SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 3 รหัสวิชา ส22103
ชื่อ................................................................................................................................ห้อง..............เลขที่.............
ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
เศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยาขึ้นอยู่กับการประกอบอาชีพหลัก 3 อย่าง คือ การเกษตรกรรม หัตถกรรม และ
พาณิชยกรรม ปัจจัยสนับสนุนการประกอบกิจกรรมเศรษฐกิจดังกล่าว มีดังนี้
1. ทาเลที่ตั้ง อยู่ใกล้ปากอ่าวไทย จึงเดินเรือค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก
2. ลักษณะภูมิประเทศ เหมาะสมเป็นแหล่งเกษตรกรรม อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้้า
เจ้าพระยาตอนล่าง มีแม่น้้าสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาย มีดินดีราษฎรส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม
3. นโยบายส่งเสริมการค้ากับต่างประเทศ มีพ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาตั้งสถานีการค้าและหมู่บ้านอยู่อาศัยใน
บริเวณรอบ ๆ ราชธานีหลายกลุ่ม
ระบบเงินตรา
เงิน หรือเงินตรา เป็นปัจจัยส้าคัญในการเป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนสินค้าให้เกิดการหมุนเวียนและกระจายได้ดีขึ้น
จึงจัดว่ามี่วนช่วยพัฒนาระบบเศรษฐกิจให้มีความคล่องตัวขยายตัวได้และเป็นผลดี อยุธยาใช้เงินตราเป็นมาตรฐาน เงินในรูป
เงินพดด้วง เช่นเดียวกับสุโขทัย พระคลังเป็นผู้ผูกขาดการท้าเงินตรา ซึ่งมี 4 ชนิดคือ
1. เงินพดด้วง มีตราประทับหลายแบบราคาที่ใช้กันมากคือ 1 บาท กึ่งบาท 1 สลึง 1 เฟื้อง
2. เบี้ย เป็นเงินปลีก หรือเงินย่อย ท้าจากหอย
3. ไพ และกล่้า ท้าจากโลหะซึ่งไม่ใช่เงิน
4. เงินประกับ เป็นดินเผาตีตราประทับ ใช้แทนเบี้ยที่ขาดแคลนเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2287
การเกษตรกรรมสมัยอยุธยา
1. การเกษตรกรรม เป็นอาชีพหลักของประชากรส่วนใหญ่ ถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาอาณาจักร และเป็น
พื้นฐานของเศรษฐกิจอยุธยา ที่ส้าคัญได้แก่
- การทานา แหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มตอนล่างของแม่น้้าเจ้าพระยา
- การทาสวน เช่น สวนมะพร้าว มะม่วง หมาก ทุเรียน มังคุด ขนุน ส้ม
- การทาไร่ เช่น ไร่อ้อย พริกไทย สับปะรด
- การประมง มีการจัดปลาน้้าจืด และน้้าเค็ม
- การหาของป่า เช่น สัตว์ป่า ช้าง แรด นก กวาง เสือ หนังสัตว์ นอแรด ไม้ฝาง ยางไม้ ชัน ครั่ง
ฯลฯ
จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม
2. การหัตถกรรม (อุตสาหกรรมครัวเรือน) แม้จะมีความส้าคัญน้อยกว่าการเกษตรกรรมและการค้าก็ตาม แต่
หัตถกรรมก็มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจของอยุธยามีความเจริญรุ่ง สามารถผลิตสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ หัตถกรรมที่ส้าคัญได้แก่
เครื่องปั้นดินเผา การทอผ้า เครื่องจักสาน เครื่องเงิน เครื่องทองเหลือง เครื่องเรือน
3. การพาณิชยกรรม เศรษฐกิจของอยุธยาขึ้นอยู่กับการค้าขายเป็นส้าคัญทั้งการค้าภายในและการค้ากับ
ต่างประเทศ
3.1 การค้าขายภายในประเทศ มี 2 ระบบ คือ
3.1.1 แลกเปลี่ยนโดยตรง เช่น น้าข้าวเปลือกแลกน้้าปลา น้าหม้อแลกกับข้าวหรือผลไม้
3.1.2 แลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา คือ การซื้อขายด้วยระบบเงินตรา
3.2 การค้าขายกับต่างประเทศ อยุธยากลายเป็นศูนย์กลางการค้าที่ส้าคัญทั้งของหัวเมืองทางเหนือ เช่น
สุโขทัย ล้านนา และของชาวต่างประเทศ เช่น จีน อินเดีย อาหรับ และชาติตะวันตก ลักษณะการค้าต่างประเทศที่ส้าคัญ
ได้แก่
3.2.1 รายแรกค้าขายได้อย่างเสรี ไม่ต้องผ่านหน่วยงานของรัฐ ระยะหลังรัฐควบคุมเป็นคนกลาง เพื่อ
หาก้าไร
3.2.2 สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ส่วนใหญ่เป็นการค้าขายกับชาติเอเชียด้วยกัน เช่น จีน อินเดีย ชวา
มลายู ญี่ปุ่น
3.2.3 สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 เริ่มมีการค้าขายกับชาติตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา
อังกฤษ และฝรั่งเศส
3.2.4 สมัยพระมหาจักรพรรดิ มีการตั้งพระคลังสินค้า เพื่อผูกขาดการค้า หาก้าไรสู่แผ่นดิน
3.2.5 สมัยพระเจ้าปราสาททอง-สมัยพระนารายณ์มหาราช มีการผูกขาดสินค้ามากยิ่งขึ้น ท้าให้
เศรษฐกิจอยุธยาเจริญรุ่งเรือง
3.2.6 สมัยพระนารายณ์มหาราช ชาวตะวันตกไม่พอใจนโยบายผูกขาดการค้าของไทยมาก ฮอลันดา
จึงพยายามบีบบังคับให้ไทยยกเลิกพระคลังสินค้า แต่ไม่ส้าเร็จ
3.3 สินค้าออกที่สาคัญ ได้แก่ งาช้าง หนังสัตว์ ไม้กฤษณา พริกไทย กานพลู น้้าผึ้ง น้้าตาล ดินประสิว
น้้ามันสน ยางสน ครั่ง
3.4 สินค้าเข้าที่สาคัญ
3.4.1 สินค้าจากจีนและญี่ปุ่น เช่น ผ้าแพร ไหมดิบ ปรอท ทองค้า เครื่องเคลือบ และเครื่องลาย
คราม
3.4.2 สินค้าจากอินเดีย อาหรับ และเปอร์เซีย เช่น พรม ผ้าฝ้าย และน้้าหอม
3.4.3 สินค้าจากยุโรป เช่น อาวุธปืน เครื่องแก้ว และผ้าลูกไม้
พระคลังสินค้า
เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุมการค้ามีหน้าที่ คือ
1. ตรวจเรือสินค้าต่างประเทศ เพื่อเลือกซื้อสินค้าที่ราชการต้องการไว้ก่อน เช่น อาวุธ กระสุนปืน
2. กาหนดสินค้าต้องห้าม ส่วนมากเป็นของหายาก มีน้อย ราคาแพง เช่น ข้าว เกลือ รังนก ดีบุก งาช้าง
ดินประสิว ตะกั่ว ไม้หอม ไม้จันทร์ ฝาง กฤษณา นอแรด
3. ค้าส้าเภาของหลวง
4. เมืองท้าการค้ากับต่างประเทศที่ส้าคัญ ได้แก่ นครศรีธรรมราช ค้าดีบุก พริกไทย ปัตตานี ค้าพริกไทย
ขี้ผึ้ง ภูเก็ต ค้าดีบุก อ้าพัน ไข่มุก มะริดและตะนาวศรี ค้าข้าว ผลไม้ เพชรบุรี ค้าข้าว ฝ้าย บางกอก เป็นศูนย์กลาง
การค้ารองจากอยุธยา จันทบุรี ค้าพริกไทย เครื่องเทศ ของป่า
จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม
การค้ากับประเทศคู่ค้าที่สาคัญ
จีน เป็นคู่ค้าส้าคัญที่สุดของอยุธยา มีการค้าภายใต้ระบบการทูตบรรณาการ สินค้าที่ไทยส่งไปขายในจีน ได้แก่
ข้าว ไม้ฝาง งาข้าว รังนก ดีบุก เกลือ ดินประสิว ก้ายาน ครั่ง
ญี่ปุ่น สินค้าที่ญี่ปุ่นนิยมซื้อ ได้แก่ ข้าว หนังกวาง ไม้แดง ไม้ฝาง งาช้าง สินค้าที่ญี่ปุ่นน้ามาขาย ได้แก่
ทองแดง ทองค้า ผ้าแพร
โปรตุเกส เข้ามาเป็นชาติแรก ได้ให้ความช่วยเหลือแก่อยุธยาด้านอาวุธปืน และกระสุนดินด้า
สเปน เข้ามาเพื่อส่งเสริมการค้าระหว่างฟิลิปปินส์กับอยุธยา
ฮอลันดา ต้องการสินค้าหนังสัตว์ พริกไทยและดีบุก
อังกฤษ มีจุดประสงค์เพื่อการค้าและเป็นหนทางติดต่อกับจีนและญี่ปุ่น
เดนมาร์ก มีสินค้ามีชื่อมาขาย คือ ปืนคาบศิลา
รายได้ของอาณาจักรอยุธยา
แหล่งที่มาของรายได้ของกรุงศรีอยุธยา อาจแบ่งเป็น 5 ประเภทใหญ่ ดังนี้
1. รายได้จากค่าทดแทนการเกณฑ์แรงงาน ราษฎรต้องตอบแทนด้วยการอุทิศแรงงาน ท้างานให้หลวงปีละไม่
เกิน 6 เดือน ราษฎรที่ถูกเกณฑ์ไปท้างานตามก้าหนด เรียกว่า เข้าเวร ผู้เข้าเวรไม่ได้ต้องส่งเงินหรือสิ่งของที่หลวงต้องการมา
ให้ทดแทน เรียกว่า ส่งส่วย จึงเป็นรายได้จากส่วยในรูปเงินและสิ่งของ ถ้าเป็นเงิน เดือนละ 2 บาท สิ่งของเป็นสิ่งของหา
ยาก เช่น มูลค้างคาว ดีบุก งาช้าง
2. รายได้จากภาษีอากร
2.1 ภาษีสินค้าเข้า-สินค้าออก รวมทั้งภาษีที่เรียกว่า จังกอบ เช่น ภาษีปากเรือ (เรียกเก็บตามความกว้าง
ของเรือ)
2.2 อากรนา เก็บเป็นหางข้าว และเก็บเป็นเงินไร่ละ 1 สลึงต่อปี อากรสวน ตันละ 1 บาทต่อปี ทุเรียน
ตันละ 2 สลึงต่อปี อากรตลาด คือ ภาษีที่เก็บจากร้านค้าและผู้มาขายของในตลาด
2.3 อากรขนอน หรือภาษีผ่านด่าน เก็บจากผู้น้าสินค้าผ่านด่าน สิบหยิบหนึ่ง (คือ ร้อยละ 10)
3. รายได้จากการค้าของพระคลังสินค้า ผูกขาดการค้าศัสตราวุธไว้เพียงผู้เดียว เป็นผู้ก้าหนดสินค้าต้องห้าม
ก้าหนดราคาสินค้าเอง
4. รายได้จากค่าฤชา คือค่าธรรมเนียมเรียกเก็บจากราษฎรที่มาใช้บริการของรัฐ เช่น การออกโฉนดตราสาร
กรรมสิทธิ์ที่ดิน ที่นา
5. รายได้อื่น ๆ เช่น รายได้จากเครื่องราชบรรณาการของเจ้าประเทศราช หรือจากของขวัญของก้านัลที่เจ้าเมือง
ขุนนาง หรือพ่อค้าน้ามาถวาย
รายจ่ายของอาณาจักรอยุธยา
1. ด้านความมั่นคง จัดไว้เพื่อการป้องกันประเทศและขยายอาณาจักร
2. ด้านพระพุทธศาสนา จัดไว้เพื่อนิตยภัตแต่พระภิกษุสงฆ์ งานกฐิน งานปฏิสังขรณ์วัด
3. ด้านราชสานักและราชการทั่วไป จัดไว้เพื่อพระมหาอุปราช และพระราชวงศ์ชั้นสูง และข้าราชการฝ่ายหน้า
4. ด้านพระราชพิธี จัดไว้เพื่อการราชพิธีต่าง ๆ และค่าใช้จ่ายด้านการทูตและเครื่องบรรณาการ
5. ด้านบาเหน็จและเงินเบี้ยหวัดรายปี สมัยอยุธยาข้าราชการไม่มีเงินเดือน มีแต่เงินที่ทางการ จ่ายให้ เรียกว่า
เบี้ยหวัดรายปี

More Related Content

What's hot

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
Beerza Kub
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
Kansinee Kosirojhiran
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 

What's hot (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 

Similar to ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลามใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลามPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์krunumc
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
tassanee chaicharoen
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีนใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีนPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 

Similar to ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา (7)

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลามใบความรู้ที่ 5  เรื่อง  อารยธรรมอิสลาม
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมอิสลาม
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ยุคก่อนประวัติศาสตร์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีนใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 

More from Princess Chulabhon's College Chonburi

กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57
กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57
กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆ
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆ
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญา
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญาใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญา
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชน
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชนใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชน
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชนPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคมPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองPrincess Chulabhon's College Chonburi
 

More from Princess Chulabhon's College Chonburi (20)

กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57
กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57
กำหนดการปฐมนิเทศค่ายเตรียมความพร้อมปี57
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
 
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆ
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆ
ใบความรู้ที่ 004 ระบอบการปกครองแบบต่างๆ
 
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญา
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญาใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญา
ใบความรู้ที่ 003 ลักษณะความผิดทางอาญา
 
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชน
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชนใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชน
ใบความรู้ที่ 002 สิทธิมนุษยชน
 
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
ใบความรู้ที่ 001 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
 
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ
องค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ
 
ระบบงานรัฐสภา 55
ระบบงานรัฐสภา 55ระบบงานรัฐสภา 55
ระบบงานรัฐสภา 55
 
รวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุมรวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุม
 
Binder asean book
Binder asean bookBinder asean book
Binder asean book
 
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
อาเซียนมินิบุ๊ค
อาเซียนมินิบุ๊คอาเซียนมินิบุ๊ค
อาเซียนมินิบุ๊ค
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคม
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรและพัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
 

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา

  • 1. จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 3 รหัสวิชา ส22103 ชื่อ................................................................................................................................ห้อง..............เลขที่............. ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา เศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยาขึ้นอยู่กับการประกอบอาชีพหลัก 3 อย่าง คือ การเกษตรกรรม หัตถกรรม และ พาณิชยกรรม ปัจจัยสนับสนุนการประกอบกิจกรรมเศรษฐกิจดังกล่าว มีดังนี้ 1. ทาเลที่ตั้ง อยู่ใกล้ปากอ่าวไทย จึงเดินเรือค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก 2. ลักษณะภูมิประเทศ เหมาะสมเป็นแหล่งเกษตรกรรม อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้้า เจ้าพระยาตอนล่าง มีแม่น้้าสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาย มีดินดีราษฎรส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม 3. นโยบายส่งเสริมการค้ากับต่างประเทศ มีพ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาตั้งสถานีการค้าและหมู่บ้านอยู่อาศัยใน บริเวณรอบ ๆ ราชธานีหลายกลุ่ม ระบบเงินตรา เงิน หรือเงินตรา เป็นปัจจัยส้าคัญในการเป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนสินค้าให้เกิดการหมุนเวียนและกระจายได้ดีขึ้น จึงจัดว่ามี่วนช่วยพัฒนาระบบเศรษฐกิจให้มีความคล่องตัวขยายตัวได้และเป็นผลดี อยุธยาใช้เงินตราเป็นมาตรฐาน เงินในรูป เงินพดด้วง เช่นเดียวกับสุโขทัย พระคลังเป็นผู้ผูกขาดการท้าเงินตรา ซึ่งมี 4 ชนิดคือ 1. เงินพดด้วง มีตราประทับหลายแบบราคาที่ใช้กันมากคือ 1 บาท กึ่งบาท 1 สลึง 1 เฟื้อง 2. เบี้ย เป็นเงินปลีก หรือเงินย่อย ท้าจากหอย 3. ไพ และกล่้า ท้าจากโลหะซึ่งไม่ใช่เงิน 4. เงินประกับ เป็นดินเผาตีตราประทับ ใช้แทนเบี้ยที่ขาดแคลนเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2287 การเกษตรกรรมสมัยอยุธยา 1. การเกษตรกรรม เป็นอาชีพหลักของประชากรส่วนใหญ่ ถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาอาณาจักร และเป็น พื้นฐานของเศรษฐกิจอยุธยา ที่ส้าคัญได้แก่ - การทานา แหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มตอนล่างของแม่น้้าเจ้าพระยา - การทาสวน เช่น สวนมะพร้าว มะม่วง หมาก ทุเรียน มังคุด ขนุน ส้ม - การทาไร่ เช่น ไร่อ้อย พริกไทย สับปะรด - การประมง มีการจัดปลาน้้าจืด และน้้าเค็ม - การหาของป่า เช่น สัตว์ป่า ช้าง แรด นก กวาง เสือ หนังสัตว์ นอแรด ไม้ฝาง ยางไม้ ชัน ครั่ง ฯลฯ
  • 2. จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม 2. การหัตถกรรม (อุตสาหกรรมครัวเรือน) แม้จะมีความส้าคัญน้อยกว่าการเกษตรกรรมและการค้าก็ตาม แต่ หัตถกรรมก็มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจของอยุธยามีความเจริญรุ่ง สามารถผลิตสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ หัตถกรรมที่ส้าคัญได้แก่ เครื่องปั้นดินเผา การทอผ้า เครื่องจักสาน เครื่องเงิน เครื่องทองเหลือง เครื่องเรือน 3. การพาณิชยกรรม เศรษฐกิจของอยุธยาขึ้นอยู่กับการค้าขายเป็นส้าคัญทั้งการค้าภายในและการค้ากับ ต่างประเทศ 3.1 การค้าขายภายในประเทศ มี 2 ระบบ คือ 3.1.1 แลกเปลี่ยนโดยตรง เช่น น้าข้าวเปลือกแลกน้้าปลา น้าหม้อแลกกับข้าวหรือผลไม้ 3.1.2 แลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา คือ การซื้อขายด้วยระบบเงินตรา 3.2 การค้าขายกับต่างประเทศ อยุธยากลายเป็นศูนย์กลางการค้าที่ส้าคัญทั้งของหัวเมืองทางเหนือ เช่น สุโขทัย ล้านนา และของชาวต่างประเทศ เช่น จีน อินเดีย อาหรับ และชาติตะวันตก ลักษณะการค้าต่างประเทศที่ส้าคัญ ได้แก่ 3.2.1 รายแรกค้าขายได้อย่างเสรี ไม่ต้องผ่านหน่วยงานของรัฐ ระยะหลังรัฐควบคุมเป็นคนกลาง เพื่อ หาก้าไร 3.2.2 สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ส่วนใหญ่เป็นการค้าขายกับชาติเอเชียด้วยกัน เช่น จีน อินเดีย ชวา มลายู ญี่ปุ่น 3.2.3 สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 เริ่มมีการค้าขายกับชาติตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา อังกฤษ และฝรั่งเศส 3.2.4 สมัยพระมหาจักรพรรดิ มีการตั้งพระคลังสินค้า เพื่อผูกขาดการค้า หาก้าไรสู่แผ่นดิน 3.2.5 สมัยพระเจ้าปราสาททอง-สมัยพระนารายณ์มหาราช มีการผูกขาดสินค้ามากยิ่งขึ้น ท้าให้ เศรษฐกิจอยุธยาเจริญรุ่งเรือง 3.2.6 สมัยพระนารายณ์มหาราช ชาวตะวันตกไม่พอใจนโยบายผูกขาดการค้าของไทยมาก ฮอลันดา จึงพยายามบีบบังคับให้ไทยยกเลิกพระคลังสินค้า แต่ไม่ส้าเร็จ 3.3 สินค้าออกที่สาคัญ ได้แก่ งาช้าง หนังสัตว์ ไม้กฤษณา พริกไทย กานพลู น้้าผึ้ง น้้าตาล ดินประสิว น้้ามันสน ยางสน ครั่ง 3.4 สินค้าเข้าที่สาคัญ 3.4.1 สินค้าจากจีนและญี่ปุ่น เช่น ผ้าแพร ไหมดิบ ปรอท ทองค้า เครื่องเคลือบ และเครื่องลาย คราม 3.4.2 สินค้าจากอินเดีย อาหรับ และเปอร์เซีย เช่น พรม ผ้าฝ้าย และน้้าหอม 3.4.3 สินค้าจากยุโรป เช่น อาวุธปืน เครื่องแก้ว และผ้าลูกไม้ พระคลังสินค้า เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุมการค้ามีหน้าที่ คือ 1. ตรวจเรือสินค้าต่างประเทศ เพื่อเลือกซื้อสินค้าที่ราชการต้องการไว้ก่อน เช่น อาวุธ กระสุนปืน 2. กาหนดสินค้าต้องห้าม ส่วนมากเป็นของหายาก มีน้อย ราคาแพง เช่น ข้าว เกลือ รังนก ดีบุก งาช้าง ดินประสิว ตะกั่ว ไม้หอม ไม้จันทร์ ฝาง กฤษณา นอแรด 3. ค้าส้าเภาของหลวง 4. เมืองท้าการค้ากับต่างประเทศที่ส้าคัญ ได้แก่ นครศรีธรรมราช ค้าดีบุก พริกไทย ปัตตานี ค้าพริกไทย ขี้ผึ้ง ภูเก็ต ค้าดีบุก อ้าพัน ไข่มุก มะริดและตะนาวศรี ค้าข้าว ผลไม้ เพชรบุรี ค้าข้าว ฝ้าย บางกอก เป็นศูนย์กลาง การค้ารองจากอยุธยา จันทบุรี ค้าพริกไทย เครื่องเทศ ของป่า
  • 3. จัดทำโดย : ครูอรวรรณ เสืออ่วม การค้ากับประเทศคู่ค้าที่สาคัญ จีน เป็นคู่ค้าส้าคัญที่สุดของอยุธยา มีการค้าภายใต้ระบบการทูตบรรณาการ สินค้าที่ไทยส่งไปขายในจีน ได้แก่ ข้าว ไม้ฝาง งาข้าว รังนก ดีบุก เกลือ ดินประสิว ก้ายาน ครั่ง ญี่ปุ่น สินค้าที่ญี่ปุ่นนิยมซื้อ ได้แก่ ข้าว หนังกวาง ไม้แดง ไม้ฝาง งาช้าง สินค้าที่ญี่ปุ่นน้ามาขาย ได้แก่ ทองแดง ทองค้า ผ้าแพร โปรตุเกส เข้ามาเป็นชาติแรก ได้ให้ความช่วยเหลือแก่อยุธยาด้านอาวุธปืน และกระสุนดินด้า สเปน เข้ามาเพื่อส่งเสริมการค้าระหว่างฟิลิปปินส์กับอยุธยา ฮอลันดา ต้องการสินค้าหนังสัตว์ พริกไทยและดีบุก อังกฤษ มีจุดประสงค์เพื่อการค้าและเป็นหนทางติดต่อกับจีนและญี่ปุ่น เดนมาร์ก มีสินค้ามีชื่อมาขาย คือ ปืนคาบศิลา รายได้ของอาณาจักรอยุธยา แหล่งที่มาของรายได้ของกรุงศรีอยุธยา อาจแบ่งเป็น 5 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1. รายได้จากค่าทดแทนการเกณฑ์แรงงาน ราษฎรต้องตอบแทนด้วยการอุทิศแรงงาน ท้างานให้หลวงปีละไม่ เกิน 6 เดือน ราษฎรที่ถูกเกณฑ์ไปท้างานตามก้าหนด เรียกว่า เข้าเวร ผู้เข้าเวรไม่ได้ต้องส่งเงินหรือสิ่งของที่หลวงต้องการมา ให้ทดแทน เรียกว่า ส่งส่วย จึงเป็นรายได้จากส่วยในรูปเงินและสิ่งของ ถ้าเป็นเงิน เดือนละ 2 บาท สิ่งของเป็นสิ่งของหา ยาก เช่น มูลค้างคาว ดีบุก งาช้าง 2. รายได้จากภาษีอากร 2.1 ภาษีสินค้าเข้า-สินค้าออก รวมทั้งภาษีที่เรียกว่า จังกอบ เช่น ภาษีปากเรือ (เรียกเก็บตามความกว้าง ของเรือ) 2.2 อากรนา เก็บเป็นหางข้าว และเก็บเป็นเงินไร่ละ 1 สลึงต่อปี อากรสวน ตันละ 1 บาทต่อปี ทุเรียน ตันละ 2 สลึงต่อปี อากรตลาด คือ ภาษีที่เก็บจากร้านค้าและผู้มาขายของในตลาด 2.3 อากรขนอน หรือภาษีผ่านด่าน เก็บจากผู้น้าสินค้าผ่านด่าน สิบหยิบหนึ่ง (คือ ร้อยละ 10) 3. รายได้จากการค้าของพระคลังสินค้า ผูกขาดการค้าศัสตราวุธไว้เพียงผู้เดียว เป็นผู้ก้าหนดสินค้าต้องห้าม ก้าหนดราคาสินค้าเอง 4. รายได้จากค่าฤชา คือค่าธรรมเนียมเรียกเก็บจากราษฎรที่มาใช้บริการของรัฐ เช่น การออกโฉนดตราสาร กรรมสิทธิ์ที่ดิน ที่นา 5. รายได้อื่น ๆ เช่น รายได้จากเครื่องราชบรรณาการของเจ้าประเทศราช หรือจากของขวัญของก้านัลที่เจ้าเมือง ขุนนาง หรือพ่อค้าน้ามาถวาย รายจ่ายของอาณาจักรอยุธยา 1. ด้านความมั่นคง จัดไว้เพื่อการป้องกันประเทศและขยายอาณาจักร 2. ด้านพระพุทธศาสนา จัดไว้เพื่อนิตยภัตแต่พระภิกษุสงฆ์ งานกฐิน งานปฏิสังขรณ์วัด 3. ด้านราชสานักและราชการทั่วไป จัดไว้เพื่อพระมหาอุปราช และพระราชวงศ์ชั้นสูง และข้าราชการฝ่ายหน้า 4. ด้านพระราชพิธี จัดไว้เพื่อการราชพิธีต่าง ๆ และค่าใช้จ่ายด้านการทูตและเครื่องบรรณาการ 5. ด้านบาเหน็จและเงินเบี้ยหวัดรายปี สมัยอยุธยาข้าราชการไม่มีเงินเดือน มีแต่เงินที่ทางการ จ่ายให้ เรียกว่า เบี้ยหวัดรายปี