SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
1
กุญชรวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๕. กุญชรวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่มีช้างเป็นพาหนะ
(พระมหาโมคคัลลานเถระถามว่า)
[๓๑] เทพธิดาผู้มีดวงตางดงามคล้ายกลีบปทุม
ช้างพาหนะอันประเสริฐของเธอประดับประดาด้วยแก้วนานาประการน่าพอใจ
มีพลัง แคล่วคล่องว่องไว ท่องเที่ยวไปในอากาศได้
[๓๒] กระพองมีสีคล้ายสีดอกปทุม
ประดับด้วยพวงดอกปทุมและพวงดอกอุบลทิพย์ งามรุ่งเรือง
ตามตัวโปรยปรายด้วยเกสรปทุม ประดับด้วยพวงปทุมทองอย่างสง่างาม
[๓๓] พญาช้างเยื้องย่างไปได้อย่างราบเรียบ
ไม่สั่นสะเทือนตลอดทางที่เรียงรายด้วยดอกปทุมทองขนาดใหญ่
มีกลีบปทุมประดับประดาอยู่
[๓๔] เมื่อพญาช้างเยื้องย่างไป
กระดิ่งทองคาก็ดังประสานเสียงน่ารื่นรมย์ กังวานไพเราะจับใจ
ฟังคล้ายกับเสียงดนตรีเครื่องห้า (ดนตรีเครื่องห้า คือ อาตตะ (โทน) วิตตะ
(ตะโพน) อาตตวิตตะ (บัณเฑาะว์) ฆนะ (กังสดาล) สุสิระ (ปี่ สังข์))
[๓๕] เธอทรงภูษาสะอาดสะอ้าน ประดับองค์อยู่บนคอช้าง
มีผิวพรรณงามล้าหมู่นางอัปสรจานวนมาก
[๓๖] นี้เป็นผลของทาน ศีล หรือการกราบไหว้ของเธอ
อาตมาถามเธอแล้ว โปรดบอกผลกรรมนั้นเถิด
[๓๗] เทพธิดานั้นดีใจที่พระมหาโมคคัลลานเถระถาม
จึงตอบปัญหาผลกรรมตามที่พระเถระถามว่า
[๓๘] ดิฉันได้เห็นพระเถระผู้สมบูรณ์ด้วยคุณ (คุณ หมายถึง
สาวกบารมีญาณ) ผู้ได้ฌาน ยินดีในฌาน สงบ ได้ถวายอาสนะที่ปูด้วยผ้า
โปรยปรายดอกไม้ไว้
[๓๙] ยังมีดอกปทุมเหลืออยู่อีกครึ่งหนึ่ง
ดิฉันเลื่อมใสแล้วจึงโปรยกลีบปทุมรอบๆ อาสนะด้วยมือของตน
[๔๐] ผลแห่งกุศลกรรมของดิฉันนั้นเป็ นเช่นนี้ ดิฉันจึงเป็ นที่สักการะ
เคารพ นอบน้อม ของมวลเทพ
[๔๑] บุคคลผู้เลื่อมใส ถวายอาสนะ แด่ผู้มีปกติประพฤติพรหมจรรย์
หลุดพ้นโดยชอบ สงบแล้ว พึงบันเทิงใจเช่นเดียวกับดิฉัน
2
[๔๒] เพราะเหตุนั้นแล ท่านผู้มุ่งประโยชน์ตน หวังผลมาก
ควรถวายอาสนะ แด่ท่านผู้ครองร่างชาติสุดท้าย (พระอรหันต์)
กุญชรวิมานที่ ๕ จบ
--------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปิฐวรรคที่ ๑
๕. กุญชรวิมาน
อรรถกถากุญชรวิมาน
กุญชรวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร.
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ มหาเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน
กรุงราชคฤห์. ครั้งนั้น วันหนึ่ง งานนักขัตฤกษ์กึกก้องไปในกรุงราชคฤห์
ชาวกรุงช่วยกันทาความสะอาดถนน เกลี่ยทราย โรยดอกไม้ครบ ๕
อย่างทั้งข้าวตอก ตั้งต้นกล้วยและหม้อน้าไว้ทุกๆ ประตูเรือน
ยกธงแผ่นผ้าเป็ นต้นซึ่งงดงามด้วยสีต่างๆ ตามควรแก่สมบัติ
ทุกคนตกแต่งประดับกายพอสมควรแก่สมบัติของตนๆ
เล่นการเล่นงานนักขัตฤกษ์ทั่ว ทั้งกรุงได้ประดับประดาตกแต่งดังเทพนคร.
ครั้งนั้น
พระเจ้าพิมพิสารมหาราชเสด็จออกจากพระราชนิเวศน์ของพระองค์
ทรงเลียบพระนครด้วยราชบริพารอย่างใหญ่ด้วยสิริโสภาคย์มโหฬารตามพระราช
ประเพณีและเพื่อรักษาน้าใจของมหาชน
สมัยนั้น กุลสตรีผู้หนึ่งเป็ นชาวกรุงราชคฤห์
เห็นวิภวสมบัติสิริโสภาคย์และราชานุภาพนั้นของพระราชา
เกิดอัศจรรย์จิตไม่เคยมี จึงถามเหล่าท่านที่สมมติกันว่าบัณฑิตว่า
วิภวสมบัติเสมือนเทวฤทธิ์นี้ พระราชาทรงได้มาด้วยกรรมอะไรหนอ.
บัณฑิตสมมติเหล่านั้นจึงกล่าวแก่นางว่า
ดูราแม่มหาจาเริญ ธรรมดาบุญกรรมก็เป็นเสมือนจินดามณี
เป็นเสมือนต้นกัลปพฤกษ์ เมื่อเขตสมบัติ [พระทักขิไณยบุคคล] และเจตนาสมบัติ
[ฝ่ายทายกทายิกา] มีอยู่ คนทั้งหลายปรารถนาแล้ว ทาบุญกรรมใดๆ
บุญกรรมนั้นๆ ก็ให้สาเร็จผลได้ทั้งนั้น.
อนึ่งเล่า ความเป็ นผู้มีตระกูลสูงมีได้ก็ด้วยอาสนทาน ถวายอาสนะ.
การได้สมบัติคือกาลังมีได้ก็ด้วยอันนทาน ถวายข้าว.
การได้สมบัติคือวรรณะก็มีได้ด้วยวัตถุทาน ถวายผ้า.
การได้สุขวิเศษก็มีได้ด้วยยานทาน ถวายยานพาหนะ.
การได้สมบัติคือจักษุก็มีได้ด้วยทีปทาน ถวายประทีปโคมไฟ.
การได้สมบัติทุกอย่าง ก็มีได้ด้วยอาวาสทาน ถวายที่อยู่.
3
นางฟังคานั้นแล้ว ก็ตั้งจิตในเทวสมบัตินั้นว่า
เทวสมบัติที่ท่าจะโอฬารกว่านี้ แล้วเกิดอุตสาหะยิ่งยวดในอันจะทาบุญ.
บิดามารดาส่งผ้าคู่ใหม่ ตั่งใหม่ ดอกปทุมกา ๑ และเนยใส น้าผึ้ง
น้าตาลกรวด ข้าวสารและนมสด เพื่อให้นางบริโภคใช้สอย.
นางเห็นสิ่งเหล่านั้นก็ดีใจว่าเราประสงค์จะถวายทาน และเราก็ได้ไทยธรรมนี้แล้ว
ในวันที่สองก็จัดทานปรุงมธุปายาสน้าน้อย
ตกแต่งของเคี้ยวของกินแม้อย่างอื่นเป็ นอันมาก
ให้เป็นบริวารของมธุปายาสน้าน้อยนั้น แล้วประพรมของหอมที่โรงทาน
จัดอาสนะไว้เหนือดอกปทุมทั้งหลายซึ่งงดงามด้วยกลีบ
ช่อและเกสรของดอกปทุมที่แย้มบานแล้ว ปูลาดด้วยผ้าขาวใหม่ๆ วางดอกปทุม ๔
ดอกและพุ่มดอกไม้เหนือเท้าทั้ง ๔ ของอาสนะ. ดาดเพดานไว้ข้างบนอาสนะ
ห้อยพวงดอกไม้และพวงระย้า รอบๆ อาสนะก็ลาดพื้นหมดสิ้น
ด้วยกลีบปทุมที่มีเกสร คิดว่า เราจักบูชาพระทักขิไณยบุคคลที่มาถึงแล้ว
จึงตั้งพานเต็มด้วยดอกไม้สด ณ ที่สมควรส่วนหนึ่ง.
คราวนั้น นางจัดเครื่องอุปกรณ์ทานเสร็จแล้ว ก็อาบน้าดาเกล้า
นุ่งผ้าสะอาด กาหนดคอยเวลา จึงสั่งหญิงรับใช้คนหนึ่งว่า แม่เอ๊ย
เจ้าจงไปหาพระทักขิไณยเช่นนั้นมาให้ข้านะ.
สมัยนั้น
ท่านพระสารีบุตรเที่ยวบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์เดินไประหว่างถนน
ดังจะเก็บถุงทรัพย์พันหนึ่ง. ขณะนั้น หญิงรับใช้นั้นก็ไหว้พระเถระแล้วกล่าวว่า
ท่านผู้เจริญ ขอท่านโปรดให้บาตรของท่านแก่ดิฉันเถิดเจ้าข้า.
แต่พระเถระกล่าวว่า เรามาที่นี้ ก็เพื่ออนุเคราะห์อุบาสิกาผู้หนึ่งนะ.
พระเถระก็ส่งบาตรให้แก่หญิงรับใช้นั้น. นางก็นิมนต์พระเถระให้เข้าไปยังเรือน.
ครั้งนั้น สตรีผู้นั้นก็ออกไปต้อนรับพระเถระ ชี้อาสนะแล้วกล่าวว่า
โปรดนั่งเถิดเจ้าข้า นี้อาสนะจัดไว้แล้ว. เมื่อพระเถระนั่งเหนืออาสนะนั้นแล้ว
ก็บูชาพระเถระด้วยกลีบปทุมที่มีเกสร โรยรอบๆ อาสนะ
ไหว้ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ เลี้ยงดูด้วยมธุปายาสน้าน้อย ผสมด้วยเนยใส
น้าผึ้งและน้าตาลกรวด และกาลังเลี้ยงดู ก็ทาความปรารถนาว่า
ด้วยอานุภาพบุญของดิฉันนี้
ขอจงมีสมบัติทิพย์ที่งดงามด้วยบัลลังก์เรือนยอดเหนือกุญชรอันเป็นทิพย์
ในความเป็ นไปทุกอย่าง ขอจงอย่าขาดดอกปทุมเลย.
ครั้นพระเถระฉันเสร็จแล้ว นางจึงล้างบาตร บรรจุเนยใส
น้าผึ้งและน้าตาลกรวดไว้เต็มอีก จัดผ้าที่ปูลาดบนตั่งทาเป็ นผ้ารอง [บาตร]
แล้ววางไว้ในมือพระเถระ.
ครั้นพระเถระทาอนุโมทนา กลับไปแล้ว จึงสั่งบุรุษ ๒ คนว่า
4
เจ้าจงนาบาตรในมือพระเถระและบัลลังก์นี้ไปวิหารมอบถวายพระเถระแล้ว
จงกลับมา.
บุรุษทั้ง ๒ นั้นก็กระทาอย่างนั้น.
ต่อมา สตรีผู้นั้น [ตาย] ก็ไปบังเกิดในวิมานทองสูงร้อยโยชน์ ณ
ภพดาวดึงส์ มีอัปสรพันหนึ่งเป็ นบริวาร. และช้างตัวประเสริฐสูงห้าโยชน์
ประดับด้วยมาลัยดอกปทุม งดงามด้วยกลีบ ช่อและเกสรแห่งดอกปทุมโดยรอบ
พิศดูปลื้มใจ มีสัมผัสอันสบาย
ประดับด้วยอาภรณ์ทองรุ่งเรืองด้วยรัศมีข่ายประกอบรัตนะหลากๆ กัน
ก็บังเกิดด้วยอานาจความปรารถนาของนาง. บัลลังก์ทองโยชน์หนึ่ง
ประกอบด้วยความงามดียิ่งตามที่กล่าวแล้ว ก็บังเกิดเหนือช้างนั้น.
นางกาลังเสวยทิพยสมบัติก็ขึ้นบัลลังก์ที่วิจิตรด้วยรัตนะเบื้องบนกุญชรวิมานนั้นใ
นระหว่างๆ ไปยังสวนนันทนวัน ด้วยอานุภาพเทวดาอันยิ่งใหญ่.
ครั้งนั้นเป็ นวันมหรสพวันหนึ่ง
เมื่อเทวดาทั้งหลายพากันไปสวนนันทนวัน
เพื่อเล่นการเล่นในสวนตามอานุภาพทิพย์ของตน.
คาดังกล่าวมาเป็นต้นทั้งหมด
ก็เหมือนคาที่มาในอรรถกถาปฐมปีฐวิมาน.
เพราะฉะนั้นพึงทราบตามนัยที่กล่าวมาแล้วในอรรถกถานั้นนั่นแล.
ส่วนในกุญชรวิมานนี้ พระเถระถามว่า
ดูก่อนเทพธิดาผู้มีดวงตากลมดังกลีบปทุม มีผิวพรรณะดังปทุม กุญชร
พาหะเครื่องขับขี่อย่างดีของท่าน สาเร็จด้วยรัตนะต่างๆ น่ารัก
มีกาลังพรั่งพร้อมด้วยความเร็ว [ว่องไว] ท่องไปในอากาศ
ช้างทรงความรุ่งเรืองด้วยดอกปทุม และอุบล มีเนื้อตัวเกลื่อนกล่นด้วยเกสรปทุม
สวมพวงมาลัยดอกปทุมทอง ก็เดินทางที่เรียงรายด้วยดอกปทุม
ประดับด้วยกลีบปทุมอยู่ ไม่กระเทือนวิมาน ย่างก้าวไปพอดีๆ [ไม่เร็วนัก
ไม่ช้านัก] เมื่อช้างกาลังย่างก้าว กระดิ่งทองก็มีเสียงไพเราะน่ารื่นรมย์
เสียงกังวานของกระดิ่งเหล่านั้น ได้ยินดังดนตรีเครื่องห้า.
ท่านมีพัสตราภรณ์สะอาด ประดับองค์แล้วอยู่เหนือคชาธาร
รุ่งโรจน์ล้าอัปสรหมู่ใหญ่ด้วยวรรณะ.
นี้เป็ นผลของทาน หรือของศีล หรือของอัญชลีกรรมประนมมือ
ท่านถูกถามแล้ว โปรดบอกกรรมนั้นแก่อาตมาเถิด.
เทวดาองค์นั้นถูกพระเถระถามอย่างนี้แล้ว จึงตอบปัญหา.
เพื่อแสดงความข้อนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์ [ผู้ร่วมทาสังคายนา]
ทั้งหลายจึงกล่าวคาถาไว้ดังนี้ว่า
เทวดาองค์นั้นถูกท่านพระโมคคัลลานะถามแล้วดีใจ
5
จึงพยากรณ์ปัญหาด้วยอาการที่ท่านถามถึงกรรมที่มีผลอย่างนี้.
ความของคาถานั้น กล่าวมาแล้วในหนหลังนั่นแล.
คาถาเทวดากล่าวไว้ดังนี้ว่า
ดิฉันเห็นพระเถระผู้พร้อมด้วยคุณ เข้าฌาน ยินดีในฌานสงบ
ได้ถวายอาสนะที่ปูลาดด้วยผ้าโรยด้วยดอกไม้. ดิฉันเลื่อมใสแล้วโปรยดอกปทุมร
อบๆ อาสนะครึ่งหนึ่ง. อีกครึ่งหนึ่งเอาโปรยลง [ดังฝน] ด้วยมือตนเอง.
ผลเช่นนี้เป็นผลแห่งกุศลกรรมนั้นของดิฉัน
ดิฉันอันทวยเทพสักการะเคารพนบนอบแล้ว. ผู้ใดแลเลื่อมใสแล้ว
ถวายอาสนะแก่ท่านผู้เป็นพรหมจารี ผู้หลุดพ้นโดยชอบ ผู้สงบ
ผู้นั้นก็บันเทิงเหมือนอย่างดิฉัน.
เพราะฉะนั้นแล ผู้รักตน หวังความเป็นใหญ่
ก็ควรถวายอาสนะแด่ท่านผู้ทรงเรือนร่างครั้งสุดท้าย [พระอรหันต์].
เทวดาแสดงว่า เพราะเหตุที่ดิฉันยินดีด้วยทิพยสมบัติอย่างนี้
เพราะถวายอาสนะแก่พระอรหันต์ ฉะนั้น
แม้คนอื่นผู้ปรารถนาความเจริญยิ่งแก่ตนก็พึงถวายอาสนะแก่พระอรหันต์ผู้ตั้งอยู่
ในเรือนร่างอันสุดท้าย บุญเช่นนี้ [ของคนอื่น] จึงไม่มี.
คาที่เหลือก็เช่นเดียวกับคาที่กล่าวมาแล้วทั้งนั้นแล.
จบอรรถกถากุญชรวิมาน
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๕. กุญชรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

Similar to ๕. กุญชรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (20)

๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๘. ตติยนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘. ตติยนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘. ตติยนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘. ตติยนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๔๒. อโลมวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๒. อโลมวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๔๒. อโลมวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๒. อโลมวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๖. สุทินนาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๖. สุทินนาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๒๖. สุทินนาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๖. สุทินนาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๓๓. คุตติลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 

More from maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

๕. กุญชรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 กุญชรวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๕. กุญชรวิมาน ว่าด้วยวิมานที่มีช้างเป็นพาหนะ (พระมหาโมคคัลลานเถระถามว่า) [๓๑] เทพธิดาผู้มีดวงตางดงามคล้ายกลีบปทุม ช้างพาหนะอันประเสริฐของเธอประดับประดาด้วยแก้วนานาประการน่าพอใจ มีพลัง แคล่วคล่องว่องไว ท่องเที่ยวไปในอากาศได้ [๓๒] กระพองมีสีคล้ายสีดอกปทุม ประดับด้วยพวงดอกปทุมและพวงดอกอุบลทิพย์ งามรุ่งเรือง ตามตัวโปรยปรายด้วยเกสรปทุม ประดับด้วยพวงปทุมทองอย่างสง่างาม [๓๓] พญาช้างเยื้องย่างไปได้อย่างราบเรียบ ไม่สั่นสะเทือนตลอดทางที่เรียงรายด้วยดอกปทุมทองขนาดใหญ่ มีกลีบปทุมประดับประดาอยู่ [๓๔] เมื่อพญาช้างเยื้องย่างไป กระดิ่งทองคาก็ดังประสานเสียงน่ารื่นรมย์ กังวานไพเราะจับใจ ฟังคล้ายกับเสียงดนตรีเครื่องห้า (ดนตรีเครื่องห้า คือ อาตตะ (โทน) วิตตะ (ตะโพน) อาตตวิตตะ (บัณเฑาะว์) ฆนะ (กังสดาล) สุสิระ (ปี่ สังข์)) [๓๕] เธอทรงภูษาสะอาดสะอ้าน ประดับองค์อยู่บนคอช้าง มีผิวพรรณงามล้าหมู่นางอัปสรจานวนมาก [๓๖] นี้เป็นผลของทาน ศีล หรือการกราบไหว้ของเธอ อาตมาถามเธอแล้ว โปรดบอกผลกรรมนั้นเถิด [๓๗] เทพธิดานั้นดีใจที่พระมหาโมคคัลลานเถระถาม จึงตอบปัญหาผลกรรมตามที่พระเถระถามว่า [๓๘] ดิฉันได้เห็นพระเถระผู้สมบูรณ์ด้วยคุณ (คุณ หมายถึง สาวกบารมีญาณ) ผู้ได้ฌาน ยินดีในฌาน สงบ ได้ถวายอาสนะที่ปูด้วยผ้า โปรยปรายดอกไม้ไว้ [๓๙] ยังมีดอกปทุมเหลืออยู่อีกครึ่งหนึ่ง ดิฉันเลื่อมใสแล้วจึงโปรยกลีบปทุมรอบๆ อาสนะด้วยมือของตน [๔๐] ผลแห่งกุศลกรรมของดิฉันนั้นเป็ นเช่นนี้ ดิฉันจึงเป็ นที่สักการะ เคารพ นอบน้อม ของมวลเทพ [๔๑] บุคคลผู้เลื่อมใส ถวายอาสนะ แด่ผู้มีปกติประพฤติพรหมจรรย์ หลุดพ้นโดยชอบ สงบแล้ว พึงบันเทิงใจเช่นเดียวกับดิฉัน
  • 2. 2 [๔๒] เพราะเหตุนั้นแล ท่านผู้มุ่งประโยชน์ตน หวังผลมาก ควรถวายอาสนะ แด่ท่านผู้ครองร่างชาติสุดท้าย (พระอรหันต์) กุญชรวิมานที่ ๕ จบ -------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปิฐวรรคที่ ๑ ๕. กุญชรวิมาน อรรถกถากุญชรวิมาน กุญชรวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร. พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ มหาเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน กรุงราชคฤห์. ครั้งนั้น วันหนึ่ง งานนักขัตฤกษ์กึกก้องไปในกรุงราชคฤห์ ชาวกรุงช่วยกันทาความสะอาดถนน เกลี่ยทราย โรยดอกไม้ครบ ๕ อย่างทั้งข้าวตอก ตั้งต้นกล้วยและหม้อน้าไว้ทุกๆ ประตูเรือน ยกธงแผ่นผ้าเป็ นต้นซึ่งงดงามด้วยสีต่างๆ ตามควรแก่สมบัติ ทุกคนตกแต่งประดับกายพอสมควรแก่สมบัติของตนๆ เล่นการเล่นงานนักขัตฤกษ์ทั่ว ทั้งกรุงได้ประดับประดาตกแต่งดังเทพนคร. ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารมหาราชเสด็จออกจากพระราชนิเวศน์ของพระองค์ ทรงเลียบพระนครด้วยราชบริพารอย่างใหญ่ด้วยสิริโสภาคย์มโหฬารตามพระราช ประเพณีและเพื่อรักษาน้าใจของมหาชน สมัยนั้น กุลสตรีผู้หนึ่งเป็ นชาวกรุงราชคฤห์ เห็นวิภวสมบัติสิริโสภาคย์และราชานุภาพนั้นของพระราชา เกิดอัศจรรย์จิตไม่เคยมี จึงถามเหล่าท่านที่สมมติกันว่าบัณฑิตว่า วิภวสมบัติเสมือนเทวฤทธิ์นี้ พระราชาทรงได้มาด้วยกรรมอะไรหนอ. บัณฑิตสมมติเหล่านั้นจึงกล่าวแก่นางว่า ดูราแม่มหาจาเริญ ธรรมดาบุญกรรมก็เป็นเสมือนจินดามณี เป็นเสมือนต้นกัลปพฤกษ์ เมื่อเขตสมบัติ [พระทักขิไณยบุคคล] และเจตนาสมบัติ [ฝ่ายทายกทายิกา] มีอยู่ คนทั้งหลายปรารถนาแล้ว ทาบุญกรรมใดๆ บุญกรรมนั้นๆ ก็ให้สาเร็จผลได้ทั้งนั้น. อนึ่งเล่า ความเป็ นผู้มีตระกูลสูงมีได้ก็ด้วยอาสนทาน ถวายอาสนะ. การได้สมบัติคือกาลังมีได้ก็ด้วยอันนทาน ถวายข้าว. การได้สมบัติคือวรรณะก็มีได้ด้วยวัตถุทาน ถวายผ้า. การได้สุขวิเศษก็มีได้ด้วยยานทาน ถวายยานพาหนะ. การได้สมบัติคือจักษุก็มีได้ด้วยทีปทาน ถวายประทีปโคมไฟ. การได้สมบัติทุกอย่าง ก็มีได้ด้วยอาวาสทาน ถวายที่อยู่.
  • 3. 3 นางฟังคานั้นแล้ว ก็ตั้งจิตในเทวสมบัตินั้นว่า เทวสมบัติที่ท่าจะโอฬารกว่านี้ แล้วเกิดอุตสาหะยิ่งยวดในอันจะทาบุญ. บิดามารดาส่งผ้าคู่ใหม่ ตั่งใหม่ ดอกปทุมกา ๑ และเนยใส น้าผึ้ง น้าตาลกรวด ข้าวสารและนมสด เพื่อให้นางบริโภคใช้สอย. นางเห็นสิ่งเหล่านั้นก็ดีใจว่าเราประสงค์จะถวายทาน และเราก็ได้ไทยธรรมนี้แล้ว ในวันที่สองก็จัดทานปรุงมธุปายาสน้าน้อย ตกแต่งของเคี้ยวของกินแม้อย่างอื่นเป็ นอันมาก ให้เป็นบริวารของมธุปายาสน้าน้อยนั้น แล้วประพรมของหอมที่โรงทาน จัดอาสนะไว้เหนือดอกปทุมทั้งหลายซึ่งงดงามด้วยกลีบ ช่อและเกสรของดอกปทุมที่แย้มบานแล้ว ปูลาดด้วยผ้าขาวใหม่ๆ วางดอกปทุม ๔ ดอกและพุ่มดอกไม้เหนือเท้าทั้ง ๔ ของอาสนะ. ดาดเพดานไว้ข้างบนอาสนะ ห้อยพวงดอกไม้และพวงระย้า รอบๆ อาสนะก็ลาดพื้นหมดสิ้น ด้วยกลีบปทุมที่มีเกสร คิดว่า เราจักบูชาพระทักขิไณยบุคคลที่มาถึงแล้ว จึงตั้งพานเต็มด้วยดอกไม้สด ณ ที่สมควรส่วนหนึ่ง. คราวนั้น นางจัดเครื่องอุปกรณ์ทานเสร็จแล้ว ก็อาบน้าดาเกล้า นุ่งผ้าสะอาด กาหนดคอยเวลา จึงสั่งหญิงรับใช้คนหนึ่งว่า แม่เอ๊ย เจ้าจงไปหาพระทักขิไณยเช่นนั้นมาให้ข้านะ. สมัยนั้น ท่านพระสารีบุตรเที่ยวบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์เดินไประหว่างถนน ดังจะเก็บถุงทรัพย์พันหนึ่ง. ขณะนั้น หญิงรับใช้นั้นก็ไหว้พระเถระแล้วกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ ขอท่านโปรดให้บาตรของท่านแก่ดิฉันเถิดเจ้าข้า. แต่พระเถระกล่าวว่า เรามาที่นี้ ก็เพื่ออนุเคราะห์อุบาสิกาผู้หนึ่งนะ. พระเถระก็ส่งบาตรให้แก่หญิงรับใช้นั้น. นางก็นิมนต์พระเถระให้เข้าไปยังเรือน. ครั้งนั้น สตรีผู้นั้นก็ออกไปต้อนรับพระเถระ ชี้อาสนะแล้วกล่าวว่า โปรดนั่งเถิดเจ้าข้า นี้อาสนะจัดไว้แล้ว. เมื่อพระเถระนั่งเหนืออาสนะนั้นแล้ว ก็บูชาพระเถระด้วยกลีบปทุมที่มีเกสร โรยรอบๆ อาสนะ ไหว้ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ เลี้ยงดูด้วยมธุปายาสน้าน้อย ผสมด้วยเนยใส น้าผึ้งและน้าตาลกรวด และกาลังเลี้ยงดู ก็ทาความปรารถนาว่า ด้วยอานุภาพบุญของดิฉันนี้ ขอจงมีสมบัติทิพย์ที่งดงามด้วยบัลลังก์เรือนยอดเหนือกุญชรอันเป็นทิพย์ ในความเป็ นไปทุกอย่าง ขอจงอย่าขาดดอกปทุมเลย. ครั้นพระเถระฉันเสร็จแล้ว นางจึงล้างบาตร บรรจุเนยใส น้าผึ้งและน้าตาลกรวดไว้เต็มอีก จัดผ้าที่ปูลาดบนตั่งทาเป็ นผ้ารอง [บาตร] แล้ววางไว้ในมือพระเถระ. ครั้นพระเถระทาอนุโมทนา กลับไปแล้ว จึงสั่งบุรุษ ๒ คนว่า
  • 4. 4 เจ้าจงนาบาตรในมือพระเถระและบัลลังก์นี้ไปวิหารมอบถวายพระเถระแล้ว จงกลับมา. บุรุษทั้ง ๒ นั้นก็กระทาอย่างนั้น. ต่อมา สตรีผู้นั้น [ตาย] ก็ไปบังเกิดในวิมานทองสูงร้อยโยชน์ ณ ภพดาวดึงส์ มีอัปสรพันหนึ่งเป็ นบริวาร. และช้างตัวประเสริฐสูงห้าโยชน์ ประดับด้วยมาลัยดอกปทุม งดงามด้วยกลีบ ช่อและเกสรแห่งดอกปทุมโดยรอบ พิศดูปลื้มใจ มีสัมผัสอันสบาย ประดับด้วยอาภรณ์ทองรุ่งเรืองด้วยรัศมีข่ายประกอบรัตนะหลากๆ กัน ก็บังเกิดด้วยอานาจความปรารถนาของนาง. บัลลังก์ทองโยชน์หนึ่ง ประกอบด้วยความงามดียิ่งตามที่กล่าวแล้ว ก็บังเกิดเหนือช้างนั้น. นางกาลังเสวยทิพยสมบัติก็ขึ้นบัลลังก์ที่วิจิตรด้วยรัตนะเบื้องบนกุญชรวิมานนั้นใ นระหว่างๆ ไปยังสวนนันทนวัน ด้วยอานุภาพเทวดาอันยิ่งใหญ่. ครั้งนั้นเป็ นวันมหรสพวันหนึ่ง เมื่อเทวดาทั้งหลายพากันไปสวนนันทนวัน เพื่อเล่นการเล่นในสวนตามอานุภาพทิพย์ของตน. คาดังกล่าวมาเป็นต้นทั้งหมด ก็เหมือนคาที่มาในอรรถกถาปฐมปีฐวิมาน. เพราะฉะนั้นพึงทราบตามนัยที่กล่าวมาแล้วในอรรถกถานั้นนั่นแล. ส่วนในกุญชรวิมานนี้ พระเถระถามว่า ดูก่อนเทพธิดาผู้มีดวงตากลมดังกลีบปทุม มีผิวพรรณะดังปทุม กุญชร พาหะเครื่องขับขี่อย่างดีของท่าน สาเร็จด้วยรัตนะต่างๆ น่ารัก มีกาลังพรั่งพร้อมด้วยความเร็ว [ว่องไว] ท่องไปในอากาศ ช้างทรงความรุ่งเรืองด้วยดอกปทุม และอุบล มีเนื้อตัวเกลื่อนกล่นด้วยเกสรปทุม สวมพวงมาลัยดอกปทุมทอง ก็เดินทางที่เรียงรายด้วยดอกปทุม ประดับด้วยกลีบปทุมอยู่ ไม่กระเทือนวิมาน ย่างก้าวไปพอดีๆ [ไม่เร็วนัก ไม่ช้านัก] เมื่อช้างกาลังย่างก้าว กระดิ่งทองก็มีเสียงไพเราะน่ารื่นรมย์ เสียงกังวานของกระดิ่งเหล่านั้น ได้ยินดังดนตรีเครื่องห้า. ท่านมีพัสตราภรณ์สะอาด ประดับองค์แล้วอยู่เหนือคชาธาร รุ่งโรจน์ล้าอัปสรหมู่ใหญ่ด้วยวรรณะ. นี้เป็ นผลของทาน หรือของศีล หรือของอัญชลีกรรมประนมมือ ท่านถูกถามแล้ว โปรดบอกกรรมนั้นแก่อาตมาเถิด. เทวดาองค์นั้นถูกพระเถระถามอย่างนี้แล้ว จึงตอบปัญหา. เพื่อแสดงความข้อนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์ [ผู้ร่วมทาสังคายนา] ทั้งหลายจึงกล่าวคาถาไว้ดังนี้ว่า เทวดาองค์นั้นถูกท่านพระโมคคัลลานะถามแล้วดีใจ
  • 5. 5 จึงพยากรณ์ปัญหาด้วยอาการที่ท่านถามถึงกรรมที่มีผลอย่างนี้. ความของคาถานั้น กล่าวมาแล้วในหนหลังนั่นแล. คาถาเทวดากล่าวไว้ดังนี้ว่า ดิฉันเห็นพระเถระผู้พร้อมด้วยคุณ เข้าฌาน ยินดีในฌานสงบ ได้ถวายอาสนะที่ปูลาดด้วยผ้าโรยด้วยดอกไม้. ดิฉันเลื่อมใสแล้วโปรยดอกปทุมร อบๆ อาสนะครึ่งหนึ่ง. อีกครึ่งหนึ่งเอาโปรยลง [ดังฝน] ด้วยมือตนเอง. ผลเช่นนี้เป็นผลแห่งกุศลกรรมนั้นของดิฉัน ดิฉันอันทวยเทพสักการะเคารพนบนอบแล้ว. ผู้ใดแลเลื่อมใสแล้ว ถวายอาสนะแก่ท่านผู้เป็นพรหมจารี ผู้หลุดพ้นโดยชอบ ผู้สงบ ผู้นั้นก็บันเทิงเหมือนอย่างดิฉัน. เพราะฉะนั้นแล ผู้รักตน หวังความเป็นใหญ่ ก็ควรถวายอาสนะแด่ท่านผู้ทรงเรือนร่างครั้งสุดท้าย [พระอรหันต์]. เทวดาแสดงว่า เพราะเหตุที่ดิฉันยินดีด้วยทิพยสมบัติอย่างนี้ เพราะถวายอาสนะแก่พระอรหันต์ ฉะนั้น แม้คนอื่นผู้ปรารถนาความเจริญยิ่งแก่ตนก็พึงถวายอาสนะแก่พระอรหันต์ผู้ตั้งอยู่ ในเรือนร่างอันสุดท้าย บุญเช่นนี้ [ของคนอื่น] จึงไม่มี. คาที่เหลือก็เช่นเดียวกับคาที่กล่าวมาแล้วทั้งนั้นแล. จบอรรถกถากุญชรวิมาน -----------------------------------------------------