 
ปฏิวัติเมื่อเดือนตุลาคม 2501 ได้มีการจัดทา และนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 
และสังคมมาใช้
การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา 
การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2492 – พ.ศ. 2534) ได้มีการ 
ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 
2503 ได้ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และประกาศใช้แผนการ 
ศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2520
พ.ศ. 2492 มีการจัดตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง” 
พ.ศ. 2494 มีประกาศใช้“แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494” 
มีการกา หนดองค์สี่แห่งการศึกษาคือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ 
หัตถศึกษา(ได้อิทธิพลปรัชญาการศึกษาแบบอเมริกัน) 
พ.ศ. 2503มีการประกาศ “แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2503” 
แผนฯนี้ได้ขยายการศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี 
พ.ศ. 2505 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติประถมศึกษา 
พ.ศ. 2505” มีการประกาศการศึกษาภาคบังคับประถมศึกษาในตาบล 
ปรากฏว่าจนถึง พ.ศ. 2520 สามารถประกาศได้ถึง 3,583 ตาบล
พ.ศ. 2510 มีการ “ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนมัธยมแบบ 
ผสม” ขึ้น โดยโครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วยวิชาบังคับและวิชาเลือก 
พ.ศ. 2512 มีการประกาศ “พระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ. 
2512” โดยให้เอกชนดา เนินการจัดตั้งวิทยาลัยเอกชน และดา เนินการ 
สอนได้ถึงระดับปริญญาตรี 
พ.ศ.2516 จัดสอบเอนทรานซ์เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเป็นปีแรก 
พ.ศ.2517 รัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักด์ิ ได้จัดตั้ง “คณะกรรมการวาง 
พื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา” เพื่อทา หน้าที่เสนอแนวทางการวาง 
พื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
พ.ศ. 2520 ได้มีการประกาศใช้“แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 
2520” โดยได้จัดการศึกษาระดับประถมและมัธยมเป็นระบบ 6:3:3 คือ 
ชั้นประถมศึกษา 6 ชั้น มัธยมศึกษา 6 ชั้น แบ่งเป็นมัธยมตอนต้น 3 ชั้น 
ตอนปลาย 3 ชั้น(ระบบปัจจุบัน) 
พ.ศ.2525 ได้มีการประกาศใช้“พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน” 
พ.ศ. 2527 ประกาศใช้“พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 
2527” ให้วิทยาลัยครูผลิตครูได้ถึงระดับปริญญาตรีและเปิดการสอนวิชา 
ต่างๆ 
พ.ศ. 2533 ปรับปรุงหลักสูตรมัธยมศึกษาทั้ง 2 ระดับ คือ หลักสูตร 
มัธยมศึกษาตอนต้น และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่งส่งเสริมให้ครู 
พัฒนาการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการให้ผู้เรียน ค้นคว้าความรู้ด้วย 
ตัวเอง
การศึกษาสมัยปัจจุบัน 
ซึ่งการจัดการศึกษาในปัจจุบันได้มุ่งยึดแนวนโยบายที่สอดคล้อง 
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555- พ.ศ. 
2559) โครงสร้างการบริหารงานและการจัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็น 
สา คัญ และให้สอดคล้องกับยุคสารสนเทศและเทคโนโลยี
วิวัฒนาการศึกษาโลก 
โลกมีการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป จากความก้าวหน้าในเชิงวิชาการและ 
วิวัฒนาการของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทา ให้ 
ข้อมูลความรู้ที่ค้นพบและสร้างขึ้น มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นถูกกระจาย 
ออกไปทั่วโลกอย่างไร้ขอบเขต เป็นความรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายขึ้น สามารถต่อ 
ยอดไปสู่ความรู้ใหม่ๆ ได้ง่ายขึ้น ต่างกับในอดีต ที่ความรู้คงอยู่เฉพาะใน 
สถาบันใดสถาบัน ปรากฏอยู่ทั้งในรูปแบบเอกสาร วารสาร หนังสือ และ 
รูปแบบอิเล็คทรอนิคส์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
วิวัฒนาการการเรียนรู้ 
2900 ปีก่อน ค.ศ. อียิปต์มีการเขียนแผนที่ 
850 ปีก่อน ค.ศ. เฮอร์เมอร์ได้ประพันธ์มหากาพย์อิเลียต 
600 ปีก่อน ค.ศ. นิทานได้ปรากฏอยู่ในกรีก (อีสป) 
ค.ศ.300 ที่อินเดียการตีพิมพ์หนังสือกามสูตร 
ค.ศ.868 จีนมีการตีพิมพ์วัชสูตร
เอกสารอ้างอิง 
http://eduweb.kpru.ac.th/wbi/index.php/menu-elementary1 
สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 
http://jakreenoi.blogspot.com/2013/07/blog-post_ 
15.html 
สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 
http://www.youtube.com/watch?v=PhFZh3VZhkA 
สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 
http://www.studyinaustralia.gov.au/thailand/why-australia/ 
world-class-education 
สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
WijittraSreepraram
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

Similar to วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก

Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
Chalee Pop
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
SakaeoPlan
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
ssuser930700
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
การศึกษาของไทย
การศึกษาของไทยการศึกษาของไทย
การศึกษาของไทย
กีรชาติ บุญช่วย
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
Thanathip Wongsin
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
Phichai Na Bhuket
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
Kobwit Piriyawat
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 

Similar to วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก (20)

Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
การศึกษาของไทย
การศึกษาของไทยการศึกษาของไทย
การศึกษาของไทย
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 

More from Chainarong Maharak

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Chainarong Maharak
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
Chainarong Maharak
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
Chainarong Maharak
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
Chainarong Maharak
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
Chainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
Chainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
Chainarong Maharak
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
Chainarong Maharak
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
Chainarong Maharak
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
Chainarong Maharak
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
Chainarong Maharak
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
Chainarong Maharak
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
Chainarong Maharak
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
Chainarong Maharak
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Chainarong Maharak
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
Chainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 

More from Chainarong Maharak (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก

  • 1.
  • 2. วิวัฒนาการการศึกษาไทย แบ่งออกได้ 5 ช่วง ดังนี้ 1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ - การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย - การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา - การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น 2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา 3. การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก 4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา 5. การศึกษาสมัยปัจจุบัน
  • 3. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีที่มีมาแต่เดิม จา เป็นที่คนไทยในสมัยนั้นจะต้องหาความรู้ จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ ซึ่งในสมัยนี้มีบ้านและวัดเป็นศูนย์กลางของ การศึกษา นอกจากนี้ในชุมชนต่าง ๆ ก็มีภูมิปัญญามากมายซึ่งมี ปราชญ์แต่ละสาขาวิชา เช่น ด้านการก่อสร้าง เป็นต้น
  • 4. 1. การศึกษาในสมัยสุโขทัย รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายอาณาจักร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ - ส่วนที่เป็นการจัดการศึกษาสา หรับผู้ชายที่เป็นทหาร - ส่วนพลเรือน สา หรับผู้หญิงให้เรียนวิชาช่างสตรี เช่น การเย็บ ปัก ถักร้อย กิริยามารยาท ฝ่ายศาสนาจักร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาการจัด การศึกษาในสมัยสุโขทัย จึงเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นพระพุทธศาสนา และศิลปศาสตร์
  • 5. สถานศึกษา คือ วัง สา นักราชบัณฑิต บ้าน และ วัด เนื้อหาวิชาที่สอน คือ (1) วิชาความรู้สามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลี และสันสกฤตในการศึกษา (2) วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ (3) วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ ใช้เป็นพาหนะในการออกศึกและตา ราพิชัยยุทธ
  • 6. 2. การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา รูปแบบการจัดการศึกษา มีดังนี้ (1) การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน เรียนเลข อันเป็นวิชา พื้นฐานของคนไทย (2) การศึกษาทางด้านศาสนา วัดยังมีบทบาทมากในสมัยนี้ยังส่งเสริม พุทธศาสนาโดยทรงวางกฎเกณฑ์ไว้ว่าประชาชนคนใดไม่เคยบวชเรียน เขียนอ่านมาก่อน จะไม่ทรงแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการและในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช มีนักสอนศาสนาได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือ และวิชาอื่น ๆ ขึ้นเรียกโรงเรียนนี้ว่า โรงเรียนสามเณร เพื่อชักจูงให้ชาว ไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์
  • 7. (3) การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี มีการสอนทั้งภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และภาษาจีน ในรัชสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชมีวรรณคดีหลายเล่ม เช่น คา ฉันท์ (4) การศึกษาของผู้หญิง มีการเรียนวิชาชีพ การเรือน การครัว ทอผ้า ตลอดจนกิริยามารยาท (5) การศึกษาวิชาการด้านทหาร มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดิน
  • 8. สถานศึกษา ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัย แต่มีความต่าง คือ มีโรงเรียนมิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้าสร้างเพื่อ เผยแพร่ศาสนาและขณะ เดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย
  • 9. เนื้อหาวิชาที่สอน คือ (1) วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทย จินดามณี (2) วิชาชีพ มีการเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล หลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมี การเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น ดาราศาสตร์ แพทยศาสตร์ เป็นต้น (3) ด้านอักษรศาสตร์มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ เช่น ภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน (4) วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น (5) วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย
  • 10. 3. การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น การศึกษาในสมัยนี้ธนบุรีมีความคล้ายกับสมัยอยุธยา การจัดการศึกษามีดังนี้ (1) สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมตา ราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจาก การทา ลายของพม่า เน้นการทา นุบา รุงตา ราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี (2) สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษร ศาสตร์ (3) สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีชาติโปรตุเกสเข้ามาติดต่อทางการ ค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกรา ในสมัยนี้ได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์
  • 11. (4) สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงส่งเสริมการศึกษาด้าน ศาสนาเป็นพิเศษ ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นากิจการแพทย์ สมัยใหม่ เช่น การผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตั้งโรงพิมพ์หนังสือไทย เป็นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2379 (5) สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และ อเมริกันเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนา วิทยาการ สมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยโดยมีหลักสูตรเกี่ยวกับการอ่านและ เขียนภาษาไทยทั้งในด้านโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
  • 12. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 1. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปรับปรุงประเทศให้เจริญในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการศึกษา เพื่อให้คนในประเทศให้มีความรู้ความสามารถจะช่วยให้ ประเทศชาติมี ความเจริญก้าวหน้าจึงได้มีการจัดการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน (Formal education) มีการกา หนดวิชาทีเรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมี ทุนให้ไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ
  • 13. ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้มี5 ปัจจัย คือ (1) แนวคิดและวิทยาการต่างๆ ของชาติตะวันตก (2) ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอา นาจ (3) ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ เข้ามารับราชการ (4) โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง (5) การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป
  • 14. การจัดต้งัสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2414 เพื่อฝึกคนให้เข้ารับราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) เป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิด เลข และขนบธรรมเนียมราชการ และการจัดตั้งโรงเรียนสา หรับสอน ภาษาอังกฤษ และปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2432 ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยา ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งตั้งอยู่ที่วัดเทพศิริทราวาส ไป รวม กับโรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก (บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียน เบญจมราชาลัย
  • 15. การจัดแบบเรียน หลักสูตรและการสอบไล่ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจาริยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวง ขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี พ.ศ. 2427 กา หนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตามแบบเรียนหลวงหก เล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ ได้แก้ไขการสอบไล่ จากเดิมปี1 ครั้งเป็นปีละ 2 ครั้งเพื่อไม่ให้นักเรียนเสียเวลานานเกินไป
  • 16. 2. การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา มีดังนี้ (1) พระบรมราชโนบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความ เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ (2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้ว พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็น หลักในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศ อังกฤษเข้ามาจัดตั้งกองเสือป่า (3) จึงมีความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบ ประชาธิปไตย มุ่งที่จะหันเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป
  • 17. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา มีดังนี้ ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้า รับราชการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของ ประเทศไทยปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือขึ้นเป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2459 จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาด ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้นโดยโอน กลับมาขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติ ประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7 ปี บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 8 ให้เรียนอยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ 14 ปีบริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 15 โดยไม่ ต้องเสียค่าเล่าเรียน
  • 18. 3. การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้ (1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ (2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก (3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า (พ.ศ.2463 - พ.ศ.2474) (4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา
  • 19. วิวัฒนาการการจัดการศึกษาในสมัยนี้ มีดังนี้ ปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการอย่างเดิม ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษา คนละ 1-3 บาท ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการ เพื่อให้สอดคล้องกับ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
  • 20. 3. การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ ปัจจัยของไทยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (1) นโยบายการจัดการศึกษาของคณะราษฎร์ คืออุดมการณ์ของคณะ ราษฎร์ มีปรากฏอยู่ในหลัก 6 ประการ ข้อที่ 6 จะต้องให้การศึกษาอย่าง เต็มที่แก่ราษฎร (2) การเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2488 ทา ให้ แนวคิดทางการศึกษาของไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็นอย่างมาก
  • 21. วิวัฒนาการการจัดการศึกษา มีดังนี้ (1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ มีการปรับปรุงการจัด การศึกษาภาคบังคับจาก 6 ปี เหลือ 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษา ชาติ พ.ศ.2479 (2) การมอบให้ท้องถิ่นเป็นฝ่ายดูแล ถิ่นจัดการศึกษา
  • 22. (3) การปรับปรุงหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการศึกษา และเหตุการณ์สา คัญทางการศึกษา ดังเช่น ปี พ.ศ. 2476 ประกาศตั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2478 ประกาศใช้พระราชบัญญัติ ประถมศึกษาทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2488 ประกาศใช้พระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ฉบับที่ 4 การ ปฏิวัติเมื่อเดือนตุลาคม 2501 ได้มีการจัดทา และนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมาใช้
  • 23. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2492 – พ.ศ. 2534) ได้มีการ ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2503 ได้ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 และประกาศใช้แผนการ ศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ในปี พ.ศ. 2520
  • 24. พ.ศ. 2492 มีการจัดตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง” พ.ศ. 2494 มีประกาศใช้“แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494” มีการกา หนดองค์สี่แห่งการศึกษาคือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และ หัตถศึกษา(ได้อิทธิพลปรัชญาการศึกษาแบบอเมริกัน) พ.ศ. 2503มีการประกาศ “แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2503” แผนฯนี้ได้ขยายการศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี พ.ศ. 2505 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2505” มีการประกาศการศึกษาภาคบังคับประถมศึกษาในตาบล ปรากฏว่าจนถึง พ.ศ. 2520 สามารถประกาศได้ถึง 3,583 ตาบล
  • 25. พ.ศ. 2510 มีการ “ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนมัธยมแบบ ผสม” ขึ้น โดยโครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วยวิชาบังคับและวิชาเลือก พ.ศ. 2512 มีการประกาศ “พระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ. 2512” โดยให้เอกชนดา เนินการจัดตั้งวิทยาลัยเอกชน และดา เนินการ สอนได้ถึงระดับปริญญาตรี พ.ศ.2516 จัดสอบเอนทรานซ์เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเป็นปีแรก พ.ศ.2517 รัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักด์ิ ได้จัดตั้ง “คณะกรรมการวาง พื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา” เพื่อทา หน้าที่เสนอแนวทางการวาง พื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
  • 26. พ.ศ. 2520 ได้มีการประกาศใช้“แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520” โดยได้จัดการศึกษาระดับประถมและมัธยมเป็นระบบ 6:3:3 คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ชั้น มัธยมศึกษา 6 ชั้น แบ่งเป็นมัธยมตอนต้น 3 ชั้น ตอนปลาย 3 ชั้น(ระบบปัจจุบัน) พ.ศ.2525 ได้มีการประกาศใช้“พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน” พ.ศ. 2527 ประกาศใช้“พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2527” ให้วิทยาลัยครูผลิตครูได้ถึงระดับปริญญาตรีและเปิดการสอนวิชา ต่างๆ พ.ศ. 2533 ปรับปรุงหลักสูตรมัธยมศึกษาทั้ง 2 ระดับ คือ หลักสูตร มัธยมศึกษาตอนต้น และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่งส่งเสริมให้ครู พัฒนาการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการให้ผู้เรียน ค้นคว้าความรู้ด้วย ตัวเอง
  • 27. การศึกษาสมัยปัจจุบัน ซึ่งการจัดการศึกษาในปัจจุบันได้มุ่งยึดแนวนโยบายที่สอดคล้อง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555- พ.ศ. 2559) โครงสร้างการบริหารงานและการจัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็น สา คัญ และให้สอดคล้องกับยุคสารสนเทศและเทคโนโลยี
  • 28. วิวัฒนาการศึกษาโลก โลกมีการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป จากความก้าวหน้าในเชิงวิชาการและ วิวัฒนาการของเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทา ให้ ข้อมูลความรู้ที่ค้นพบและสร้างขึ้น มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นถูกกระจาย ออกไปทั่วโลกอย่างไร้ขอบเขต เป็นความรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายขึ้น สามารถต่อ ยอดไปสู่ความรู้ใหม่ๆ ได้ง่ายขึ้น ต่างกับในอดีต ที่ความรู้คงอยู่เฉพาะใน สถาบันใดสถาบัน ปรากฏอยู่ทั้งในรูปแบบเอกสาร วารสาร หนังสือ และ รูปแบบอิเล็คทรอนิคส์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
  • 29. วิวัฒนาการการเรียนรู้ 2900 ปีก่อน ค.ศ. อียิปต์มีการเขียนแผนที่ 850 ปีก่อน ค.ศ. เฮอร์เมอร์ได้ประพันธ์มหากาพย์อิเลียต 600 ปีก่อน ค.ศ. นิทานได้ปรากฏอยู่ในกรีก (อีสป) ค.ศ.300 ที่อินเดียการตีพิมพ์หนังสือกามสูตร ค.ศ.868 จีนมีการตีพิมพ์วัชสูตร
  • 30. เอกสารอ้างอิง http://eduweb.kpru.ac.th/wbi/index.php/menu-elementary1 สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 http://jakreenoi.blogspot.com/2013/07/blog-post_ 15.html สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 http://www.youtube.com/watch?v=PhFZh3VZhkA สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557 http://www.studyinaustralia.gov.au/thailand/why-australia/ world-class-education สืบค้น วันที่ 27 สิงหาคม 2557