SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ศาสนาซิกข์
ขอบข่ายของเนื้อหา
• ๑. ลักษณะทั่วไป
• ๒. ประวัติความเป็นมา
• ๓. ประวัติศาสดา
• ๔. คัมภีร์
• ๕. นิกาย
• ๖. หลักคาสอน
• ๗. จุดหมายสูงสุด
• ๘. พิธีกรรม
• ๙. สัญลักษณ์
• ก่อขึ้นตั้งโดย “คุรุนานัก เทวะ” ปฐมพระศาสดา
• เป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่มีอายุน้อยที่สุด
• จุดเริ่มต้นของศาสนาซิกข์นั้น นับตั้งแต่ปีเกิดของศาสดาองค์แรก คือปี
พ.ศ. ๒๐๑๒
• ศาสนาซิกข์ เกิดที่ประเทศอินเดียตอนเหนือในรัฐปัญจาบ
• คาว่า “ซิกข์” เป็นภาษาปัญจาบ แปลว่า ผู้ศึกษา หรือศิษย์ คือ ชาวซิกข์
ทุกคนเป็นศิษย์ของคุรุหรือครู มีด้วยกันทั้งสิ้น ๑๐ องค์
๑.ลักษณะทั่วไป
"ครันธี" (Granthi)กาลังทาพิธีกรรม
•
ศาสนาซิกข์ จะไม่มีนักบวช พระ หรือนักบุญ แต่ศาสนิกผู้ที่
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาประจาวัน จะถูกขนานนามว่า
"ครันธี" (Granthi)
๒. ประวัติความเป็นมา
• ศาสนานี้เกิดขึ้นเพราะต้องการจะรวมศาสนาอิสลามกับฮินดู แต่ไม่
สาเร็จ กลับเกิดมีศาสนาที่ ๓ ขื้น คือ ศาสนาซิกข์
• เนื่องจากสมัยนั้น ศาสนาอิสลามมีอานาจในอินเดีย เกิดต่อสู้ล้ม
ตายกันทั่วไป ผู้เป็นปฐมศาสดาของศาสนานี้เกิดความสลดใจ
ต้องการจะรวมศาสนาเพื่อประสานความร้าวฉานระหว่างพวกฮินดู
กับพวกมุสลิม
๓. ประวัติศาสดา
• คุรุนานัก ผู้ให้กาเนิดศาสนาซิกข์
• มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ.2012 –2081
หมู่บ้านเล็กๆ
• แห่งหนึ่ง ชื่อ ทัลวันดี(Talvandi)ปัจจุบัน
เรียก นานักนคร ของแคว้นปัญจาบ
• ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้าราวี (Ravi)ปัจจุบัน
อยู่ในประเทศปากีสถาน
๓. ประวัติศาสดา
• คุรุนานัก มีนิสัยนิยมศาสนา นิยมแต่งเพลงสรรเสริญพระเจ้า มีความกรุณา
ต่อคนยากจน
• วันหนึ่งได้เข้าป่าและได้เห็นพระเจ้า หลักจากกลับบ้านได้สละทรัพย์ให้คน
ยากจน ดาเนินชีวิตแบบนักพรต
• ท่านเป็นฮินดู แต่ได้อาจารย์เป็นมุสลิม คุรุนานักจึงมีความรู้ในทั้ง ๒ ศาสนา
• คุรุนานัก แม้จะนุ่งห่มแบบนักพรต แต่ไม่ได้สั่งสอนการใช้ชีวิตแบบนักบวช
แต่สั่งสอนศิษย์ในทางศีลธรรม และให้จงรักภักดีต่อพระเจ้า เพื่อจะได้เป็น
อันเดียวกับพระเจ้า
• ท่านคงอยู่กับบุตร ภรรยาของท่านในบั้นปลายชีวิต
• คุรุนานักสิ้นชีวิตเมื่อ พ.ศ. ๒๐๘๒ อายุ ๗๑ ปี ที่ริมแม่นาราวี
๓. ประวัติศาสดา
• ศาสดา หรือคุรุ แห่งศาสนา
ซิกข์มี ๑๐ ท่าน ต่อจากนั้น
ศาสดาองค์ที่ ๑๐ ได้ประกาศ
ให้ถือ “พระคัมภีร์” เป็นศาสดา
แทน และไม่ มีการแต่งตั้ง
ศาสดาต่อไปอีก
คุรุนานัก เป็นปฐมศาสดา- คุรุโควินทสิงห์เป็นศาสดาองค์สุดท้าย
๔. คัมภีร์
• คัมภีร์ของศาสนาซิกข์ เรียกว่า “ครันถสาหิพ” แปลว่า พระคัมภีร์
• ส่วนใหญ่บรรจุคาสวดมนต์สรรเสริญพระเจ้า
• มีพระเจ้าเพียงองค์เดียว คือ สัจจะ พระผู้สร้าง พระองค์ปราศจาก
ความกลัว ความเคียดแค้น เป็นอมฤต ไม่เกิด มีขึ้นด้วยพระองค์
เอง เป็นผู้ยิ่งใหญ่ ทรงโอบอ้อมอารี
คัมภีร์ = ครันถสาหิพ
• ๑. อาทิครันถะ - คัมภีร์แรก
• - คุรุอรชรเป็นผู้รวบรวม
• รวมบทนิพนธ์ของคุรุองค์ที่ ๑-๕
• ๒. ทสมครันถะ – คัมภีร์ส่วนที่สอง
• - คุรุโควินทสิงห์ ได้รวบรวม โดยมีสาระที่น่าสนใจ คือ
» ก. ซิกข์ต้องปฏิเสธคัมภีร์ฮินดูและอิสลาม
» ข. พิธีกรรมต่างๆ ต้องทาโดยถือคัมภีร์ทั้ง ๒ ส่วนนั้น
เป็นหลัก
» ค. ซิกข์ประชุมกันแล้วนาคัมภีร์มาวางไว้ข้างหน้า
» ง. พิธีที่ได้บุญมากคืออ่านคัมภีร์รวดเดียวจบ
๕. นิกาย
• ๑.นิกายนานักปันถิ แปลว่าผู้ปฏิบัติ
ตามธรรมของท่านคุรุนานัก
(ศาสดาองค์แรก) ผู้นับถือนิกายนี้
จะไม่เข้าปาหุล หรือล้างบาป และ
ไม่รับ “ก” ทั้ง ๕ ประการ
• ๒. นิกายนิลิมเล แปลว่า นักพรตผู้
ปราศจากมลทิน บางแห่งเรียก
นิกายนี้ว่า “นิกายขาลสา” หรือ
“นิกายสิงห์” ผ้นับถือนิกายนี้จะ
ดาเนินตามคาสอนของท่านคุรุโควิ
นทสิงห์ (ศาสดาองค์ที่ ๑๐)
โดยเฉพาะในเรื่องปาหุล หรือล้าง
ชาละล้างบาป ให้ตนเป็นผู้บริสุทธิ์
(ขาลสา) และเมื่อรับ “ก” ทั้ง ๕ แล้ว
ก็ใช้นามสิงห์ต่อท้ายได้
๖. หลักคาสอน
• ๑. ความเป็นหนึ่งกับพระเจ้า
• ๒. ภราดรภาพระหว่างมนุษยชาติ
• ๓. ความรักพระเจ้าและคุรุของตน
• ๔. การพัฒนาบุคคลให้เป็นหนึ่งกับ
พระเจ้า
หลักคาสอนทั่วไปของศาสนาซิกข์
หลักการปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
• ๑. ตื่นแต่เช้า ทาจิตให้เต็มด้วยความรักพระ
เจ้า
• ๒. จงให้ทานเสมอ
• ๓. จงพูดแต่คาสุภาพอ่อนโยน
• ๔. จงเป็นคนประพฤติถ่อมตน
• ๕. จงทาความดีต่อผู้อื่น
• ๖. อย่ารับประทานมาก นอนมาก
• ๗. จงใช้จ่ายเฉพาะส่วนที่ตนหาได้มา
• ๘. นอนหลับกับคนดีทั้งกลางวันและกลางคืน
• ๙. จงร่วมกับคนดีสวดบทสรรเสริญของคุรุ
หลักประจาชีวิต
• ชาวซิกข์ต้องรับสัตยปฏิญญาเป็นหลักปฏิบัติประจำ
ชีวิตมี ๒๑ ข้อ
• ข้อให้ปฏิบัติ ๑๐
• ข้อห้ามปฏิบัติ ๑๑
• บริกรรม/ภาวนาจนขึ้นใจของชาวซิกข์
• (ดูคาภาวนาหน้าต่อไป)
คาภาวนาจนขึ้นใจ
• วาเฮคุรุ คุรุมนฺตฺร ไฮชปฺเฮาไม โคอี
• การบริกรรม/ภาวนา “ชัป” จะได้ผลต้องเว้น
สิ่งที่ควรเว้น ๕ อย่าง
• ๑. การกินเกินหิว
• ๒. การหลับเกินง่วง
• ๓. การเกียจคร้าน
• ๔. การฟุ้ งซ่าน
• ๕. การหลับน้อยเกินไป
และจงเลือกสรร ๗
• ๑. สถานที่สะอาด
• ๒. ร่างกายสะอาด
• ๓. ไม่พูด ไม่คานึงถึงเรื่องอื่น
• ๔. เข้าใจบทบริกรรม
• ๕. ตั้งใจให้แน่วแน่ (สมาธิ)
• ๖. ปฏิบัติตน (บริกรรม) เป็นนิตย์
• ๗. ทาชัป คือ บริกรรมยามท้ายของ
ราตรี ได้แก่ยาม ๓ - ๖ น.
๗. จุดหมายสูงสุด
• จุดหมายสูงสุดของศาสนาซิกข์ อยู่ที่การหลุดพ้นจากการเวียนว่าย
ตายเกิด แล้วเข้าร่วมเป็นอันหนึ่งเดียวกันกับพระเจ้า
พระเจ้า
• พระนามว่า “วาเฮคุรุ”
• เป็นเอกเทวนิยม
• คนจะเข้าถึงพระเจ้าทีเดียวไม่ได้ต้องเข้าหาคุรุก่อน
หลักการสร้างจริตเพื่อบรรลุสัจชั้นสูง
• ๑. การฟังพระนาม
• ๒. การเชื่อฟังพระเจ้า
หลักการบรรลุนิรวาณ
• การเพ่งพระนาม
• มีศรัทธาและจงรักภักดี
• เปล่งวาจาสรรเสริญพระเจ้า
• การปฏิบัติตามคาสอนของคุรุ
• มีสัจจะเป็นเหตุหลอมตัวเป็นอันเดียวกับพระเจ้า
๘. พิธีกรรม
• พิธีกรรมที่ชาวซิกข์ทุกคนต้องทาเพื่อเป็นชาว
ซิกข์ที่สมบูรณณ์ คือ พิธี “ปาหุล” ซึ่งเป็น พิธี
ล้างบาปและปฏิบัติตาม ก. ทั้ง ๕ คือ
• เกศ หมายถึง การไว้ผมยาวโดยไม่ตัดเลย
• กังฆา หมายถึง การมีหวีขนาดเล็กประจาตัว
• กฉา หมายถึง นุ่งกางเกงในเป็นประจา
• กรา หมายถึง การมีกาไลมือที่ทาด้วยเหล็ก
• กิรปาน หมายถึง การมีดาบติดตัวอยู่ประจา
ผู้ที่ได้ผ่านพิธีล้างบาปแล้ว จะได้นามว่า สิงห์
หรือ Singh
เอกลักษณ์ของความเป็นสิกข์
เกศา
ในสมัยโบราณเกศา หรือผม
แสดงถึงความเป็นนักบวชและผู้
ทรงคุณธรรม พระศาสดาคุรุนา
ยักทรงริเริ่มการไว้ผมโดยไม่ตัด
การรักษาเกศาเป็นการแสดงถึง
การดารงชีพที่สอดคล้องกับ
ความประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า
ที่ได้ทรงประทานเกศาแก่มนุษย์
กรา (กาไลเหล็ก) เป็นสัญลักษณ์แห่ง
ความอดกลั้น ถ่อมตน และสุภาพ เป็น
เครื่องเตือนใจชาวสิขตลอดเวลาว่าเขามี
พันธะผูกพันกับองค์
พระศาสดา เมื่อใดที่มองดูกาไลในมือ
ของตน เขาจะคิดชั่งใจหลายครั้งก่อนที่จะ
กระทาสิ่งใดที่ผิดคุณธรรม
เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความผูกพันต่อ
หมู่คณะ และการเป็นมิตร การแสดงออก
ของความรู้สึกของความเป็นพี่น้อง
เอกลักษณ์ของความเป็นสิกข์
กังฆา (หวี)
จาเป็นสาหรับการรักษา
เกศาให้สะอาดและ
เรียบร้อย
เอกลักษณ์ของความเป็นสิกข์
กฉา (กางเกงในขาสั้น)
เป็นสัญลักษณ์แห่งความดีงาม และความกระทัดรัด
เรียบร้อย สร้างความสะดวกสบายและคลองตัวในการเดินทาง
ทางาน ในการสู้รบ และยังสะดวกแม้ในยามพักผ่อน ตลอดจน
เป็นสัญลักษณ์แห่งความว่องไว ปราดเปรียว
กิรปาน (กริช / ดาบ)
เป็นเครื่องหมายของความกล้าหาญและการผจญ
ภัย เป็นการแสดงออกถึงความเชื่อมั่นในตัวเอง
และพร้อมที่จะปกป้ องเกียรติของตนและผู้อื่น
ดาบจะใช้เป็นเครื่องปกป้ องผู้อื่น ไม่ใช่อาวุธใน
การรุกรานหรือทาร้ายผู้อื่น
๙. สัญลักษณ์
๑. กาน้าและดาบ
หมายถึงการรับใช้และกาลัง
๒. เครื่องหมาย ก ทั้ง ๕
๓. รูปดาบไขว้
๔. สัญลักษณ์เอกโองการ
ขัณฑา หรือ คันด้า (Khanda)
ประกอบด้วย
ดาบสองคม (แสดงถึงความรูอัน
ประเสิรฐจากพระเจ้าซึ่งสามารถช่วย
ตัดมายาได้) วางอยู่ตรงกลาง โดยมี
วงกลม (จักร - แสดงถึงความเป็นนิ
รันดร์ของพระเจ้า) วางซ้อนอยู่ข้างบน
และมีดาบโค้งสองเล่มไขว้กัน
(แสดงถึงการดาเนินชีวิตที่วางอยู่บน
ความสมดุลย์ระหว่างคติทางโลกและ
คติทางธรรม) วางซ้อนบนฝักดาบ
สัญลักษณ์เครื่องหมายเกียรติยศ (คันด้า)
สัญลักษณ์นี้มีความหมายว่า พระเจ้าที่
แท้จริงมีเพียงพระองค์เดียว สัญลักษณ์นี้
ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาปัญจาบิ 2 ตัว
ตัวแรกคือ หมายเลข "1" ซึ่งในภาษาปัญจา
บิอ่านว่า "เอก"
และตัวหลังคือ ตัวอักษร "อูระ" แทนคาว่า
"โองการ" มีความหมายว่า พระเจ้า
ดังนั้น สัญลักษณ์ เอก โองการ นี้จึงเป็น
สัญลักษณ์ที่แสดงว่า ชาวซิกข์นับถือและ
เชื่อมั่นในพระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว
สัญลักษณ์ เอก โองการ
ยุติเพียงเท่านี้
•นมัสเต
•สวัสดี
•โสตฺถิ โหตุ
•So long.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Viewers also liked

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 

Viewers also liked (7)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 

Similar to ศาสนาซิกข์

โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลblctoday
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdfIntelligentChannel
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษาChalinee Tonsing
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

Similar to ศาสนาซิกข์ (20)

โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษา
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

ศาสนาซิกข์