SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
89 
วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๒๑๑๐๑ 
๑. จำĕนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จำĕนวน ๑.๕ หน่วยกิต 
๒. หนังสือเรียนที่ใช้ในการเรียน 
- แบบเรียน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (พระพุทธศาสนา) ม.๑ 
ผู้แต่ง ศ.ดร. วิทย์ วิศทเวทย์, ศ. พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก 
- แบบเรียน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำĕเนินชีวิตในสังคม (ม.๑) 
ผู้แต่ง ศ.ดร. กระมล ทองธรรมชาติ, รศ.ดร. ดำĕรง ฐานดี, ผศ. วิชัย ภู่โยธิน, 
นางสุคนธ์ สินทพานนท์ 
สำĕนักพิมพ์ อักษรเจริญทัศน์ 
- หนังสืออ่านประกอบ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม และหน้าที่พลเมือง 
วัฒนธรรมและการดำĕเนินชีวิตในสังคม 
สำĕนักพิมพ์ สำĕนักพิมพ์ต่างๆ 
๓. ผู้เขียนคู่มือครู 
ชื่อ นางวิไล พรายศรี ตำĕแหน่ง ครูผู้สอน 
สถานที่ทำĕงาน โรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ 
โทรศัพท์ ๐๘-๖๕๗๕-๗๓๔๒
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
มาตรฐานการเรียนรู้ / 
ตัวชี้วัด 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนาและวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
90 
และศานาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย 
ม ๑/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทยรวมทั้ง 
การพัฒนาตนและครอบครัว 
ม ๑/๓ วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูจิจนถึงบำĕเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
ม ๑/๔ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและ 
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด 
ม ๑/๕ อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว 
ม ๑/๖ เหน็คุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบ 
คุณค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน 
นับถือ 
ม ๑/๗ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่ 
กำĕหนด 
ม ๑/๘ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษา 
สิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 
ม ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ 
ม ๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 
ม ๑/๑๑ วิเคราะห์การกระทำĕของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และนำĕเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา 
91 
ที่ตนนับถือ 
ตัวชี้วัด 
ม ๑/๑ บำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ 
ม ๑/๒ อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ 
ศาสนาที่ตนนับถือ 
ม ๑/๓ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
ม ๑/๔ จัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง 
ม ๑/๕ อธิบายประวัติ ความสำĕคัญและปฏิบัติตนในวันสำĕคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนดได้ถูกต้อง 
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำĕเนินชีวิตในสังคม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำĕรงรักษาประเพณี 
และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม ๑/๑ ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล 
ม ๑/๒ ระบุความสามารถของตนเองในการทำĕประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ม ๑/๓ อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจนำĕไปสู่ความเข้าใจผิด 
ต่อกัน 
ม ๑/๔ แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำĕรงรักษาไว้ซึ่งการ 
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
ตัวชี้วัด 
ม ๑/๑ อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำĕคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน 
โดยสังเขป 
ม ๑/๒ วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำĕนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน 
ม ๑/๓ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / 
92 
ตัวชี้วัด 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
สาระสำ�คัญ เวลา 
(ชั่วโมง) 
นํ้าหนัก 
คะแนน 
๑ พระพุทธ ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ 
ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕ 
การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ 
ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และ 
วันสำĕคัญทางศาสนา ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญ 
เกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็น 
แบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต 
๑๘ ๑๕ 
๒ พระธรรม ส ๑.๑ ม.๑/๕, ม.๑/๖ 
ม.๑/๗ 
ข้อธรรมเป็นหลักสำĕคัญที่มีหลักพัฒนาจิต 
ให้ข้อคิดในการดำĕเนินชีวิตและเตือนใจในการ 
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม 
๔ ๕ 
๓ พระสงฆ์ ส ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ 
ม.๑/๓ 
ชาวพุทธควรบำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน 
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตาม 
หลักพระพุทธศาสนา 
๔ ๕ 
๔ ศาสนาสำĕคัญ ส ๑.๑ ม.๑/๘, ม.๑/๙ 
ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑ 
การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตน 
นับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียงและนำĕ 
แนวทางการปฏิบัติตนมาเป็นแบบอย่าง จะส่ง 
ผลต่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 
๒ ๕ 
สอบกลางภาค ๒๐ 
๕ บทบาทและหน้าที่ของ 
เยาวชนที่มีต่อสังคม 
และประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ เยาวชนที่ดีต้องปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ 
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น และทำĕประโยชน์ 
ต่อสังคมและประเทศชาติ 
๕ ๕ 
๖ รัฐธรรมนูญกับ 
การเมืองการปกครอง 
ของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ 
ม.๑/๓ 
รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติสำĕคัญเกี่ยวกับ 
หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง สาระสำĕคัญ 
และการใช้อำĕนาจอธิปไตย ชาวไทยทุกคนต้อง 
ปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 
๗ ๕ 
โครงสร้าง 
รายวิชา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
93 
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / 
ตัวชี้วัด 
สาระสำ�คัญ เวลา 
(ชั่วโมง) 
นํ้าหนัก 
คะแนน 
๗ กฎหมายคุ้มครอง 
สิทธิของบุคคล 
ส ๒.๑ ม.๑/๑ กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคลมีบทบัญญัติ 
สำĕคัญที่ทำĕให้บุคคลเคารพสิทธิของตนเองและ 
ผู้อื่น ปฏิบัติต่อกันอย่างเหมาะสม ส่งผลดีต่อ 
การพัฒนาคุณภาพชีวิต 
๗ ๕ 
๘ วัฒนธรรมไทยและ 
วัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓ วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีคุณค่า การศึกษา 
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ 
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ย่อมทำĕให้ 
เข้าใจแนวทางการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 
๕ ๕ 
สอบปลายภาค ๓๐ 
รวมตลอดภาคเรียน ๕๒ ๑๐๐
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
94 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๑ ๑๗ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ปฐมนิเทศ 
ประวัติและความสำĕคัญของ 
พระพุทธศาสนา 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
สมุดจดบันทึก 
หนังสือแบบเรียน 
๒ ๑๘ พ.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) ประวัติและความสำĕคัญของ 
พระพุทธศาสนา 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
ใบงานที่ ๑-๓ 
๓ ๒๑ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ 
ประเทศไทย 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
๔ ๒๔ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ 
ประเทศไทย 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
๕ ๒๕ พ.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาต่อ 
สังคมไทย 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
๖ ๒๘ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาต่อ 
สังคมไทย 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒ 
๗ ๓๑ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พุทธประวัติ ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
๘ ๑ มิ.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) พุทธประวัติ ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
วันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ หยุดวันวิสาขบูชา 
๙ ๗ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
ใบงานที่ ๔-๗ 
๑๐ ๘ มิ.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
๑๑ ๑๑ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ศาสนิกชนตัวอย่าง ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
๑๒ ๑๔ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) ศาสนิกชนตัวอย่าง ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
95 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๑๓ ๑๕ มิ.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ บุคคลตัวอย่างที่มีผลงานด้าน 
ศาสนสัมพันธ์ 
ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
๑๔ ๑๘ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ชาดก ส ๑.๑ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ 
๑๕ ๒๑ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนา 
และศาสนพิธี 
ส ๑.๒ ม.๑/๔, 
ม.๑/๕ 
ใบงานที่ ๘-๙ 
๑๖ ๒๒ มิ.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ 
ศาสนพิธี 
ส ๑.๒ ม.๑/๔, 
ม.๑/๕ 
๑๗ ๒๕ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ 
ศาสนพิธี 
ส ๑.๒ ม.๑/๔, 
ม.๑/๕ 
๑๘ ๒๘ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ 
ศาสนพิธี 
ส ๑.๒ ม.๑/๔, 
ม.๑/๕ 
๑๙ ๒๙ มิ.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, 
ม.๑/๘ 
๒๐ ๒ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, 
ม.๑/๘ 
๒๑ ๕ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, 
ม.๑/๘ 
๒๒ ๖ ก.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ พุทธศาสนสุภาษิต ส ๑.๑ ม.๑/๕ ใบงานที่ ๑๐ 
๒๓ ๙ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ส ๑.๑ ม.๑/๖, 
ม.๑/๗ 
ใบงานที่ ๑๑ 
๒๔ ๑๒ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) การบริหารจิตและเจริญปัญญา ส ๑.๑ ม.๑/๖, 
ม.๑/๗ 
๒๕ ๑๓ ก.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
ใบงานที่ ๑๒
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
96 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๒๖ ๑๖ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พระพุทธศาสนากับการพัฒนา ส ๑.๑ ม.๑/๒ 
๒๗ ๑๙ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ศาสนาสำĕคัญในประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๙, 
ม.๑/๑๐ 
ใบงานที่ ๑๓ 
๒๘ ๒๐ ก.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) ศาสนาสำĕคัญในประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๙, 
ม.๑/๑๐ 
๒๙ ๒๓ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อ 
สังคมและประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, 
ม.๑/๔ 
ใบงานที่ ๑๔-๑๖ 
๓๐ ๒๖ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี 
ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, 
ม.๑/๔ 
๓๑ ๒๗ ก.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี 
ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, 
ม.๑/๔ 
๓๒ ๓๐ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี 
ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, 
ม.๑/๔ 
วันพฤหัสบดีที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันอาสาฬหบูชา 
วันศุกร์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันเข้าพรรษา 
๓๓ ๖ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี 
ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ส ๒.๑ ม.๑/๒, 
ม.๑/๔ 
๓๔ ๙ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครอง 
ของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒,ม.๑/๓ 
ใบงานที่ ๑๗ 
๓๕ ๑๐ ส.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
วันจันทร์ที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 
๓๖ ๑๖ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
97 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๓๗ ๑๗ ส.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
๓๘ ๒๐ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
๓๙ ๒๓ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
๔๐ ๒๔ ส.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ส ๒.๒ ม.๑/๑, 
ม.๑/๒, ม.๑/๓ 
๔๑ ๒๗ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ใบงานที่ ๑๘-๒๐ 
๔๒ ๓๐ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๓ ๓๑ ส.ค. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๔ ๓ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๕ ๖ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๖ ๗ ก.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๗ ๑๐ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ 
๔๘ ๑๓ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
98 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๔๙ ๑๔ ก.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓ 
๕๐ ๑๗ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓ 
๕๑ ๒๐ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓ 
๕๒ ๒๑ ก.ย. ๕๕ 
๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. 
๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ 
ประเทศเพื่อนบ้าน 
ส ๒.๑ ม.๑/๓
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
99 
ผังมโนทัศน์ 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง 
พระพุทธ พระธรรม 
พระสงฆ์ ศาสนาสำ�คัญ 
สังคมศึกษา ศาสนา 
และวัฒนธรรม 
กฎหมายคุ้มครอง 
สิทธิของบุคคล 
วัฒนธรรมไทยและ 
วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน 
บทบาทและหน้าที่ของ 
เยาวชนที่มีต่อสังคม 
และประเทศชาติ 
รัฐธรรมนูญกับการเมือง 
การปกครองของไทย 
ศาสนา ศีลธรรม 
จริยธรรม 
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม 
และการดำ�เนินชีวิต
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ 
เรื่อง พระพุทธ 
เวลา ๑๘ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
100 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย 
ม. ๑/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย 
รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว 
ม. ๑/๓ วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำĕเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
ม. ๑/๔ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและ 
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด 
ม. ๑/๑๑ วิเคราะห์การกระทำĕของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และนำĕเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา 
ที่ตนนับถือ 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๔ จัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง 
ม. ๑/๕ อธิบายประวัติ ความสำĕคัญและปฏิบัติตนในวันสำĕคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนดได้ถูกต้อง 
๒. สาระสำ�คัญ 
การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และวันสำĕคัญทางศาสนา 
ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญเกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
101 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) ประวัติและความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา 
๒) พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง และชาดก 
๓) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
- การสืบค้นข้อมูล 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การบันทึกข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ พุทธสาวก 
พุทธสาวิกา และวันสำĕคัญทางศาสนา 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
102 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. ความรู้ความเข้าใจ 
ในเนื้อหา 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ชัดเจน 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผลทุกข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ถูกต้อง 
มีเหตุผลบางข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ แต่ไม่มี 
เหตุผลประกอบ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้บ้างเล็กน้อย 
๒. ทักษะความ 
สามารถในการ 
คิดวิเคราะห์ 
แสดงความคิดเห็น 
ได้ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผล 
แสดงความคิดเห็นได้ 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
แสดงความคิดเห็นได้ 
พอสมควร 
แสดงความคิดเห็น 
ไม่ถูกต้อง 
๓. ทักษะความ 
สามารถในการ 
ทำĕงานกลุ่ม 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
ตามกำĕหนดเวลา 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา 
สมาชิกบางคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จ 
แต่ไม่ถูกต้อง 
สมาชิกส่วนใหญ่ขาด 
ความกระตือรือร้นต่อ 
การงาน งานไม่เสร็จ 
ตามกำĕหนดเวลา 
๔. ทักษะความ 
สามารถในการ 
สืบค้นและการ 
บันทึกข้อมูล 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้อย่าง 
เป็นระบบและถูกต้อง 
สมบูรณ์ 
สามารถสืบค้นข้อมูล 
ได้ถูกต้องและบันทึก 
ข้อมูลได้ 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
พอสมควร 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
เล็กน้อย 
๕. คุณลักษณะ 
การมีวินัย 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ก่อนเวลาทุกครั้ง 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ตามเวลา 
ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ 
๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการค้นคว้า 
หาความรู้จาก 
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการเรียนรู้ 
ในห้องเรียน 
ตั้งใจเรียน แต่ขาด 
ความพยายาม 
ไม่ค่อยตั้งใจเรียน 
๗. มุ่งมั่นในการ 
ทำĕงาน 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นอย่างดีทุกครั้ง 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นบางครั้ง 
ทำĕงานตามสบาย 
๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย 
ความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ตามหน้าที่ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
เพราะความจำĕเป็น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
103 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๕ อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว 
ม. ๑/๖ เหน็คุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบ 
คุณค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน 
นับถือ 
ม. ๑/๗ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ 
ตามที่กำĕหนด 
ม. ๑/๘ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษา 
สิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 
๒. สาระสำ�คัญ 
การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และวันสำĕคัญทางศาสนา 
ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญเกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 
๒) พุทธศาสนสุภาษิต 
๓) การบริหารจิตและเจริญปัญญา 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 
เรื่อง พระธรรม 
เวลา ๔ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
104 
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
- การสืบค้นข้อมูล 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การบันทึกข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต การบริหารจิต 
และเจริญปัญญา 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
105 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. ความรู้ความเข้าใจ 
ในเนื้อหา 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ชัดเจน 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผลทุกข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ถูกต้อง 
มีเหตุผลบางข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ แต่ไม่มี 
เหตุผลประกอบ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้บ้างเล็กน้อย 
๒. ทักษะความ 
สามารถในการ 
คิดวิเคราะห์ 
แสดงความคิดเห็น 
ได้ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผล 
แสดงความคิดเห็นได้ 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
แสดงความคิดเห็นได้ 
พอสมควร 
แสดงความคิดเห็น 
ไม่ถูกต้อง 
๓. ทักษะความ 
สามารถในการ 
ทำĕงานกลุ่ม 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
ตามกำĕหนดเวลา 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา 
สมาชิกบางคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จ 
แต่ไม่ถูกต้อง 
สมาชิกส่วนใหญ่ขาด 
ความกระตือรือร้นต่อ 
การงาน งานไม่เสร็จ 
ตามกำĕหนดเวลา 
๔. ทักษะความ 
สามารถในการ 
สืบค้นและการ 
บันทึกข้อมูล 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้อย่าง 
เป็นระบบและถูกต้อง 
สมบูรณ์ 
สามารถสืบค้นข้อมูล 
ได้ถูกต้องและบันทึก 
ข้อมูลได้ 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
พอสมควร 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
เล็กน้อย 
๕. คุณลักษณะ 
การมีวินัย 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ก่อนเวลาทุกครั้ง 
ส่งงานครบทุกชิ้นตาม 
เวลา 
ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ 
๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการค้นคว้า 
หาความรู้จาก 
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการเรียนรู้ 
ในห้องเรียน 
ตั้งใจเรียนแต่ขาด 
ความพยายาม 
ไม่ค่อยตั้งใจเรียน 
๗. มุ่งมั่นในการ 
ทำĕงาน 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นอย่างดีทุกครั้ง 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นบางครั้ง 
ทำĕงานตามสบาย 
๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย 
ความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ตามหน้าที่ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
เพราะความจำĕเป็น
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ 
เรื่อง พระสงฆ์ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
106 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย 
ม. ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ 
ม .๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา 
ที่ตนนับถือ 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๑ บำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ 
ม. ๑/๒ อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ 
ศาสนาที่ตนนับถือ 
ม. ๑/๓ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
๒. สาระสำ�คัญ 
ชาวพุทธควรบำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักพระพุทธศาสนา 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ 
๒) พระพุทธศาสนากับการพัฒนา 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล 
เวลา ๔ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
107 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
- การสืบค้นข้อมูล 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การบันทึกข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องหน้าที่และมารยาทชาวพุทธและพระพุทธศาสนากับการพัฒนา 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. ความรู้ความเข้าใจ 
ในเนื้อหา 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ชัดเจน 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผลทุกข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ถูกต้อง 
มีเหตุผลบางข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้แต่ไม่มี 
เหตุผลประกอบ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้บ้างเล็กน้อย
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
108 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๒. ทักษะความ 
สามารถในการ 
คิดวิเคราะห์ 
แสดงความคิดเห็น 
ได้ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผล 
แสดงความคิดเห็นได้ 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
แสดงความคิดเห็นได้ 
พอสมควร 
แสดงความคิดเห็น 
ไม่ถูกต้อง 
๓. ทักษะความ 
สามารถในการ 
ทำĕงานกลุ่ม 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
ตามกำĕหนดเวลา 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา 
สมาชิกบางคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จ 
แต่ไม่ถูกต้อง 
สมาชิกส่วนใหญ่ขาด 
ความกระตือรือร้นต่อ 
การงาน งานไม่เสร็จ 
ตามกำĕหนดเวลา 
๔. ทักษะความ 
สามารถในการ 
สืบค้นและการ 
บันทึกข้อมูล 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้อย่าง 
เป็นระบบและถูกต้อง 
สมบูรณ์ 
สามารถสืบค้นข้อมูล 
ได้ถูกต้องและบันทึก 
ข้อมูลได้ 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
พอสมควร 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
เล็กน้อย 
๕. คุณลักษณะ 
การมีวินัย 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ก่อนเวลาทุกครั้ง 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ตามเวลา 
ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ 
๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการค้นคว้า 
หาความรู้จากแหล่ง 
เรียนรู้ต่างๆ 
ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการเรียนรู้ 
ในห้องเรียน 
ตั้งใจเรียน แต่ขาด 
ความพยายาม 
ไม่ค่อยตั้งใจเรียน 
๗. มุ่งมั่นในการ 
ทำĕงาน 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นอย่างดีทุกครั้ง 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นบางครั้ง 
ทำĕงานตามสบาย 
๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ตามหน้าที่ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
เพราะความจำĕเป็น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ 
เรื่อง ศาสนาสำ�คัญ 
เวลา ๒ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
109 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ 
ม. ๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นตามสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 
๒. สาระสำ�คัญ 
การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียงและนำĕแนวทางการปฏิบัติตน 
มาเป็นแบบอย่าง จะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) ศาสนาคริสต์ 
๒) ศาสนาอิสลาม 
๓) ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 
๔) ศาสนาซิกข์ 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำĕงาน มีจิตสาธารณะ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
110 
- การสืบค้นข้อมูล 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การบันทึกข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องศาสนาต่างๆ ในประเทศไทยแล้วร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คำĕถาม 
* กำĕเนิดของศาสนาต่างๆ 
* ประวัติ ความเป็นมา ความสำĕคัญ ของหลักคำĕสอนและพิธีกรรมของแต่ละศาสนา 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. ความรู้ความเข้าใจ 
ในเนื้อหา 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ชัดเจน 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผลทุกข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ถูกต้อง 
มีเหตุผลบางข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้แต่ไม่มี 
เหตุผลประกอบ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้บ้างเล็กน้อย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
111 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๒. ทักษะความ 
สามารถในการ 
คิดวิเคราะห์ 
แสดงความคิดเห็น 
ได้ถูกต้องสมบูรณ์มี 
เหตุผล 
แสดงความคิดเห็นได้ 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
แสดงความคิดเห็นได้ 
พอสมควร 
แสดงความคิดเห็น 
ไม่ถูกต้อง 
๓. ทักษะความ 
สามารถในการ 
ทำĕงานกลุ่ม 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
ตามกำĕหนดเวลา 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา 
สมาชิกบางคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จ 
แต่ไม่ถูกต้อง 
สมาชิกส่วนใหญ่ขาด 
ความกระตือรือร้นต่อ 
การงาน งานไม่เสร็จ 
ตามกำĕหนดเวลา 
๔. ทักษะความ 
สามารถในการ 
สืบค้นและการ 
บันทึกข้อมูล 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้อย่าง 
เป็นระบบและถูกต้อง 
สมบูรณ์ 
สามารถสืบค้นข้อมูล 
ได้ถูกต้องและบันทึก 
ข้อมูลได้ 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
พอสมควร 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้ 
เล็กน้อย 
๕. คุณลักษณะ 
การมีวินัย 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ก่อนเวลาทุกครั้ง 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ตามเวลา 
ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ 
๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการค้นคว้า 
หาความรู้จาก 
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการเรียนรู้ 
ในห้องเรียน 
ตั้งใจเรียน แต่ขาด 
ความพยายาม 
ไม่ค่อยตั้งใจเรียน 
๗. มุ่งมั่นในการ 
ทำĕงาน 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นอย่างดีทุกครั้ง 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นบางครั้ง 
ทำĕงานตามสบาย 
๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย 
ความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ตามหน้าที่ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
เพราะความจำĕเป็น
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำĕรงรักษาประเพณี 
112 
และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๒ ระบุความสามารถของตนเองในการทำĕประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ 
ม. ๑/๔ แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 
๒. สาระสำ�คัญ 
พลเมืองดีของสังคมและประเทศชาตินั้นจะต้องรู้จักเคารพสิทธิของตนและผู้อื่น ทำĕประโยชน์ต่อสังคมและ 
ประเทศชาติ ซึ่งจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ 
๒) การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 
๓) การปฏิบัติตนและผลที่ได้รับในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
กระบวนการปฏิบัติ การอภิปราย กระบวนการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน มีจิตสาธารณะ 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
- การสืบค้นข้อมูล 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ 
เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของเยาวชน 
เวลา ๕ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
113 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การทำĕงานข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องกฎหมายและการดำĕเนินชีวิต แล้วร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คำĕถาม 
* บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อประเทศชาติ 
* การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 
* การปฏิบัติและผลที่ได้รับในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. ความรู้ความเข้าใจ 
ในเนื้อหา 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ชัดเจน 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผลทุกข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้ถูกต้อง 
มีเหตุผลบางข้อ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้แต่ไม่มี 
เหตุผลประกอบ 
ตอบคำĕถามและ 
อธิบายได้บ้างเล็กน้อย 
๒. ทักษะความ 
สามารถในการ 
คิดวิเคราะห์ 
แสดงความคิดเห็น 
ได้ถูกต้องสมบูรณ์ 
มีเหตุผล 
แสดงความคิดเห็นได้ 
ถูกต้องสมบูรณ์ 
แสดงความคิดเห็นได้ 
พอสมควร 
แสดงความคิดเห็น 
ไม่ถูกต้อง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
114 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๓. ทักษะความ 
สามารถในการ 
ทำĕงานกลุ่ม 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
ตามกำĕหนดเวลา 
สมาชิกทุกคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง 
แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา 
สมาชิกบางคนมีความ 
กระตือรือร้นร่วมกัน 
ทำĕงานสำĕเร็จ 
แต่ไม่ถูกต้อง 
สมาชิกส่วนใหญ่ขาด 
ความกระตือรือร้นต่อ 
การงาน งานไม่เสร็จ 
ตามกำĕหนดเวลา 
๔. ทักษะความ 
สามารถในการ 
สืบค้นและการ 
บันทึกข้อมูล 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูลได้อย่าง 
เป็นระบบและถูกต้อง 
สมบูรณ์ 
สามารถสืบค้นข้อมูล 
ได้ถูกต้องและบันทึก 
ข้อมูลได้ 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูล 
ได้พอสมควร 
สามารถสืบค้นและ 
บันทึกข้อมูล 
ได้เล็กน้อย 
๕. คุณลักษณะ 
การมีวินัย 
ส่งงานครบทุกชิ้น 
ก่อนเวลาทุกครั้ง 
ส่งงานครบทุกชิ้นตาม 
เวลา 
ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ 
๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการค้นคว้า 
หาความรู้จาก 
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
ตั้งใจเรียน มีความ 
พยายามในการเรียนรู้ 
ในห้องเรียน 
ตั้งใจเรียนแต่ 
ขาดความพยายาม 
ไม่ค่อยตั้งใจเรียน 
๗. มุ่งมั่นในการ 
ทำĕงาน 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นอย่างดีทุกครั้ง 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เอาใจใส่และรับผิดชอบ 
ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 
ที่ได้รับมอบหมาย 
เป็นบางครั้ง 
ทำĕงานตามสบาย 
๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น 
ด้วยความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย 
ความเต็มใจ 
ทำĕงานให้ผู้อื่น 
ตามหน้าที่ 
ทำĕงานให้ผู้อื่นเพราะ 
ความจำĕเป็น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำĕรงรักษาไว้ซึ่ง 
115 
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๑ อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำĕคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
ฉบับปัจจุบัน โดยสังเขป 
ม. ๑/๒ วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำĕนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน 
ม. ๑/๓ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง 
๒. สาระสำ�คัญ 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีบทบัญญัติสำĕคัญเกี่ยวกับหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง สาระสำĕคัญและ 
การใช้อำĕนาจอธิปไตย ชาวไทยทุกคนต้องปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
๒) อำĕนาจอธิปไตย 
๓) แนวทางการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
กระบวนการปฏิบัติ การอภิปราย กระบวนการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ 
เรื่อง รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครอง 
เวลา ๗ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
116 
- การสืบค้นข้อมูล 
- กระบวนการกลุ่ม 
- การทำĕงานข้อมูล 
๗. การวัดผลประเมินผล 
- ทำĕแบบทดสอบ 
- ทำĕใบงาน 
- การทำĕงานกลุ่ม 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
- นำĕเข้าสู่บทเรียน 
- แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
- ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และอำĕนาจอธิปไตย แล้วร่วมกันอภิปราย 
- นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม 
- จดบันทึก 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือแบบเรียน 
- อินเทอร์เน็ต 
- Power Point 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๑. หลักการและ 
เจตนารมณ์ 
เขียนอธิบายหลักการ 
และเจตนารมณ์ 
ได้ใจความถูกต้อง 
ครบถ้วนทุกประเด็น 
เขียนอธิบายหลักการ 
และเจตนารมณ์ 
ได้ใจความถูกต้อง 
ครบถ้วนเป็น 
ส่วนใหญ่ 
เขียนอธิบายหลักการ 
และเจตนารมณ์ 
ได้ถูกต้อง 
เป็นบางส่วน 
เขียนอธิบายหลักการ 
และเจตนารมณ์ 
ถูกต้องเป็นส่วนน้อย 
๒. โครงสร้าง เขียนอธิบาย 
โครงสร้างได้ถูกต้อง 
ครบถ้วนสมบูรณ์ 
เขียนอธิบาย 
โครงสร้างได้ถูกต้อง 
เกือบครบถ้วน 
เขียนอธิบาย 
โครงสร้างได้ถูกต้อง 
เป็นบางส่วน 
เขียนอธิบาย 
โครงสร้างถูกต้อง 
เป็นส่วนน้อย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
117 
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
๓. สาระสำĕคัญ สรุปสาระสำĕคัญ 
ได้ถูกต้อง จำĕนวน 
๗-๘ ประเด็น 
สรุปสาระสำĕคัญ 
ได้ถูกต้อง จำĕนวน 
๕-๖ ประเด็น 
สรุปสาระสำĕคัญ 
ได้ถูกต้อง จำĕนวน 
๓-๔ ประเด็น 
สรุปสาระสำĕคัญ 
ได้ถูกต้อง จำĕนวน 
๑-๒ ประเด็น 
๔. การถ่วงดุลอำĕนาจ 
อธิปไตย 
อธิบายเชื่อมโยง 
การถ่วงดุลอำĕนาจ 
จากฝ่ายบริหาร 
ฝ่ายนิติบัญญัติ และ 
ฝ่ายตุลาการได้ถูกต้อง 
ครบถ้วนทุกประเด็น 
๓ ฝ่าย 
อธิบายเชื่อมโยง 
การถ่วงดุลอำĕนาจ 
จากฝ่ายบริหาร 
ฝ่ายนิติบัญญัติ และ 
ฝ่ายตุลาการได้ถูกต้อง 
เกือบทุกประเด็นทั้ง 
๓ ฝ่าย 
อธิบายเชื่อมโยง 
การถ่วงดุลอำĕนาจ 
อธิปไตยได้ถูกต้อง 
ทุกประเด็นจำĕนวน 
๒ ฝ่าย 
อธิบายเชื่อมโยง 
การถ่วงดุลอำĕนาจ 
อธิปไตยได้ถูกต้อง 
ทุกประเด็นจำĕนวน 
๑ ฝ่าย
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
มาตรฐานการเรยีนรู้ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิตัตินตามหน้าทขี่องการเปน็พลเมอืงดี มคี่านยิมทดี่งีามและธĕำรงรกัษาประเพณี 
118 
และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๑/๑ การปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล 
๒. สาระสำ�คัญ 
กฎหมายคุ้มครองสิทธิมีบทบัญญัติสำĕคัญที่ทำĕให้บุคคลเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ปฏิบัติต่อกันอย่าง 
เหมาะสม ส่งผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑) กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล 
- กฎหมายคุ้มครองเด็ก 
- กฎหมายการศึกษา 
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 
- กฎหมายลิขสิทธิ์ 
๒) ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การปฏิบัติงาน การทำĕงานกลุ่ม 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ 
เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล 
เวลา ๗ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1

More Related Content

What's hot

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมthnaporn999
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2Nattaporn Chayapanja
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 

What's hot (20)

ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
7.1 (1)
7.1 (1)7.1 (1)
7.1 (1)
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 

Viewers also liked

13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2Yoon Yoon
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์ชนิกานต์ ปั้นแก้ว
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553Krumai Kjna
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศChao Chao
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีChao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Chao Chao
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาChao Chao
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะChao Chao
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
Etoquette ba 381_presentation_use_this_one
Etoquette ba 381_presentation_use_this_oneEtoquette ba 381_presentation_use_this_one
Etoquette ba 381_presentation_use_this_oneShaolins Prem
 
S6 w2 linear regression
S6 w2 linear regressionS6 w2 linear regression
S6 w2 linear regressionRachel Chung
 
Scegli me slide_santarelli_9pag
Scegli me slide_santarelli_9pagScegli me slide_santarelli_9pag
Scegli me slide_santarelli_9pagTropico del Libro
 

Viewers also liked (20)

13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
Etoquette ba 381_presentation_use_this_one
Etoquette ba 381_presentation_use_this_oneEtoquette ba 381_presentation_use_this_one
Etoquette ba 381_presentation_use_this_one
 
S6 w2 linear regression
S6 w2 linear regressionS6 w2 linear regression
S6 w2 linear regression
 
Scegli me slide_santarelli_9pag
Scegli me slide_santarelli_9pagScegli me slide_santarelli_9pag
Scegli me slide_santarelli_9pag
 

Similar to ม.1 ภาคเรียนที่ 1

รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
ตารางสอบปลายภาค 1/2555
ตารางสอบปลายภาค 1/2555ตารางสอบปลายภาค 1/2555
ตารางสอบปลายภาค 1/2555vipmcu
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้นsasiton sangangam
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 

Similar to ม.1 ภาคเรียนที่ 1 (20)

รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
History-m1.pdf
History-m1.pdfHistory-m1.pdf
History-m1.pdf
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
ตารางสอบปลายภาค 1/2555
ตารางสอบปลายภาค 1/2555ตารางสอบปลายภาค 1/2555
ตารางสอบปลายภาค 1/2555
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี (20)

ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
 
งานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคมงานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
 

ม.1 ภาคเรียนที่ 1

  • 1. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 89 วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๒๑๑๐๑ ๑. จำĕนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จำĕนวน ๑.๕ หน่วยกิต ๒. หนังสือเรียนที่ใช้ในการเรียน - แบบเรียน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (พระพุทธศาสนา) ม.๑ ผู้แต่ง ศ.ดร. วิทย์ วิศทเวทย์, ศ. พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก - แบบเรียน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำĕเนินชีวิตในสังคม (ม.๑) ผู้แต่ง ศ.ดร. กระมล ทองธรรมชาติ, รศ.ดร. ดำĕรง ฐานดี, ผศ. วิชัย ภู่โยธิน, นางสุคนธ์ สินทพานนท์ สำĕนักพิมพ์ อักษรเจริญทัศน์ - หนังสืออ่านประกอบ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม และหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำĕเนินชีวิตในสังคม สำĕนักพิมพ์ สำĕนักพิมพ์ต่างๆ ๓. ผู้เขียนคู่มือครู ชื่อ นางวิไล พรายศรี ตำĕแหน่ง ครูผู้สอน สถานที่ทำĕงาน โรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๘-๖๕๗๕-๗๓๔๒
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 90 และศานาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย ม ๑/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทยรวมทั้ง การพัฒนาตนและครอบครัว ม ๑/๓ วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูจิจนถึงบำĕเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ม ๑/๔ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด ม ๑/๕ อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว ม ๑/๖ เหน็คุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบ คุณค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ ม ๑/๗ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กำĕหนด ม ๑/๘ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ม ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ม ๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ม ๑/๑๑ วิเคราะห์การกระทำĕของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และนำĕเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง
  • 3. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มาตรฐานการเรียนรู้ ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา 91 ที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ม ๑/๑ บำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ ม ๑/๒ อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ ศาสนาที่ตนนับถือ ม ๑/๓ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ม ๑/๔ จัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง ม ๑/๕ อธิบายประวัติ ความสำĕคัญและปฏิบัติตนในวันสำĕคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนดได้ถูกต้อง สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำĕเนินชีวิตในสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ส๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำĕรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม ๑/๑ ปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล ม ๑/๒ ระบุความสามารถของตนเองในการทำĕประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ม ๑/๓ อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจนำĕไปสู่ความเข้าใจผิด ต่อกัน ม ๑/๔ แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น มาตรฐานการเรียนรู้ ส๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำĕรงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ม ๑/๑ อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำĕคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน โดยสังเขป ม ๑/๒ วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำĕนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน ม ๑/๓ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / 92 ตัวชี้วัด รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง สาระสำ�คัญ เวลา (ชั่วโมง) นํ้าหนัก คะแนน ๑ พระพุทธ ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕ การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และ วันสำĕคัญทางศาสนา ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญ เกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็น แบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต ๑๘ ๑๕ ๒ พระธรรม ส ๑.๑ ม.๑/๕, ม.๑/๖ ม.๑/๗ ข้อธรรมเป็นหลักสำĕคัญที่มีหลักพัฒนาจิต ให้ข้อคิดในการดำĕเนินชีวิตและเตือนใจในการ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม ๔ ๕ ๓ พระสงฆ์ ส ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ม.๑/๓ ชาวพุทธควรบำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตาม หลักพระพุทธศาสนา ๔ ๕ ๔ ศาสนาสำĕคัญ ส ๑.๑ ม.๑/๘, ม.๑/๙ ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตน นับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียงและนำĕ แนวทางการปฏิบัติตนมาเป็นแบบอย่าง จะส่ง ผลต่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ๒ ๕ สอบกลางภาค ๒๐ ๕ บทบาทและหน้าที่ของ เยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ เยาวชนที่ดีต้องปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น และทำĕประโยชน์ ต่อสังคมและประเทศชาติ ๕ ๕ ๖ รัฐธรรมนูญกับ การเมืองการปกครอง ของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ม.๑/๓ รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติสำĕคัญเกี่ยวกับ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง สาระสำĕคัญ และการใช้อำĕนาจอธิปไตย ชาวไทยทุกคนต้อง ปฏิบัติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ๗ ๕ โครงสร้าง รายวิชา
  • 5. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 93 หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา (ชั่วโมง) นํ้าหนัก คะแนน ๗ กฎหมายคุ้มครอง สิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคลมีบทบัญญัติ สำĕคัญที่ทำĕให้บุคคลเคารพสิทธิของตนเองและ ผู้อื่น ปฏิบัติต่อกันอย่างเหมาะสม ส่งผลดีต่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ๗ ๕ ๘ วัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓ วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีคุณค่า การศึกษา วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ย่อมทำĕให้ เข้าใจแนวทางการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ๕ ๕ สอบปลายภาค ๓๐ รวมตลอดภาคเรียน ๕๒ ๑๐๐
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 94 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๑ ๑๗ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ปฐมนิเทศ ประวัติและความสำĕคัญของ พระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ สมุดจดบันทึก หนังสือแบบเรียน ๒ ๑๘ พ.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) ประวัติและความสำĕคัญของ พระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ใบงานที่ ๑-๓ ๓ ๒๑ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ๔ ๒๔ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ๕ ๒๕ พ.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทย ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ๖ ๒๘ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทย ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ๗ ๓๑ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พุทธประวัติ ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ๘ ๑ มิ.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) พุทธประวัติ ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ วันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ หยุดวันวิสาขบูชา ๙ ๗ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ใบงานที่ ๔-๗ ๑๐ ๘ มิ.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ๑๑ ๑๑ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ศาสนิกชนตัวอย่าง ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ๑๒ ๑๔ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) ศาสนิกชนตัวอย่าง ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑
  • 7. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 95 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๑๓ ๑๕ มิ.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ บุคคลตัวอย่างที่มีผลงานด้าน ศาสนสัมพันธ์ ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ๑๔ ๑๘ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ชาดก ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๑๑ ๑๕ ๒๑ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพิธี ส ๑.๒ ม.๑/๔, ม.๑/๕ ใบงานที่ ๘-๙ ๑๖ ๒๒ มิ.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม.๑/๔, ม.๑/๕ ๑๗ ๒๕ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม.๑/๔, ม.๑/๕ ๑๘ ๒๘ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม.๑/๔, ม.๑/๕ ๑๙ ๒๙ มิ.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, ม.๑/๘ ๒๐ ๒ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, ม.๑/๘ ๒๑ ๕ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ม.๑/๕, ม.๑/๘ ๒๒ ๖ ก.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ พุทธศาสนสุภาษิต ส ๑.๑ ม.๑/๕ ใบงานที่ ๑๐ ๒๓ ๙ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ส ๑.๑ ม.๑/๖, ม.๑/๗ ใบงานที่ ๑๑ ๒๔ ๑๒ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) การบริหารจิตและเจริญปัญญา ส ๑.๑ ม.๑/๖, ม.๑/๗ ๒๕ ๑๓ ก.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ใบงานที่ ๑๒
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 96 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๒๖ ๑๖ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พระพุทธศาสนากับการพัฒนา ส ๑.๑ ม.๑/๒ ๒๗ ๑๙ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ศาสนาสำĕคัญในประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๙, ม.๑/๑๐ ใบงานที่ ๑๓ ๒๘ ๒๐ ก.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) ศาสนาสำĕคัญในประเทศไทย ส ๑.๑ ม.๑/๙, ม.๑/๑๐ ๒๙ ๒๓ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อ สังคมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ ใบงานที่ ๑๔-๑๖ ๓๐ ๒๖ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี ต่อสังคมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ ๓๑ ๒๗ ก.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี ต่อสังคมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ ๓๒ ๓๐ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี ต่อสังคมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ วันพฤหัสบดีที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันอาสาฬหบูชา วันศุกร์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันเข้าพรรษา ๓๓ ๖ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มี ต่อสังคมและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๔ ๓๔ ๙ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครอง ของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒,ม.๑/๓ ใบงานที่ ๑๗ ๓๕ ๑๐ ส.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ วันจันทร์ที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ๓๖ ๑๖ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
  • 9. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 97 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๓๗ ๑๗ ส.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๓๘ ๒๐ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๓๙ ๒๓ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๔๐ ๒๔ ส.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ๔๑ ๒๗ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ใบงานที่ ๑๘-๒๐ ๔๒ ๓๐ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๓ ๓๑ ส.ค. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๔ ๓ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๕ ๖ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๖ ๗ ก.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๗ ๑๐ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ส ๒.๑ ม.๑/๑ ๔๘ ๑๓ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 98 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๔๙ ๑๔ ก.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓ ๕๐ ๑๗ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓ ๕๑ ๒๐ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓ ๕๒ ๒๑ ก.ย. ๕๕ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑ (ต่อ) วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศเพื่อนบ้าน ส ๒.๑ ม.๑/๓
  • 11. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 99 ผังมโนทัศน์ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๒ ชั่วโมง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศาสนาสำ�คัญ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กฎหมายคุ้มครอง สิทธิของบุคคล วัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน บทบาทและหน้าที่ของ เยาวชนที่มีต่อสังคม และประเทศชาติ รัฐธรรมนูญกับการเมือง การปกครองของไทย ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิต
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง พระพุทธ เวลา ๑๘ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 100 และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย ม. ๑/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว ม. ๑/๓ วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบำĕเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ม. ๑/๔ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด ม. ๑/๑๑ วิเคราะห์การกระทำĕของบุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์และนำĕเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ม. ๑/๔ จัดพิธีกรรมและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง ม. ๑/๕ อธิบายประวัติ ความสำĕคัญและปฏิบัติตนในวันสำĕคัญทางศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนดได้ถูกต้อง ๒. สาระสำ�คัญ การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และวันสำĕคัญทางศาสนา ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญเกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต
  • 13. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 101 ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) ประวัติและความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา ๒) พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง และชาดก ๓) วันสำĕคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน - การสืบค้นข้อมูล - กระบวนการกลุ่ม - การบันทึกข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และวันสำĕคัญทางศาสนา - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 102 ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหา ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ชัดเจน ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผลทุกข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ถูกต้อง มีเหตุผลบางข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ แต่ไม่มี เหตุผลประกอบ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้บ้างเล็กน้อย ๒. ทักษะความ สามารถในการ คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ได้ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ถูกต้องสมบูรณ์ แสดงความคิดเห็นได้ พอสมควร แสดงความคิดเห็น ไม่ถูกต้อง ๓. ทักษะความ สามารถในการ ทำĕงานกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง ตามกำĕหนดเวลา สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา สมาชิกบางคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง สมาชิกส่วนใหญ่ขาด ความกระตือรือร้นต่อ การงาน งานไม่เสร็จ ตามกำĕหนดเวลา ๔. ทักษะความ สามารถในการ สืบค้นและการ บันทึกข้อมูล สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้อย่าง เป็นระบบและถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถสืบค้นข้อมูล ได้ถูกต้องและบันทึก ข้อมูลได้ สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ พอสมควร สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ เล็กน้อย ๕. คุณลักษณะ การมีวินัย ส่งงานครบทุกชิ้น ก่อนเวลาทุกครั้ง ส่งงานครบทุกชิ้น ตามเวลา ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ ๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการค้นคว้า หาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการเรียนรู้ ในห้องเรียน ตั้งใจเรียน แต่ขาด ความพยายาม ไม่ค่อยตั้งใจเรียน ๗. มุ่งมั่นในการ ทำĕงาน เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดีทุกครั้ง เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นบางครั้ง ทำĕงานตามสบาย ๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย ความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ตามหน้าที่ ทำĕงานให้ผู้อื่น เพราะความจำĕเป็น
  • 15. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 103 และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๕ อธิบายพุทธคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว ม. ๑/๖ เหน็คุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบ คุณค่าแท้-คุณค่าเทียมและวิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ ม. ๑/๗ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กำĕหนด ม. ๑/๘ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ๒. สาระสำ�คัญ การศึกษาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง และวันสำĕคัญทางศาสนา ย่อมทำĕให้ได้ข้อคิดสำĕคัญเกี่ยวกับการประพฤติตนและคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ควรนำĕไปปฏิบัติในการดำĕเนินชีวิต ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) พุทธศาสนสุภาษิต ๓) การบริหารจิตและเจริญปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม เวลา ๔ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 104 กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล และการบันทึกข้อมูล ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน - การสืบค้นข้อมูล - กระบวนการกลุ่ม - การบันทึกข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต การบริหารจิต และเจริญปัญญา - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point
  • 17. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 105 ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหา ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ชัดเจน ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผลทุกข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ถูกต้อง มีเหตุผลบางข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ แต่ไม่มี เหตุผลประกอบ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้บ้างเล็กน้อย ๒. ทักษะความ สามารถในการ คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ได้ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ถูกต้องสมบูรณ์ แสดงความคิดเห็นได้ พอสมควร แสดงความคิดเห็น ไม่ถูกต้อง ๓. ทักษะความ สามารถในการ ทำĕงานกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง ตามกำĕหนดเวลา สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา สมาชิกบางคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง สมาชิกส่วนใหญ่ขาด ความกระตือรือร้นต่อ การงาน งานไม่เสร็จ ตามกำĕหนดเวลา ๔. ทักษะความ สามารถในการ สืบค้นและการ บันทึกข้อมูล สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้อย่าง เป็นระบบและถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถสืบค้นข้อมูล ได้ถูกต้องและบันทึก ข้อมูลได้ สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ พอสมควร สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ เล็กน้อย ๕. คุณลักษณะ การมีวินัย ส่งงานครบทุกชิ้น ก่อนเวลาทุกครั้ง ส่งงานครบทุกชิ้นตาม เวลา ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ ๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการค้นคว้า หาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการเรียนรู้ ในห้องเรียน ตั้งใจเรียนแต่ขาด ความพยายาม ไม่ค่อยตั้งใจเรียน ๗. มุ่งมั่นในการ ทำĕงาน เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดีทุกครั้ง เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นบางครั้ง ทำĕงานตามสบาย ๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย ความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ตามหน้าที่ ทำĕงานให้ผู้อื่น เพราะความจำĕเป็น
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง พระสงฆ์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 106 และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย ม. ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ม .๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด ม. ๑/๑ บำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ ม. ๑/๒ อธิบายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติและปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ ศาสนาที่ตนนับถือ ม. ๑/๓ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ๒. สาระสำ�คัญ ชาวพุทธควรบำĕเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักพระพุทธศาสนา ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ ๒) พระพุทธศาสนากับการพัฒนา ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล เวลา ๔ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
  • 19. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 107 ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน - การสืบค้นข้อมูล - กระบวนการกลุ่ม - การบันทึกข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่องหน้าที่และมารยาทชาวพุทธและพระพุทธศาสนากับการพัฒนา - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหา ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ชัดเจน ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผลทุกข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ถูกต้อง มีเหตุผลบางข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้แต่ไม่มี เหตุผลประกอบ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้บ้างเล็กน้อย
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 108 ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๒. ทักษะความ สามารถในการ คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ได้ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ถูกต้องสมบูรณ์ แสดงความคิดเห็นได้ พอสมควร แสดงความคิดเห็น ไม่ถูกต้อง ๓. ทักษะความ สามารถในการ ทำĕงานกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง ตามกำĕหนดเวลา สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา สมาชิกบางคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง สมาชิกส่วนใหญ่ขาด ความกระตือรือร้นต่อ การงาน งานไม่เสร็จ ตามกำĕหนดเวลา ๔. ทักษะความ สามารถในการ สืบค้นและการ บันทึกข้อมูล สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้อย่าง เป็นระบบและถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถสืบค้นข้อมูล ได้ถูกต้องและบันทึก ข้อมูลได้ สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ พอสมควร สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ เล็กน้อย ๕. คุณลักษณะ การมีวินัย ส่งงานครบทุกชิ้น ก่อนเวลาทุกครั้ง ส่งงานครบทุกชิ้น ตามเวลา ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ ๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการค้นคว้า หาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการเรียนรู้ ในห้องเรียน ตั้งใจเรียน แต่ขาด ความพยายาม ไม่ค่อยตั้งใจเรียน ๗. มุ่งมั่นในการ ทำĕงาน เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดีทุกครั้ง เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นบางครั้ง ทำĕงานตามสบาย ๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ตามหน้าที่ ทำĕงานให้ผู้อื่น เพราะความจำĕเป็น
  • 21. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง ศาสนาสำ�คัญ เวลา ๒ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 109 และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๙ วิเคราะห์เหตุผลความจำĕเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ม. ๑/๑๐ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นตามสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ๒. สาระสำ�คัญ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการดำĕรงชีวิตแบบพอเพียงและนำĕแนวทางการปฏิบัติตน มาเป็นแบบอย่าง จะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) ศาสนาคริสต์ ๒) ศาสนาอิสลาม ๓) ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๔) ศาสนาซิกข์ ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำĕงาน มีจิตสาธารณะ
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 110 - การสืบค้นข้อมูล - กระบวนการกลุ่ม - การบันทึกข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องศาสนาต่างๆ ในประเทศไทยแล้วร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คำĕถาม * กำĕเนิดของศาสนาต่างๆ * ประวัติ ความเป็นมา ความสำĕคัญ ของหลักคำĕสอนและพิธีกรรมของแต่ละศาสนา - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหา ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ชัดเจน ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผลทุกข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ถูกต้อง มีเหตุผลบางข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้แต่ไม่มี เหตุผลประกอบ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้บ้างเล็กน้อย
  • 23. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 111 ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๒. ทักษะความ สามารถในการ คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ได้ถูกต้องสมบูรณ์มี เหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ถูกต้องสมบูรณ์ แสดงความคิดเห็นได้ พอสมควร แสดงความคิดเห็น ไม่ถูกต้อง ๓. ทักษะความ สามารถในการ ทำĕงานกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง ตามกำĕหนดเวลา สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา สมาชิกบางคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง สมาชิกส่วนใหญ่ขาด ความกระตือรือร้นต่อ การงาน งานไม่เสร็จ ตามกำĕหนดเวลา ๔. ทักษะความ สามารถในการ สืบค้นและการ บันทึกข้อมูล สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้อย่าง เป็นระบบและถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถสืบค้นข้อมูล ได้ถูกต้องและบันทึก ข้อมูลได้ สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ พอสมควร สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้ เล็กน้อย ๕. คุณลักษณะ การมีวินัย ส่งงานครบทุกชิ้น ก่อนเวลาทุกครั้ง ส่งงานครบทุกชิ้น ตามเวลา ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ ๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการค้นคว้า หาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการเรียนรู้ ในห้องเรียน ตั้งใจเรียน แต่ขาด ความพยายาม ไม่ค่อยตั้งใจเรียน ๗. มุ่งมั่นในการ ทำĕงาน เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดีทุกครั้ง เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นบางครั้ง ทำĕงานตามสบาย ๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย ความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ตามหน้าที่ ทำĕงานให้ผู้อื่น เพราะความจำĕเป็น
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำĕรงรักษาประเพณี 112 และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๒ ระบุความสามารถของตนเองในการทำĕประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ม. ๑/๔ แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น ๒. สาระสำ�คัญ พลเมืองดีของสังคมและประเทศชาตินั้นจะต้องรู้จักเคารพสิทธิของตนและผู้อื่น ทำĕประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ ซึ่งจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ ๒) การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ๓) การปฏิบัติตนและผลที่ได้รับในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน กระบวนการปฏิบัติ การอภิปราย กระบวนการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน มีจิตสาธารณะ ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน - การสืบค้นข้อมูล หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง บทบาทและหน้าที่ของเยาวชน เวลา ๕ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
  • 25. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 113 - กระบวนการกลุ่ม - การทำĕงานข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องกฎหมายและการดำĕเนินชีวิต แล้วร่วมกันอภิปราย โดยครูใช้คำĕถาม * บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อประเทศชาติ * การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น * การปฏิบัติและผลที่ได้รับในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหา ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ชัดเจน ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผลทุกข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้ถูกต้อง มีเหตุผลบางข้อ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้แต่ไม่มี เหตุผลประกอบ ตอบคำĕถามและ อธิบายได้บ้างเล็กน้อย ๒. ทักษะความ สามารถในการ คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ได้ถูกต้องสมบูรณ์ มีเหตุผล แสดงความคิดเห็นได้ ถูกต้องสมบูรณ์ แสดงความคิดเห็นได้ พอสมควร แสดงความคิดเห็น ไม่ถูกต้อง
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 114 ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๓. ทักษะความ สามารถในการ ทำĕงานกลุ่ม สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง ตามกำĕหนดเวลา สมาชิกทุกคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จถูกต้อง แต่ช้ากว่ากำĕหนดเวลา สมาชิกบางคนมีความ กระตือรือร้นร่วมกัน ทำĕงานสำĕเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง สมาชิกส่วนใหญ่ขาด ความกระตือรือร้นต่อ การงาน งานไม่เสร็จ ตามกำĕหนดเวลา ๔. ทักษะความ สามารถในการ สืบค้นและการ บันทึกข้อมูล สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูลได้อย่าง เป็นระบบและถูกต้อง สมบูรณ์ สามารถสืบค้นข้อมูล ได้ถูกต้องและบันทึก ข้อมูลได้ สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูล ได้พอสมควร สามารถสืบค้นและ บันทึกข้อมูล ได้เล็กน้อย ๕. คุณลักษณะ การมีวินัย ส่งงานครบทุกชิ้น ก่อนเวลาทุกครั้ง ส่งงานครบทุกชิ้นตาม เวลา ส่งงานช้าเป็นบางครั้ง ส่งงานช้าเป็นประจำĕ ๖. ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการค้นคว้า หาความรู้จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตั้งใจเรียน มีความ พยายามในการเรียนรู้ ในห้องเรียน ตั้งใจเรียนแต่ ขาดความพยายาม ไม่ค่อยตั้งใจเรียน ๗. มุ่งมั่นในการ ทำĕงาน เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดีทุกครั้ง เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เอาใจใส่และรับผิดชอบ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นบางครั้ง ทำĕงานตามสบาย ๘. มีจิตสาธารณะ อาสาทำĕงานให้ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่นด้วย ความเต็มใจ ทำĕงานให้ผู้อื่น ตามหน้าที่ ทำĕงานให้ผู้อื่นเพราะ ความจำĕเป็น
  • 27. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำĕรงรักษาไว้ซึ่ง 115 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๑ อธิบายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสำĕคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน โดยสังเขป ม. ๑/๒ วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอำĕนาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน ม. ๑/๓ ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ๒. สาระสำ�คัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีบทบัญญัติสำĕคัญเกี่ยวกับหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง สาระสำĕคัญและ การใช้อำĕนาจอธิปไตย ชาวไทยทุกคนต้องปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒) อำĕนาจอธิปไตย ๓) แนวทางการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน กระบวนการปฏิบัติ การอภิปราย กระบวนการทำĕงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึกข้อมูล ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครอง เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 116 - การสืบค้นข้อมูล - กระบวนการกลุ่ม - การทำĕงานข้อมูล ๗. การวัดผลประเมินผล - ทำĕแบบทดสอบ - ทำĕใบงาน - การทำĕงานกลุ่ม ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ - นำĕเข้าสู่บทเรียน - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และอำĕนาจอธิปไตย แล้วร่วมกันอภิปราย - นำĕเสนอผลงาน ครูซักถามและอธิบายเพิ่มเติม - จดบันทึก ๙. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือแบบเรียน - อินเทอร์เน็ต - Power Point ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. หลักการและ เจตนารมณ์ เขียนอธิบายหลักการ และเจตนารมณ์ ได้ใจความถูกต้อง ครบถ้วนทุกประเด็น เขียนอธิบายหลักการ และเจตนารมณ์ ได้ใจความถูกต้อง ครบถ้วนเป็น ส่วนใหญ่ เขียนอธิบายหลักการ และเจตนารมณ์ ได้ถูกต้อง เป็นบางส่วน เขียนอธิบายหลักการ และเจตนารมณ์ ถูกต้องเป็นส่วนน้อย ๒. โครงสร้าง เขียนอธิบาย โครงสร้างได้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ เขียนอธิบาย โครงสร้างได้ถูกต้อง เกือบครบถ้วน เขียนอธิบาย โครงสร้างได้ถูกต้อง เป็นบางส่วน เขียนอธิบาย โครงสร้างถูกต้อง เป็นส่วนน้อย
  • 29. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 117 ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๓. สาระสำĕคัญ สรุปสาระสำĕคัญ ได้ถูกต้อง จำĕนวน ๗-๘ ประเด็น สรุปสาระสำĕคัญ ได้ถูกต้อง จำĕนวน ๕-๖ ประเด็น สรุปสาระสำĕคัญ ได้ถูกต้อง จำĕนวน ๓-๔ ประเด็น สรุปสาระสำĕคัญ ได้ถูกต้อง จำĕนวน ๑-๒ ประเด็น ๔. การถ่วงดุลอำĕนาจ อธิปไตย อธิบายเชื่อมโยง การถ่วงดุลอำĕนาจ จากฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และ ฝ่ายตุลาการได้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกประเด็น ๓ ฝ่าย อธิบายเชื่อมโยง การถ่วงดุลอำĕนาจ จากฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และ ฝ่ายตุลาการได้ถูกต้อง เกือบทุกประเด็นทั้ง ๓ ฝ่าย อธิบายเชื่อมโยง การถ่วงดุลอำĕนาจ อธิปไตยได้ถูกต้อง ทุกประเด็นจำĕนวน ๒ ฝ่าย อธิบายเชื่อมโยง การถ่วงดุลอำĕนาจ อธิปไตยได้ถูกต้อง ทุกประเด็นจำĕนวน ๑ ฝ่าย
  • 30. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม มาตรฐานการเรยีนรู้ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิตัตินตามหน้าทขี่องการเปน็พลเมอืงดี มคี่านยิมทดี่งีามและธĕำรงรกัษาประเพณี 118 และวัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๑/๑ การปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล ๒. สาระสำ�คัญ กฎหมายคุ้มครองสิทธิมีบทบัญญัติสำĕคัญที่ทำĕให้บุคคลเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ปฏิบัติต่อกันอย่าง เหมาะสม ส่งผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๓. สาระการเรียนรู้ ๑) กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล - กฎหมายคุ้มครองเด็ก - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค - กฎหมายลิขสิทธิ์ ๒) ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การปฏิบัติงาน การทำĕงานกลุ่ม ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำĕงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล เวลา ๗ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๑๑๐๑