SlideShare a Scribd company logo
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับลิควิดเปเปอร์ liquidpaper (น้ายาลบคาผิด)
โดย
เด็กหญิงอัจจิมา พ่ออามาตย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
เด็กหญิงปรียาภัทร อาจวิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6
เด็กหญิงรัตนาวดี อินธิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ครูที่ปรึกษา
1. นางวิลาวัลย์ เจตินัย
2. นางสาวนิภาพร ชลารินทร์
โรงเรียนเรณูวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนมเขต1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภทการทดลอง ระดับชั้นประถมศึกษา
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่63
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับลิควิดเปเปอร์ liquidpaper (น้ายาลบคาผิด)
โดย
1. เด็กหญิงอัจจิมา พ่ออามาตย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
2. เด็กหญิงปรียาภัทร อาจวิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6
3. เด็กหญิงรัตนาวดี อินธิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ครูที่ปรึกษา
1. นางวิลาวัลย์ เจตินัย
2. นางสาวนิภาพร ชลารินทร์
ก
บทคัดย่อ
โครงงานการทดลอง เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับ ลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ
น้ายาลบคาผิด จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาชนิดของเปลือกผลไม้พื้นบ้านสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์
(liquid paper) หรือ น้ายาลบคาผิด ที่ขีดเขียนติดตามโต๊ะเรียน จากการทดลองได้นาเปลือก ส้มโอ มะกรูด
มะนาว และส้มเขียวหวาน มาทดลองถูรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด
ที่ขีดเขียนบนแผ่นไม้ ผลปรากฏว่า เปลือกผลไม้เหล่านั้นสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ
น้ายาลบคาผิดได้ และจากการทดลอง เปลือกมะกรูด ลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ
น้ายาลบคาผิด ได้ดีที่สุด รองลงได้แก่ เปลือกส้มโอ เปลือกมะนาว และเปลือกส้มเขียวหวาน ตามลาดับ
จากโครงงานนี้ นักเรียนได้ไปขอเปลือกมะนาว จากร้านอาหาร เปลือกส้มโอ จากแม่ค้าผลไม้
และเก็บมะกูดจากต้นในชุมชน เพื่อเพื่อนามาลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด
ที่ขีดเขียนตามโต๊ะเรียน โดยไม่ต้องใช้สารเคมี ให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับ ลิควิดเปเปอร์ liquid paper( น้ายาลบคาผิด )
สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากคุณครูวิลาวัลย์ เจตินัย อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ให้ข้อเสนอแนะ
แนวทาง ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องมาโดยตลอด จนโครงงานนี้เสร็จสมบูรณ์
คณะผู้จัดทาจะกราบขอบพระคุณคุณ ครูมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการนายพีรพงษ์ วงษ์หาบุศย์ และ นายศุภชัย แก้วประเสริฐ์
ที่ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและให้กาลังใจมาโดยตลอด
สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อน ๆ ที่ช่วยกันส่งเสริมนาผลงานนี้ไปใช้ จนโครงงานนี้ประสบผลสาเร็จ
ตามที่คาดหวัง
คณะผู้จัดทา
โรงเรียนเรณูวิทยาคาร
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญตาราง 12
สารบัญรูปภาพ 15
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 11
บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 12
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ 13
แหล่งเรียนรู้ 14
ภาคผนวก
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
ได้กลายเป็นอุปกรณ์การเรียนที่จาเป็นสาหรับนักเรียน เพราะไม่มีนักเรียนคนใดไม่ใช้
นักเรียนทุกคนมีติดกระเป๋า และใช้อย่างฟุ่มเฟือย
แถมเลอะเทอะอีกด้วย โดยเฉพาะโต๊ะเรียน จะเต็มไปด้วยรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper)
หรือน้ายาลบคาผิด ทาให้โต๊ะเรียนถูกขีดเขียนหรือฝากข้อความต่าง ๆไว้มากมาย
ไร้ความเป็นระเบียบ
ไร้ความสวยงาม จะใช้ผ้าขี้ริ้วเช็ดถูก็ไม่สะอาด ไม่สามารถลบรอยเปรอะเปื้อนนั้นได้
บังเอิญที่โรงอาหารของโรงเรียนมีเปลือกมะนาวมากมาย (ช่วงที่มะนาวราคาถูก)
จากการรับประทานก๋วยเตี๋ยว จึงได้ลองนาเปลือกมะนาวนั้นมาเช็ดถูรอยลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
ผลปรากฏว่ารอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดนั้นเลือนรางและเจือจาง
บางรอยก็สามารถลบหายไปเลย จึงได้นาเปือกมะนาวจากแม่ครัวมาลบรอยลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
นอกจากมะนาวยังมีผลไม้อีกหลายชนิดในตระกูลเดียวกัน เช่น มะกรูด ส้มโอ
ส้มเขียวหวาน
จึงได้นาผลไม้เหล่านั้นมาทดลองเปรียบเทียบความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนโต๊ะเรียน
จุดประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาชนิดของเปลือกผลไม้ที่ใช้ในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper)
หรือน้ายาลบคาผิด
2. เพื่อเปรียบเทียบชนิดของเปลือกผลไม้ที่ใช้ในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper)
หรือน้ายาลบคาผิด
สมมติฐาน
 เปลือกผลไม้บางชนิดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดได้
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
 ตัวแปรต้น : ชนิดของเปลือกผลไม้
 ตัวแปตาม : ความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
 ตัวแปรควบคุม : ปริมาณเปลือกผลไม้แต่ละชนิด
การออกแรงกดเวลาถูเปลือกผลไม้กับแผ่นไม้ที่เปื้อนลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
2. เปลือกส้มโอ ส้มเขียวหวาน มะกรูด มะนาว
ส้มโอ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ
สูงประมาณ 8เมตร ใบเป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ แผ่นใบเหมือน
มะกรูด คือแบ่งใบเป็น 2 ตอน แต่ขนาดใบใหญ่กว่า ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่มีกลิ่นหอม
ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยว ตามบริเวณง่ามใบ มีสีขาว ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมี เกสร 20-
ต้นกล้าส้มโอ
25 อัน ผลกลมโต บางพันธุ์ตรงขั้วมีจุกสูงขึ้นมา ผิวผลเมื่อยังอ่อนมีสีเขียว
เมื่อแก่จัดเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง ผิวของผลไม่เรียบ ผิวของเปลือกผลมีต่อมน้ามันกระจายทั่วไป
ภายในผลเป็นช่อง ๆมีแผ่นบาง ๆ สีขาวกั้นเนื้อให้แยกออกจากกัน เนื้อแต่ละส่วนเรียกว่า "กลีบ"
มีรสหวานหรือหวานอมเปรี้ยว มีเมล็ดฝังอยู่ระหว่างเนื้อมากกว่า 1เมล็ด[
ผลส้มโอมีเปลือกหนาทาให้สามารถเก็บรักษาได้นาน มีวิตามินซีมาก
แหล่งปลูกส้มโอที่สาคัญในประเทศไทยแต่เดิมมีสองแหล่งคือ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
เป็นแหล่งกาเนิดของพันธุ์ขาวแป้ น และบางปะกอกในเขตธนบุรี เป็นแหล่งกาเนิดของพันธุ์ขาวพวง
ในปัจจุบัน พันธุ์ส้มโอที่เป็นที่นิยม
การใช้ประโยชน์
นิยมรับประทานส้มโอเป็นผลไม้สด หรือนาไปประกอบอาหาร เช่นยา เมี่ยง ส้มตา ข้าวยา
หรือทาของหวานเช่นแยมส้มโอ เปลือกนอกสีขาวนาไปทาเปลือกส้มโอแช่อิ่ม ส้มโอสามรส
ในเวียดนามนาไปทาเต้าส่วนเปลือกส้มโอ ในฟิลิปปินส์นิยมนาเนื้อไปจิ้มเกลือ และทาน้าผลไม้
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางใน ตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ
โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ)มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู
(กะเหรี่ยง มลายู) มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า Pomelo ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาดัตช์
pampelmoose ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ส้มที่ลูกเท่าฟักทอง"
แหล่งกาเนิดอยู่ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ส้มโอจัดว่าเป็นไม้ผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของไทย
นิยมปลูกทางภาคตะวันตกของประเทศ
สรรพคุณ
ใบ :เป็นยาแก้ปวดข้อ ท้องอืดแน่น แก้ปวดหัว (ตาพอกที่ศีรษะ
ดอก :แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระบังลม ขับเสมหะ ขับลม
ผล : แก้เมาสุรา ขับลมในลาไส้และกระเพาะอาหาร
ทาให้เจริญอาหารเหมาะสาหรับสตรีมีครรภ์เบื่ออาหาร ปากไม่รู้รสอาหาร
เปลือกผล :เป็นยาขับลม ช่วยขับเสมหะ แก้อึดอัด แน่นหน้าอก ไอ จุกแน่น ปวดท้องน้อย ไส้เลื่อน
หรือต้มน้าอาบแก้คัน ใช้ตาพอกฝี
เมล็ด :แก้ไส้เลื่อน แก้ปวดท้อง ลาไส้เล็กหดตัวผิดปกติ
ราก : แก้หวัด แก้ไอ แก้ปวด ปวดท้องน้อยและกระเพาะอาหาร ไส้เลื่อน
ส้มเขียวหวาน
เป็นส้มชนิดหนึ่ง
ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน
ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นาเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว
โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ
ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่าน้ากลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย
มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทาให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก
แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ
ตาบลบางมดในพื้นที่อาเภอราษฎร์บูรณะและอาเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี
(ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและ
เขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2510
มีน้าทะเลได้หนุนเข้ามาทาให้ไม่สามารถปลูกได้ จึงได้เปลี่ยนมาปลูกที่ทุ่งรังสิต โดยเริ่มที่คลองสอง ธัญบุรี
ต่อมาในปี พ.ศ. 2511
จึงมาปลูกที่อาเภอหนองเสือ จนได้ชื่อว่า "ส้มรังสิต"
แต่ปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกน้อยลง รวมถึงในพื้นที่
บางมดด้วย
สรรพคุณทางยาและโภชนาการ
ตรงที่ผลนามารับประทานหรือคั้นน้าดื่มมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานบ
รรเทาอาการกระหายน้า ป้องกันโรคหวัดและการติดเชื้อแบคทีเรีย
ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในโลหิต
ช่วยระบบย่อยอาหารของร่างกาย ระบายได้มีแก้อาการท้องผูก
และมีคุณค่าทางอาหาร ส้มเขียวหวานน้าหนัก 100กรัม
ให้วิตามินซี 42 มิลลิกรัม
นอกจากนี้แล้ว ส้มเขียวหวานยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ส้มแก้วเกลี้ยง", "ส้มจันทบูร",
"ส้มแป้นกระดาน", "ส้มแสงทอง", "ส้มแป้นเกลี้ยง", "ส้มจุก" หรือ "ส้มบางมด" เป็นต้น
มะกรูด
ชื่อท้องถิ่น: มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะหูด (หนองคาย) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
โกรยเซียด (เขมร) มะขู (กะเหรี่ยง –แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทั่วไป
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ
เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ
แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก
ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล
เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง
มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด
ส่วนที่ใช้
ผล ผิวของผล น้าของผล ใบ และราก
สารสาคัญ
ในใบและผลมะกรูด เมื่อนามากลั่นด้วยไอน้าจะให้น้ามันหอม ระเหยในปริมาณ 0.08 % และ4 %
ตามลาดับ น้ามันหอมระเหยจากผิวมะกรูดมักประกอบด้วยเบต้า-ไพนีน, ไลโมนีนและซาบินีน เป็นสารหลัก
ส่วนน้ามันหอมระเหยจากใบจะประกอบด้วย ซีโทรเนลลาล,ไอโซพูลิโกล และไลนาลูออล เป็นสารหลัก
ส่วนในน้ามะกรูดมีกรดซิตริก ไวตามินซี และกรดอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ เป็นส่วนประกอบ
คุณสมบัติ
1. ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆคือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญอาหาร
น้ามะกรูดใช้ดองยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เนื้อของผลใช้เป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ
ใบมะกรูดใช้เป็นยาขับลมในลาไส้ แก้จุกเสียด
ผลมะกรูดที่คว้านไส้ออกนามหาหิงส์ใส่แทนใช้เป็นยาขับลมแก้ปวดท้อง
ในเด็กอ่อน
2. ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ
3. กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่
ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิวมะกรูดช่วยให้ผมดกเป็นเงางาม
4.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่าง ๆ
สรรพคุณทางยา
ขับลมแก้จุกเสียด
วิธีใช้
1. ตัดจุกผลมะกรูด คว้านไส้กลางออก เอามหาหิงส์ใส่แล้วปิดจุก นาไปเผาไฟจนดาเกรียม
บดเป็นผงละลายกับน้าผึ้งรับประทาน จะช่วยขับลม แก้ปวดท้องหรือป้ายลิ้นเด็กอ่อน เป็นยาขับขี้เทาได้
2. น้ามะกรูดใช้ถูกฟัน แก้เลือดออกตามไรฟัน
3. เอาผลมะกรูดมาดอง เป็นยาดองเปรี้ยวรับประทานขับลมขับระดู
4. เปลือกผลฝานบาง ๆ ชงน้าเดือดใส่การะบูรเล็กน้อย รับประทานแก้ลมวิงเวียน
5. เปลือกฝนใช้ผสมในเครื่องสาอางบางชนิด เช่นแชมพูสบู่
ขนาดการใช้และผลที่ได้รับจากการรักษาโรค
 แก้ลม บารุงหัวใจ ใช้ผิวสดหั่นเป็นชิ้น ผสมการะบูรหนึ่งหยิบมือ
ชงน้าเดือด คนให้ละลาย ปิดฝาทิ้งไว้ 3 – 5นาที ดื่มเอาแต่น้า
ช่วยให้ระบบไหลเวียนของโลหิตดี
 ยาขับเสมหะ แก้ไอ ใช้ผลมะกรูดผ่าซีกเติมเกลือ ลนไฟให้เปลือกนิ่ม
บีบน้ามะกรูดลงในคอทีละน้อย ๆ
 เป็นยาสระผม หรืออาบ นามะกรูดผ่าซีกลงในหม้อ
ต้มอาบได้น้ามันหอมระเหยอยู่บนผิว ทาให้ผิวไม่แห้ง
และรสเปรี้ยวของมะกรูดช่วยให้อาบสะอาด
นอกจากนี้ใช้มะกรูดผ่าซีกเอาน้ามาสระผม
มะนาว
มะนาวเป็นผลไม้ที่มีกรดอินทรีย์หลายชนิด
เช่นกรดซิตริก กรดมาลิค ไวตามินซีจากน้ามะนาว
ส่วนน้ามันหอมระเหยจากผิวมะนาวมีไวตามินเอ
และซีทั้งยังมีธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในน้ามะนาวอีกด้วย
เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกุลส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสุกจัดจะเป็นสีเหลือง
เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ามาก นับเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส
นอกจากนี้ยังถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้วย
ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 –
4.5 ซม. ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย สูงเต็มที่ราว 5 เมตร
ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีขนดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม
ส่วนดอกสีขาวอมเหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอดทั้งปี แต่ในช่วงหน้าหนาว จะออกผลน้อย และมีน้าน้อย
มะนาวเป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้คนในภูมิภาคนี้รู้จักและใช้ประโยชน์จากมะนาวมาช้านาน
น้ามะนาวนอกจากใช้ปรุงรสเปรี้ยวในอาหารหลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม ผสมเกลือ
และน้าตาล เป็นน้ามะนาว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศทั่วโลก
นอกจากนี้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางชนิดยังนิยมฝานมะนาวเป็นชิ้นบางๆ เสียบไว้กับขอบแก้ว เพื่อใช้แต่งรส
ในผลมะนาวมีน้ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลิ่นไม่ฉุนอย่างมะกรูด
น้ามะนาวจึงมีประโยชน์สาหรับใช้เป็นส่วนผสมน้ายาทาความสะอาด เครื่องหอม และการบาบัดด้วยกลิ่น
(aromatherapy) หรือน้ายาล้างจาน ส่วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่งได้ทราบเมื่อไม่ช้านานมานี้
(ราวคริสต์ศตวรรษที่ 2) ก็คือ การส่งเสริมโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเคยเป็นปัญหาของนักขายโรตีมาช้านาน
ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วยป้ องกันโรคลักปิดลักเปิด
เพราะในมะนาวมีไวตามินซีเป็นปริมาณมาก
มะนาวมีน้ามันหอมระเหยที่ให้กลิ่นสดชื่น เพราะมีส่วนประกอบของสารซิโตรเนลลัล (Citronellal)
ซิโครเนลลิล อะซีเตต (Citronellyl Acetate) ไลโมนีน (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์พีนีออล
(Terpeneol) ฯลฯ รวมทั้งมีกรดซิตริค (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid) และกรดแอสคอร์บิก (Ascorbic
Acid) ซึ่งถือเป็นกรดผลไม้ (AHA : Alpha HydroxyAcids) กลุ่มหนึ่ง
เป็นที่ยอมรับว่าช่วยให้ผิวหน้าที่เสื่อมสภาพ
หลุดลอกออกไป พร้อมๆ
กับช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ใหม่ๆ
ช่วยให้รอยด่างดาหรือรอยแผลเป็นจางลง
สรรพคุณทางยา
มะนาวเป็นผลไม้ที่มีกรดอินทรีย์หล
ายชนิด เช่นกรดซิตริก กรดมาลิค
ไวตามินซี จากน้ามะนาว ส่วนน้ามันหอมระเหยจากผิวมะนาว มีไวตามินเอ และซี
ทั้งยังมีธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในน้ามะนาวอีกด้วย
ประโยชน์ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ เลือดออกตามไรฟัน เหงือกบวม
นอกจากนี้ยังช่วยแก้อาการปวดศีรษะ แก้อาเจียน เมาเหล้า ขจัดคราบบุหรี่ บารุงตา บารุงผิว
และยังสามารถมีฤทธิ์ในการกัดด้วยเป็นต้น
บทที่ 3
อุปกรณ์และสารเคมี
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
1. เปลือก ส้มโอ ส้มเขียวหวาน มะนาว มะกรูด
2. มีดปอกผลไม้
3. แผ่นไม้
4. ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
วิธีการทดลอง
1. นาแผ่นไม้มาแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน
2. นาลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด มาขีดเขียนบนแผ่นไม้ในแต่ละส่วน
ให้เท่าๆ กัน
3. ปอกเปลือกผลไม้ทั้ง 4 ชนิด ในปริมาณเท่า ๆ กัน
4. นาเปลือกผลไม้ในข้อ 3 มาถูบนแผ่นไม้
5. สังเกตรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนแผ่นไม้ แล้วเปรียบเทียบ
ความสามารถในการลบลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนแผ่นไม้
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
เปลือกผลไม้ ความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ปานกลาง ลบไม่ออก
ส้มโอ
/
ส้มเขียวหวาน
/
มะนาว
/
มะกรูด
/
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
จากผลการทดลอง เปลือกมะกรูดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper)
หรือน้ายาลบคาผิด ได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ เปลือกส้มโอ เปลือกมะนาว และเปลือกส้มเขียวหวาน
ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า เปลือกผลไม้บางชนิดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดได้
จากผลการทดลองนี้ ได้แนะนาให้คุณครู และนักเรียนในโรงเรียนนาเอาไปใช้ประโยชน์ใน
ห้องเรียน โดยการใช้เปลือกผลไม้เหล่านี้ลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
บนโต๊ะเรียน ทาให้โต๊ะเรียนสะอาด ปราศจากรอยเปื้อน และเป็นการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี
และประหยัดงบประมาณ เพราะในแต่ละปีท่านผู้อานวยการจะซื้อน้ายาเคมี เพื่อลบรอยลิควิดเปเปอร์
(Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ในปริมาณที่มากพอสมควร และกลิ่นหรือไอระเหยของสารเคมี
ที่ใช้ลบลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
ยังเป็นอันตรายต่อระบบหายใจและอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด
ประโยชน์ของโครงงาน
1. เพื่อนาเอาเปลือกผลไม้ที่เราทิ้งแล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
2. เพื่อช่วยให้โต๊ะเรียนสะอาด ปราศจากรรอยเปื้อน
3. เป็นการลดการใช้สารเคมี และประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะแต่ก่อนจะซื้อน้ายาสารเคมีมาใช้ลบรอยเหล่านี้
ข้อเสนอแนะ
1. ควรทดสอบกับผลไม้ชนิดอื่นที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะขาม
2. ควรสกัดให้อยู่ในรูปของเหลวมาลองเช็ดถูบ้าง
บรรณานุกรม
แหล่งเรียนรู้
1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
2. ห้องคอมพิวเตอร์
3. ห้องสมุด
4. ตลาดสดเรณูนคร
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
Cherry Lay
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
chanon leedee
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
ศกลวรรณ ปิ่นแก้ว
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 

Similar to เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด

Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
Wichai Likitponrak
 
โครงงานคุณค่ากะลาไทย
โครงงานคุณค่ากะลาไทยโครงงานคุณค่ากะลาไทย
โครงงานคุณค่ากะลาไทยjeepp1
 
บทเรียนสำเร็จรูป
บทเรียนสำเร็จรูปบทเรียนสำเร็จรูป
บทเรียนสำเร็จรูป
ธรัชพร คำไสย
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
Wichai Likitponrak
 

Similar to เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด (6)

Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
โครงงานคุณค่ากะลาไทย
โครงงานคุณค่ากะลาไทยโครงงานคุณค่ากะลาไทย
โครงงานคุณค่ากะลาไทย
 
บทเรียนสำเร็จรูป
บทเรียนสำเร็จรูปบทเรียนสำเร็จรูป
บทเรียนสำเร็จรูป
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
File
FileFile
File
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 

เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด

  • 1. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับลิควิดเปเปอร์ liquidpaper (น้ายาลบคาผิด) โดย เด็กหญิงอัจจิมา พ่ออามาตย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6 เด็กหญิงปรียาภัทร อาจวิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6 เด็กหญิงรัตนาวดี อินธิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6 ครูที่ปรึกษา 1. นางวิลาวัลย์ เจตินัย 2. นางสาวนิภาพร ชลารินทร์ โรงเรียนเรณูวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนมเขต1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง ระดับชั้นประถมศึกษา เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่63
  • 2. เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับลิควิดเปเปอร์ liquidpaper (น้ายาลบคาผิด) โดย 1. เด็กหญิงอัจจิมา พ่ออามาตย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6 2. เด็กหญิงปรียาภัทร อาจวิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6 3. เด็กหญิงรัตนาวดี อินธิชัย ชั้นประถมศึกษาปีที่6 ครูที่ปรึกษา 1. นางวิลาวัลย์ เจตินัย 2. นางสาวนิภาพร ชลารินทร์
  • 3. ก บทคัดย่อ โครงงานการทดลอง เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับ ลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาชนิดของเปลือกผลไม้พื้นบ้านสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper) หรือ น้ายาลบคาผิด ที่ขีดเขียนติดตามโต๊ะเรียน จากการทดลองได้นาเปลือก ส้มโอ มะกรูด มะนาว และส้มเขียวหวาน มาทดลองถูรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด ที่ขีดเขียนบนแผ่นไม้ ผลปรากฏว่า เปลือกผลไม้เหล่านั้นสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิดได้ และจากการทดลอง เปลือกมะกรูด ลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด ได้ดีที่สุด รองลงได้แก่ เปลือกส้มโอ เปลือกมะนาว และเปลือกส้มเขียวหวาน ตามลาดับ จากโครงงานนี้ นักเรียนได้ไปขอเปลือกมะนาว จากร้านอาหาร เปลือกส้มโอ จากแม่ค้าผลไม้ และเก็บมะกูดจากต้นในชุมชน เพื่อเพื่อนามาลบรอยลิควิดเปเปอร์ (liquid paper)หรือ น้ายาลบคาผิด ที่ขีดเขียนตามโต๊ะเรียน โดยไม่ต้องใช้สารเคมี ให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับ ลิควิดเปเปอร์ liquid paper( น้ายาลบคาผิด ) สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากคุณครูวิลาวัลย์ เจตินัย อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่ให้ข้อเสนอแนะ แนวทาง ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องมาโดยตลอด จนโครงงานนี้เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทาจะกราบขอบพระคุณคุณ ครูมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ ท่านผู้อานวยการนายพีรพงษ์ วงษ์หาบุศย์ และ นายศุภชัย แก้วประเสริฐ์ ที่ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและให้กาลังใจมาโดยตลอด สุดท้ายขอขอบคุณเพื่อน ๆ ที่ช่วยกันส่งเสริมนาผลงานนี้ไปใช้ จนโครงงานนี้ประสบผลสาเร็จ ตามที่คาดหวัง คณะผู้จัดทา โรงเรียนเรณูวิทยาคาร
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญตาราง 12 สารบัญรูปภาพ 15 บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 11 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 12 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ 13 แหล่งเรียนรู้ 14 ภาคผนวก
  • 6. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ได้กลายเป็นอุปกรณ์การเรียนที่จาเป็นสาหรับนักเรียน เพราะไม่มีนักเรียนคนใดไม่ใช้ นักเรียนทุกคนมีติดกระเป๋า และใช้อย่างฟุ่มเฟือย แถมเลอะเทอะอีกด้วย โดยเฉพาะโต๊ะเรียน จะเต็มไปด้วยรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ทาให้โต๊ะเรียนถูกขีดเขียนหรือฝากข้อความต่าง ๆไว้มากมาย ไร้ความเป็นระเบียบ ไร้ความสวยงาม จะใช้ผ้าขี้ริ้วเช็ดถูก็ไม่สะอาด ไม่สามารถลบรอยเปรอะเปื้อนนั้นได้ บังเอิญที่โรงอาหารของโรงเรียนมีเปลือกมะนาวมากมาย (ช่วงที่มะนาวราคาถูก) จากการรับประทานก๋วยเตี๋ยว จึงได้ลองนาเปลือกมะนาวนั้นมาเช็ดถูรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ผลปรากฏว่ารอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดนั้นเลือนรางและเจือจาง บางรอยก็สามารถลบหายไปเลย จึงได้นาเปือกมะนาวจากแม่ครัวมาลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด นอกจากมะนาวยังมีผลไม้อีกหลายชนิดในตระกูลเดียวกัน เช่น มะกรูด ส้มโอ ส้มเขียวหวาน จึงได้นาผลไม้เหล่านั้นมาทดลองเปรียบเทียบความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนโต๊ะเรียน จุดประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาชนิดของเปลือกผลไม้ที่ใช้ในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด 2. เพื่อเปรียบเทียบชนิดของเปลือกผลไม้ที่ใช้ในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
  • 7. สมมติฐาน  เปลือกผลไม้บางชนิดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดได้ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง  ตัวแปรต้น : ชนิดของเปลือกผลไม้  ตัวแปตาม : ความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด  ตัวแปรควบคุม : ปริมาณเปลือกผลไม้แต่ละชนิด การออกแรงกดเวลาถูเปลือกผลไม้กับแผ่นไม้ที่เปื้อนลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด 2. เปลือกส้มโอ ส้มเขียวหวาน มะกรูด มะนาว ส้มโอ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ส้มโอเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ลาต้นมีสีน้าตาล มีหนามเล็ก ๆ สูงประมาณ 8เมตร ใบเป็นแผ่นหนาสีเขียวเข้ม โคนก้านใบมีหูใบแผ่ออกเป็นรูปหัวใจ แผ่นใบเหมือน มะกรูด คือแบ่งใบเป็น 2 ตอน แต่ขนาดใบใหญ่กว่า ใบหนาแข็ง มีสีเขียวแก่มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อสั้นหรือดอกเดี่ยว ตามบริเวณง่ามใบ มีสีขาว ปลายกลีบมนมี 4 กลีบ กลางดอกมี เกสร 20- ต้นกล้าส้มโอ
  • 9. 25 อัน ผลกลมโต บางพันธุ์ตรงขั้วมีจุกสูงขึ้นมา ผิวผลเมื่อยังอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่จัดเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือง ผิวของผลไม่เรียบ ผิวของเปลือกผลมีต่อมน้ามันกระจายทั่วไป ภายในผลเป็นช่อง ๆมีแผ่นบาง ๆ สีขาวกั้นเนื้อให้แยกออกจากกัน เนื้อแต่ละส่วนเรียกว่า "กลีบ" มีรสหวานหรือหวานอมเปรี้ยว มีเมล็ดฝังอยู่ระหว่างเนื้อมากกว่า 1เมล็ด[ ผลส้มโอมีเปลือกหนาทาให้สามารถเก็บรักษาได้นาน มีวิตามินซีมาก แหล่งปลูกส้มโอที่สาคัญในประเทศไทยแต่เดิมมีสองแหล่งคือ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นแหล่งกาเนิดของพันธุ์ขาวแป้ น และบางปะกอกในเขตธนบุรี เป็นแหล่งกาเนิดของพันธุ์ขาวพวง ในปัจจุบัน พันธุ์ส้มโอที่เป็นที่นิยม การใช้ประโยชน์ นิยมรับประทานส้มโอเป็นผลไม้สด หรือนาไปประกอบอาหาร เช่นยา เมี่ยง ส้มตา ข้าวยา หรือทาของหวานเช่นแยมส้มโอ เปลือกนอกสีขาวนาไปทาเปลือกส้มโอแช่อิ่ม ส้มโอสามรส ในเวียดนามนาไปทาเต้าส่วนเปลือกส้มโอ ในฟิลิปปินส์นิยมนาเนื้อไปจิ้มเกลือ และทาน้าผลไม้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางใน ตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ)มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู (กะเหรี่ยง มลายู) มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า Pomelo ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาดัตช์ pampelmoose ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ส้มที่ลูกเท่าฟักทอง" แหล่งกาเนิดอยู่ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส้มโอจัดว่าเป็นไม้ผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของไทย นิยมปลูกทางภาคตะวันตกของประเทศ
  • 10. สรรพคุณ ใบ :เป็นยาแก้ปวดข้อ ท้องอืดแน่น แก้ปวดหัว (ตาพอกที่ศีรษะ ดอก :แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระบังลม ขับเสมหะ ขับลม ผล : แก้เมาสุรา ขับลมในลาไส้และกระเพาะอาหาร ทาให้เจริญอาหารเหมาะสาหรับสตรีมีครรภ์เบื่ออาหาร ปากไม่รู้รสอาหาร เปลือกผล :เป็นยาขับลม ช่วยขับเสมหะ แก้อึดอัด แน่นหน้าอก ไอ จุกแน่น ปวดท้องน้อย ไส้เลื่อน หรือต้มน้าอาบแก้คัน ใช้ตาพอกฝี เมล็ด :แก้ไส้เลื่อน แก้ปวดท้อง ลาไส้เล็กหดตัวผิดปกติ ราก : แก้หวัด แก้ไอ แก้ปวด ปวดท้องน้อยและกระเพาะอาหาร ไส้เลื่อน
  • 11. ส้มเขียวหวาน เป็นส้มชนิดหนึ่ง ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นาเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่าน้ากลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทาให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ ตาบลบางมดในพื้นที่อาเภอราษฎร์บูรณะและอาเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและ เขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 มีน้าทะเลได้หนุนเข้ามาทาให้ไม่สามารถปลูกได้ จึงได้เปลี่ยนมาปลูกที่ทุ่งรังสิต โดยเริ่มที่คลองสอง ธัญบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 จึงมาปลูกที่อาเภอหนองเสือ จนได้ชื่อว่า "ส้มรังสิต" แต่ปัจจุบันก็มีการเพาะปลูกน้อยลง รวมถึงในพื้นที่ บางมดด้วย
  • 12. สรรพคุณทางยาและโภชนาการ ตรงที่ผลนามารับประทานหรือคั้นน้าดื่มมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานบ รรเทาอาการกระหายน้า ป้องกันโรคหวัดและการติดเชื้อแบคทีเรีย ลดปริมาณโคเลสเตอรอลในโลหิต ช่วยระบบย่อยอาหารของร่างกาย ระบายได้มีแก้อาการท้องผูก และมีคุณค่าทางอาหาร ส้มเขียวหวานน้าหนัก 100กรัม ให้วิตามินซี 42 มิลลิกรัม นอกจากนี้แล้ว ส้มเขียวหวานยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ส้มแก้วเกลี้ยง", "ส้มจันทบูร", "ส้มแป้นกระดาน", "ส้มแสงทอง", "ส้มแป้นเกลี้ยง", "ส้มจุก" หรือ "ส้มบางมด" เป็นต้น มะกรูด ชื่อท้องถิ่น: มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะหูด (หนองคาย) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้) โกรยเซียด (เขมร) มะขู (กะเหรี่ยง –แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด ส่วนที่ใช้
  • 13. ผล ผิวของผล น้าของผล ใบ และราก สารสาคัญ ในใบและผลมะกรูด เมื่อนามากลั่นด้วยไอน้าจะให้น้ามันหอม ระเหยในปริมาณ 0.08 % และ4 % ตามลาดับ น้ามันหอมระเหยจากผิวมะกรูดมักประกอบด้วยเบต้า-ไพนีน, ไลโมนีนและซาบินีน เป็นสารหลัก ส่วนน้ามันหอมระเหยจากใบจะประกอบด้วย ซีโทรเนลลาล,ไอโซพูลิโกล และไลนาลูออล เป็นสารหลัก ส่วนในน้ามะกรูดมีกรดซิตริก ไวตามินซี และกรดอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ เป็นส่วนประกอบ คุณสมบัติ 1. ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆคือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญอาหาร น้ามะกรูดใช้ดองยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เนื้อของผลใช้เป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ ใบมะกรูดใช้เป็นยาขับลมในลาไส้ แก้จุกเสียด ผลมะกรูดที่คว้านไส้ออกนามหาหิงส์ใส่แทนใช้เป็นยาขับลมแก้ปวดท้อง ในเด็กอ่อน 2. ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ 3. กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่ ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิวมะกรูดช่วยให้ผมดกเป็นเงางาม 4.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่าง ๆ สรรพคุณทางยา ขับลมแก้จุกเสียด วิธีใช้
  • 14. 1. ตัดจุกผลมะกรูด คว้านไส้กลางออก เอามหาหิงส์ใส่แล้วปิดจุก นาไปเผาไฟจนดาเกรียม บดเป็นผงละลายกับน้าผึ้งรับประทาน จะช่วยขับลม แก้ปวดท้องหรือป้ายลิ้นเด็กอ่อน เป็นยาขับขี้เทาได้ 2. น้ามะกรูดใช้ถูกฟัน แก้เลือดออกตามไรฟัน 3. เอาผลมะกรูดมาดอง เป็นยาดองเปรี้ยวรับประทานขับลมขับระดู 4. เปลือกผลฝานบาง ๆ ชงน้าเดือดใส่การะบูรเล็กน้อย รับประทานแก้ลมวิงเวียน 5. เปลือกฝนใช้ผสมในเครื่องสาอางบางชนิด เช่นแชมพูสบู่ ขนาดการใช้และผลที่ได้รับจากการรักษาโรค  แก้ลม บารุงหัวใจ ใช้ผิวสดหั่นเป็นชิ้น ผสมการะบูรหนึ่งหยิบมือ ชงน้าเดือด คนให้ละลาย ปิดฝาทิ้งไว้ 3 – 5นาที ดื่มเอาแต่น้า ช่วยให้ระบบไหลเวียนของโลหิตดี  ยาขับเสมหะ แก้ไอ ใช้ผลมะกรูดผ่าซีกเติมเกลือ ลนไฟให้เปลือกนิ่ม บีบน้ามะกรูดลงในคอทีละน้อย ๆ  เป็นยาสระผม หรืออาบ นามะกรูดผ่าซีกลงในหม้อ ต้มอาบได้น้ามันหอมระเหยอยู่บนผิว ทาให้ผิวไม่แห้ง และรสเปรี้ยวของมะกรูดช่วยให้อาบสะอาด นอกจากนี้ใช้มะกรูดผ่าซีกเอาน้ามาสระผม
  • 15. มะนาว มะนาวเป็นผลไม้ที่มีกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่นกรดซิตริก กรดมาลิค ไวตามินซีจากน้ามะนาว ส่วนน้ามันหอมระเหยจากผิวมะนาวมีไวตามินเอ และซีทั้งยังมีธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในน้ามะนาวอีกด้วย เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกุลส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสุกจัดจะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ามาก นับเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส นอกจากนี้ยังถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้วย ผลมะนาวโดยทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 – 4.5 ซม. ต้นมะนาวเป็นไม้พุ่มเตี้ย สูงเต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีขนดก ใบยาวเรียวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม
  • 16. ส่วนดอกสีขาวอมเหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอดทั้งปี แต่ในช่วงหน้าหนาว จะออกผลน้อย และมีน้าน้อย มะนาวเป็นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้คนในภูมิภาคนี้รู้จักและใช้ประโยชน์จากมะนาวมาช้านาน น้ามะนาวนอกจากใช้ปรุงรสเปรี้ยวในอาหารหลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็นเครื่องดื่ม ผสมเกลือ และน้าตาล เป็นน้ามะนาว ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศทั่วโลก นอกจากนี้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางชนิดยังนิยมฝานมะนาวเป็นชิ้นบางๆ เสียบไว้กับขอบแก้ว เพื่อใช้แต่งรส ในผลมะนาวมีน้ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลิ่นไม่ฉุนอย่างมะกรูด น้ามะนาวจึงมีประโยชน์สาหรับใช้เป็นส่วนผสมน้ายาทาความสะอาด เครื่องหอม และการบาบัดด้วยกลิ่น (aromatherapy) หรือน้ายาล้างจาน ส่วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่งได้ทราบเมื่อไม่ช้านานมานี้ (ราวคริสต์ศตวรรษที่ 2) ก็คือ การส่งเสริมโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเคยเป็นปัญหาของนักขายโรตีมาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วยป้ องกันโรคลักปิดลักเปิด เพราะในมะนาวมีไวตามินซีเป็นปริมาณมาก มะนาวมีน้ามันหอมระเหยที่ให้กลิ่นสดชื่น เพราะมีส่วนประกอบของสารซิโตรเนลลัล (Citronellal) ซิโครเนลลิล อะซีเตต (Citronellyl Acetate) ไลโมนีน (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์พีนีออล (Terpeneol) ฯลฯ รวมทั้งมีกรดซิตริค (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid) และกรดแอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) ซึ่งถือเป็นกรดผลไม้ (AHA : Alpha HydroxyAcids) กลุ่มหนึ่ง เป็นที่ยอมรับว่าช่วยให้ผิวหน้าที่เสื่อมสภาพ หลุดลอกออกไป พร้อมๆ กับช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ใหม่ๆ ช่วยให้รอยด่างดาหรือรอยแผลเป็นจางลง สรรพคุณทางยา มะนาวเป็นผลไม้ที่มีกรดอินทรีย์หล ายชนิด เช่นกรดซิตริก กรดมาลิค ไวตามินซี จากน้ามะนาว ส่วนน้ามันหอมระเหยจากผิวมะนาว มีไวตามินเอ และซี ทั้งยังมีธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในน้ามะนาวอีกด้วย
  • 17. ประโยชน์ ใช้เป็นยาสมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ เลือดออกตามไรฟัน เหงือกบวม นอกจากนี้ยังช่วยแก้อาการปวดศีรษะ แก้อาเจียน เมาเหล้า ขจัดคราบบุหรี่ บารุงตา บารุงผิว และยังสามารถมีฤทธิ์ในการกัดด้วยเป็นต้น บทที่ 3 อุปกรณ์และสารเคมี อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 1. เปลือก ส้มโอ ส้มเขียวหวาน มะนาว มะกรูด 2. มีดปอกผลไม้ 3. แผ่นไม้ 4. ลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด วิธีการทดลอง 1. นาแผ่นไม้มาแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน
  • 18. 2. นาลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด มาขีดเขียนบนแผ่นไม้ในแต่ละส่วน ให้เท่าๆ กัน 3. ปอกเปลือกผลไม้ทั้ง 4 ชนิด ในปริมาณเท่า ๆ กัน 4. นาเปลือกผลไม้ในข้อ 3 มาถูบนแผ่นไม้ 5. สังเกตรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนแผ่นไม้ แล้วเปรียบเทียบ ความสามารถในการลบลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนแผ่นไม้ บทที่ 4 ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง เปลือกผลไม้ ความสามารถในการลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ปานกลาง ลบไม่ออก ส้มโอ / ส้มเขียวหวาน /
  • 19. มะนาว / มะกรูด / บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง จากผลการทดลอง เปลือกมะกรูดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ เปลือกส้มโอ เปลือกมะนาว และเปลือกส้มเขียวหวาน ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ว่า เปลือกผลไม้บางชนิดสามารถลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิดได้ จากผลการทดลองนี้ ได้แนะนาให้คุณครู และนักเรียนในโรงเรียนนาเอาไปใช้ประโยชน์ใน ห้องเรียน โดยการใช้เปลือกผลไม้เหล่านี้ลบรอยลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด บนโต๊ะเรียน ทาให้โต๊ะเรียนสะอาด ปราศจากรอยเปื้อน และเป็นการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และประหยัดงบประมาณ เพราะในแต่ละปีท่านผู้อานวยการจะซื้อน้ายาเคมี เพื่อลบรอยลิควิดเปเปอร์
  • 20. (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ในปริมาณที่มากพอสมควร และกลิ่นหรือไอระเหยของสารเคมี ที่ใช้ลบลิควิดเปเปอร์ (Liquidpaper) หรือน้ายาลบคาผิด ยังเป็นอันตรายต่อระบบหายใจและอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ปอด ประโยชน์ของโครงงาน 1. เพื่อนาเอาเปลือกผลไม้ที่เราทิ้งแล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ 2. เพื่อช่วยให้โต๊ะเรียนสะอาด ปราศจากรรอยเปื้อน 3. เป็นการลดการใช้สารเคมี และประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะแต่ก่อนจะซื้อน้ายาสารเคมีมาใช้ลบรอยเหล่านี้ ข้อเสนอแนะ 1. ควรทดสอบกับผลไม้ชนิดอื่นที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะขาม 2. ควรสกัดให้อยู่ในรูปของเหลวมาลองเช็ดถูบ้าง บรรณานุกรม แหล่งเรียนรู้ 1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2. ห้องคอมพิวเตอร์ 3. ห้องสมุด 4. ตลาดสดเรณูนคร