SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 1 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 7 ผลการเรียนรู้ที่ 7 
ระดับชั้น ม. 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เป็นทฤษฎีที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก๊ส ในการศึกษาถึง ความเร็ว 
โมเมนตัมของโมเลกุล ภายใต้แบบจาลองของแก๊สที่สร้างขึ้นมาเพื่อความสะดวกและทาความเข้าใจไดง่ายใน 
การศึกษา จากสมมุติฐานที่ว่า 
1. ไม่มีแรงกระทาระหว่างโมเลกุลของแก๊ส ยกเว้นเมื่อเกิดการชนกันเท่านั้น จึงไม่มีพลังงานศักย์ จะมีแต่ 
พลังงานจลน์เท่านั้น 
2. โมเลกุลเป็นทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และเท่ากันทุกโมเลกุล ทาให้โมเลกุลสามารถอยู่ได้ทุกแห่งใน 
ภาชนะ 
3. ไม่ว่าโมเลกุลของแก๊สจะชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะที่บรรจุ ถือว่าเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ 
คือไม่มีการสูญเสียพลังงานจลน์หลังการชน ทาให้โมเลกุลของแก๊สมีอัตราเร็วคงตัว 
แบบจาลองของแก๊สอุดมคตินี้ จึงได้นามาอธิบายเกี่ยวกับ ความดัน อุณหภูมิ และพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส 
พิจารณาโมเลกุลมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v ในทิศทางใดๆ ดังรูป ก. โดยมีการชนผนังแบบยืดหยุ่น 
สมบูรณ์ เมื่อพิจารณาแกน X โมเลกุลมวล m เคลื่อนที่เข้าชนผนัง A ด้วยอัตราเร็ว vX แล้วสะท้อนกลับด้วย 
อัตราเร็ว - vX ทาให้เกิดแรงที่โมเลกุล 1 ตัว กระทาต่อผนังดังนี้ 
แรงที่กระทาต่อผนังเนื่องจากโมเลกุล 1 ตัว คือ โมเมนตัมที่ผนังได้รับใน 1 หน่วยเวลา 
F1 = 
X 
X X 
2L v 
( mv - ( - mv )) 
= 
X 
X 
2L v 
2mv 
F1 = 
L 
mv2 
X 
X 
Y 
Z 
VX 
A 
รูป กล่องแสดงแบบจาลองการเคลื่อนที่ของแก๊สขนาด L x L x L 
ก. ข.
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 2 
ดังนั้น เมื่อโมเลกุล N ตัวเข้าชนผนัง แรงที่กระทาต่อผนัง คือ 
F = 
L 
m 
 
 
N 
i 1 
2 
Xi v 
เนื่องจาก 2 
X v = 
N 
v 
N 
i 1 
2 
Xi  
 
 
 
N 
i 1 
2 
Xi v = N 2 
X v 
F = 
L 
m 
N 2 
X v 
จาก P = 
A 
F 
= ( 
L 
m 
N 2 
X v ) / L2 
P = Nm 2 
X v / V 
PV = Nm 2 
vX ......................... ( 1 ) 
ในทานองเดียวกัน ในแนวแกน Y และแกน Z จะได้ 
PV = Nm 2 
Y v ......................... ( 2 ) 
PV = Nm 2 
Z v ......................... ( 3 ) 
แต่ สมการ ( 1 ) = ( 2 ) = ( 3 ) 
Nm 2 
X v = Nm 2 
Y v = Nm 2 
Z v 
จะได้ 2 
vX = 2 
vY = 2 
vZ 
อัตราเร็วเฉลี่ยของแก๊ส คือ v2 
จะได้ v2 = 2 
vX + 2 
vY + 2 
vZ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 3 
2 v = 2 
X v + 2 
X v + 2 
X v 
2 v = 3 2 
X v 
2 
vX = 
3 
1 2 v 
แทนค่า 2 
X v = 
3 
1 2 v ในสมการ ( 1 ) 
PV = 
3 
1 
Nm 2 v ......................... ( 4 ) 
นา 
2 
2 
คูณสมการ ( 4 ) 
จะได้ PV = 
3 
2 
N 
2 
1 
m 2 v 
PV = 
3 
2 
N k E 
จาก PV = nRT 
จาก PV = N kBT 
จะได้ 
3 
2 
N k E = N kBT 
k E = 
2 
3 
kBT 
สมการนี้ คือ สมการของพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส 1 โมเลกุล 
เมื่อให้ N Ek คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทั้งหมด 
จะได้ NEk = 
2 
3 
N kB T 
NEk = 
2 
3 
n R T
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 4 
อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส ใช้ 
สัญลักษณ์ vrms ( rms ย่อมาจาก root mean square ) มีสมการหลักคือ 
อัตราเร็วรากที่สองกาลังสองเฉลี่ย vrms = 2 v = 
N 
v2 
i = 
N 
v . . . v v v 2 
i 
2 
3 
2 
2 
2 
1     
จาก N k E = 
2 
3 
nRT 
(nNA) 
2 
1 
m 2 v = 
2 
3 
nRT 
mNA 
2 v = 3RT , M = mNA 
M 2 v = 3RT 
2 v = 
M 
3RT 
, vrms = 2 v 
vrms = 
M 
3RT 
*********** 
มวล M คือ มวลแก๊ส 1 โมล = มวลโมเลกุล x10- 3 kg 
k E = 
2 
3 
kBT 
2 
1 
m 2 v = 
2 
3 
kBT 
m 2 v = 3kBT 
v2 = 
m 
3kBT 
vrms = 
m 
3kBT ************ 
มวล m คือ มวลแก๊ส 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1.66x10- 27 kg
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 5 
ตัวอย่าง จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ย และ vrms ของโมเลกุลออกซิเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส 
วิธีทา จาก kE = 
2 
3 
kBT 
kE = 
2 
3 
(1.38 x 10- 23 J/K )( 273 + 7 ) 
Ek = 579.6 x 10- 23 J ตอบ 
kE = 
2 
1 
m 2 v 
kE = 
2 
1 
m 2 
rms v 
( 579.6 x 10- 23 J ) = 
2 
1 
( 32 x 1.66 x 10- 27 kg ) 2 
rms v 
vrms = 467.14 m/s ตอบ 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า การที่ถังแก๊สระเบิด เป็นผลเนื่องจากสิ่งใดบ้าง 
……………………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………………………. 
รายวิชา ฟิสิกส์6 
ใบงาน 7.1 
ผลการเรียนรู้ที่ 7 
Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 6 
รายวิชา ฟิสิกส์6 
ใบงาน 7.2 
ผลการเรียนรู้ที่ 7 
Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที 
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล ลงในสมุดบันทึก 
1. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
2. อัตราเร็วรากที่สองกาลังสองเฉลี่ย ( vrms ) 
2. ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 
1. พลังงานจลน์ของวัตถุใดๆ จะขึ้นกับปริมาณใดของวัตถุ ………………………………………………… 
2. ดังนั้นพลังงานจลน์ของแก๊ส ในบริเวณหนึ่ง ซึ่งมีการเคลื่อนที่แบบบราวน์ ก็จะขึ้นกับ………………ของวัตถุ 
3. สิ่งที่ทาให้วัตถุมีการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป เมื่อดูจากความสัมพันธ์ Ek = 
2 
3 
kBT สิ่งที่มีผลทาให้ 
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส คือ ……………………………………………………………………………. 
4. จากความสัมพันธ์ k E = 
2 
3 
kBT นี้ เป็นการคิดกับโมเลกุลของแก๊สกี่โมเลกุล ………………………. 
5. อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส 
ใช้สัญลักษณ์ ……………………….. แทน 
6. มวล M ในสมการ vrms = 
M 
3RT 
คือ ……………………………………………………… 
7. มวล M ของ ออกซิเจน คือ 16 ดังนั้นมวล M ของแก๊สออกซิเจน คือ ………………………..กิโลกรัม 
8. มวล m ในสมการ vrms = 
m 
T 3k B คือ ……………………………………………………… 
9. มวล m ของไนโตรเจน คือ 14 ดังนั้นมวล m ของไนโตรเจน คือ ……………………………กิโลกรัม 
10. จากสมการในข้อ 6 และ ข้อ 8 อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส จะขึ้นกับ …………………………… 
รายวิชา ฟิสิกส์6 
ใบงาน 7.3 
ผลการเรียนรู้ที่ 7 
Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
1. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สที่ 37 C กาหนดค่าโบลต์ซมันน์ ( kB = 1.38 x 10- 23 J / K ) 
วิธีทา จาก Ek = 
2 
3 
kBT
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 7 
2. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 27 C จะต้องทาให้แก๊สนี้มีอุณหภูมิเป็นเท่าไร จึงจะมีพลังงาน 
จลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุลเป็น1.5 เท่าของค่าเดิม ( ตอบ 177 องศาเซลเซียส ) 
วิธีทา จาก kE = 
2 
3 
kBT 
3. ถ้าพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในภาชนะปิดเท่ากับ 6.0 x 10- 21 จูล และจานวนโมเลกุลต่อปริมาตรของแก๊ส 
เท่ากับ 2.5 x 1025 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาความดันของแก๊สนี้ ( ตอบ 1.0 x 105 N/m 
วิธีทา จาก N k E = 
2 
3 
N kBT 
และ PV = N kBT 
จะได้ N k E = 
2 
3 
PV 
4. แก๊ส X และแก๊ส Y เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยวที่มีมวลและอุณหภูมิเท่ากัน แต่มวลโมเลกุลของแก๊ส X มากกว่า 
ของแก๊ส Y 3 เท่า จงเปรียบเทียบพลังงานจลน์ทั้งหมดของแก๊ส Y และแก๊ส X ( ตอบ 3 : 1 ) 
วิธีทา จาก N Ek = 
2 
3 
nRT 
และ n = 
M 
m 
จะได้ N k E = 
2 
3 
M 
m 
RT 
5. จงหา vrms ของโมเกุลของแก๊สไฮโดรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส (ให้ R = 8 J / mole.K , H – 1 ) 
( ตอบ 18.33 x 10 2 เมตรต่อวินาที ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 8 
6. จงหาอุณหภูมิของแก๊สออกซิเจนที่มีค่าเฉลี่ยของรากที่สองกาลังสองของอัตราเร็วเท่ากับของแก๊สคาร์บอน 
ไนโตรเจน ที่อุณหภูมิ – 63 C ( ให้ N – 14 , O – 16 ) ( ตอบ - 33 องศา 
เซลเซียส ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT 
รายวิชา ฟิสิกส์6 
แบบฝึกทักษะ 7 
ผลการเรียนรู้ที่ 7 
Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 20 นาที 
เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
1. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สที่ 30 C กาหนดค่าโบลต์ซมันน์ ( kB = 1.38 x 10- 23 J / K ) 
วิธีทา k E = 
2 
3 
kBT 
2. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 0 C จะต้องทาให้แก๊สนี้มีอุณหภูมิเป็นเท่าไร จึงจะมีพลังงาน 
จลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุลเป็น 2 เท่าของค่าเดิม 
วิธีทา จาก Ek = 
2 
3 
kBT 
จะได้ Ek  T 
  
 k 1 
k 2 
E 
E 
= 
1 
2 
T 
T
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 9 
3. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิและความดันปกติ ( อุณหภูมิ 0 C และ ความดัน 1 
บรรยากาศ ) กาหนดให้ ความหนาแน่นของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิและความดันปกติเท่ากับ 1.43 กิโลกรัม 
ต่อลูกบาศก์เมตร ( ตอบ 5.7 x 10-21 จูล ) 
วิธีทา จาก k E = 
2 
3 
kBT 
4. จงหา vrms ของโมเลกุลของแก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส 
(ให้ R = 8.31 J / mole.K , N – 14 ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT 
( ตอบ 499.3 m/s ) 
5. จงหา พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเกุลของแก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส 
กาหนดให้ kB = 1.38 x 10- 23 J /K 
วิธีทา จาก k E = 
2 
3 
kBT 
6. จงหา vrms ของอะตอมนีออนที่อุณหภูมิ 450 เคลวิน กาหนดให้ R = 8.31 J / mole.K ( Ne – 20 ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT 
7. จงหา พลังงานจลน์เฉลี่ยของอะตอมนีออนที่อุณหภูมิ 450 เคลวิน กาหนดให้ kB = 1.38 x 10- 23 J /K 
วิธีทา จาก Ek = 
2 
3 
kBT
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 10 
8. ถ้าพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในภาชนะปิดเท่ากับ 6.3 x 10- 21 จูล และจานวนโมเลกุลต่อปริมาตรของแก๊ส 
เท่ากับ 2.4 x 1025 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาความดันของแก๊สนี้ 
วิธีทา จาก Ek = 
2 
3 
kBT PV = NkBT 
9. แก๊ส A และแก๊ส B เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยวที่มีมวลและอุณหภูมิเท่ากัน แต่มวลโมเลกุลของแก๊ส A มากกว่าของ 
แก๊ส B จงเปรียบเทียบ 
ก. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส A และ แก๊ส B 
Ek ( พลังงานจลน์เฉลี่ย 1โมเลกุล ) = 
2 
3 
kBT 
ข. พลังงานจลน์ทั้งหมดของแก๊ส A และแก๊ส B 
N k E ( พลังงานจลน์ทั้งหมด ) = 
2 
3 
NkBT = 
2 
3 
nRT = 
2 
3 
M 
m 
RT 
N k E  
M 
1 
10. แก๊สปริมาณหนึ่งอยู่ในกระบอกสูบถูกอัดจนมีความดันเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของความดันเดิมโดยมีอุณหภูมิคงตัว 
จงหาอัตราส่วนระหว่างปริมาณต่อไปนี้ในสภาวะใหม่กับสภาวะเดิม 
ก. ปริมาตร 
จาก P1V1 = P2V2 
ข. ความหนาแน่น 
จาก 
1 
P1 
 
= 
2 
P2 

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 11 
ค. จานวนโมเลกุลต่อปริมาตร 
จาก PV = NkBT 
จะได้ 
V 
N 
 P 
ง. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส 
จาก k E = 
2 
3 
kBT 
11. สมมุติว่าวัดอัตราเร็วของแก๊สทั้งหมด 10โมเลกุล ได้ดังนี้ มีอัตราเร็ว 2v จานวน 3 โมเลกุล , มีอัตราเร็ว 3v 
จานวน 5 โมเลกุล และมีอัตราเร็ว v จานวน 2 โมเลกุล อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของ 
แก๊สทั้งหมดมีค่าเท่าไร 
วิธีทา จาก vrms = v2 = 
N 
v2 
i = 
N 
v . . . v v v 2 
i 
2 
3 
2 
2 
2 
1     
12. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจานวนหนึ่ง ที่มีการแจกแจงอัตราเร็วของ 
โมเลกุลของแก๊สดังนี้ 
จานวน 
โมเลกุล 
อัตราเร็ว(m/s) 
วิธีทา จาก vrms = v2 = 
N 
v2 
i = 
N 
v . . . v v v 2 
i 
2 
3 
2 
2 
2 
1     
2 250 
5 400 
3 300
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 12 
13. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สออกซิเจนที่ 27 C 
( ให้ R = 8 J / mole.K , O – 16 ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT 
14. จงหาอุณหภูมิของแก๊สออกซิเจนที่มีค่าเฉลี่ยของรากที่สองกาลังสองของอัตราเร็วเท่ากับของแก๊สไนโตรเจนที่ 
อุณหภูมิ 7 C ( ให้ N – 14 , O – 16 ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT 
15. ถ้ามีแก๊สนีออนอยู่ในอากาศ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สนีออนจะเป็นกี่เท่า 
ของอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สออกซิเจน ( โดยประมาณ ) 
( ให้ Ne – 20 , O – 16 ) 
วิธีทา จาก vrms = 
M 
3RT
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 13 
16. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สหนึ่งที่บรรจุภายในภาชนะปิดที่มีความดัน 1 
บรรยากาศ อุณหภูมิ 17  C มีความหนาแน่น 1.2 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่ออัดอากาศนี้ให้มีปริมาตรลดลง 
และมีความดันเป็น 3 บรรยากาศที่อุณหภูมิ 75 C ( กาหนดให้ ความดัน 1 บรรยากาศ = 105 N/m3 ) 
วิธีทา จาก 
1 1 
1 
T 
P 
 
= 
2 21 
2 
T 
P 
 
จาก vrms = 
 
3P

More Related Content

What's hot

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
พัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 

Viewers also liked

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
Nawamin Wongchai
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
พัน พัน
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
awirut
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
witthawat silad
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (20)

10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ใบความรู้.07
ใบความรู้.07ใบความรู้.07
ใบความรู้.07
 
ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ใบงาน 07
ใบงาน  07ใบงาน  07
ใบงาน 07
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
Ass6
Ass6Ass6
Ass6
 

Similar to 7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
Thanapol Sudha
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
Anan Malawan
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
nipatboonkong2
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Nanmoer Tunteng
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
oraneehussem
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 

Similar to 7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (20)

Kinetic theory of gas
Kinetic theory of gasKinetic theory of gas
Kinetic theory of gas
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 

More from Wijitta DevilTeacher

10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
Wijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 1 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 7 ผลการเรียนรู้ที่ 7 ระดับชั้น ม. 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เป็นทฤษฎีที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแก๊ส ในการศึกษาถึง ความเร็ว โมเมนตัมของโมเลกุล ภายใต้แบบจาลองของแก๊สที่สร้างขึ้นมาเพื่อความสะดวกและทาความเข้าใจไดง่ายใน การศึกษา จากสมมุติฐานที่ว่า 1. ไม่มีแรงกระทาระหว่างโมเลกุลของแก๊ส ยกเว้นเมื่อเกิดการชนกันเท่านั้น จึงไม่มีพลังงานศักย์ จะมีแต่ พลังงานจลน์เท่านั้น 2. โมเลกุลเป็นทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และเท่ากันทุกโมเลกุล ทาให้โมเลกุลสามารถอยู่ได้ทุกแห่งใน ภาชนะ 3. ไม่ว่าโมเลกุลของแก๊สจะชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะที่บรรจุ ถือว่าเป็นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ คือไม่มีการสูญเสียพลังงานจลน์หลังการชน ทาให้โมเลกุลของแก๊สมีอัตราเร็วคงตัว แบบจาลองของแก๊สอุดมคตินี้ จึงได้นามาอธิบายเกี่ยวกับ ความดัน อุณหภูมิ และพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส พิจารณาโมเลกุลมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v ในทิศทางใดๆ ดังรูป ก. โดยมีการชนผนังแบบยืดหยุ่น สมบูรณ์ เมื่อพิจารณาแกน X โมเลกุลมวล m เคลื่อนที่เข้าชนผนัง A ด้วยอัตราเร็ว vX แล้วสะท้อนกลับด้วย อัตราเร็ว - vX ทาให้เกิดแรงที่โมเลกุล 1 ตัว กระทาต่อผนังดังนี้ แรงที่กระทาต่อผนังเนื่องจากโมเลกุล 1 ตัว คือ โมเมนตัมที่ผนังได้รับใน 1 หน่วยเวลา F1 = X X X 2L v ( mv - ( - mv )) = X X 2L v 2mv F1 = L mv2 X X Y Z VX A รูป กล่องแสดงแบบจาลองการเคลื่อนที่ของแก๊สขนาด L x L x L ก. ข.
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 2 ดังนั้น เมื่อโมเลกุล N ตัวเข้าชนผนัง แรงที่กระทาต่อผนัง คือ F = L m   N i 1 2 Xi v เนื่องจาก 2 X v = N v N i 1 2 Xi     N i 1 2 Xi v = N 2 X v F = L m N 2 X v จาก P = A F = ( L m N 2 X v ) / L2 P = Nm 2 X v / V PV = Nm 2 vX ......................... ( 1 ) ในทานองเดียวกัน ในแนวแกน Y และแกน Z จะได้ PV = Nm 2 Y v ......................... ( 2 ) PV = Nm 2 Z v ......................... ( 3 ) แต่ สมการ ( 1 ) = ( 2 ) = ( 3 ) Nm 2 X v = Nm 2 Y v = Nm 2 Z v จะได้ 2 vX = 2 vY = 2 vZ อัตราเร็วเฉลี่ยของแก๊ส คือ v2 จะได้ v2 = 2 vX + 2 vY + 2 vZ
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 3 2 v = 2 X v + 2 X v + 2 X v 2 v = 3 2 X v 2 vX = 3 1 2 v แทนค่า 2 X v = 3 1 2 v ในสมการ ( 1 ) PV = 3 1 Nm 2 v ......................... ( 4 ) นา 2 2 คูณสมการ ( 4 ) จะได้ PV = 3 2 N 2 1 m 2 v PV = 3 2 N k E จาก PV = nRT จาก PV = N kBT จะได้ 3 2 N k E = N kBT k E = 2 3 kBT สมการนี้ คือ สมการของพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส 1 โมเลกุล เมื่อให้ N Ek คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทั้งหมด จะได้ NEk = 2 3 N kB T NEk = 2 3 n R T
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 4 อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส ใช้ สัญลักษณ์ vrms ( rms ย่อมาจาก root mean square ) มีสมการหลักคือ อัตราเร็วรากที่สองกาลังสองเฉลี่ย vrms = 2 v = N v2 i = N v . . . v v v 2 i 2 3 2 2 2 1     จาก N k E = 2 3 nRT (nNA) 2 1 m 2 v = 2 3 nRT mNA 2 v = 3RT , M = mNA M 2 v = 3RT 2 v = M 3RT , vrms = 2 v vrms = M 3RT *********** มวล M คือ มวลแก๊ส 1 โมล = มวลโมเลกุล x10- 3 kg k E = 2 3 kBT 2 1 m 2 v = 2 3 kBT m 2 v = 3kBT v2 = m 3kBT vrms = m 3kBT ************ มวล m คือ มวลแก๊ส 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1.66x10- 27 kg
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 5 ตัวอย่าง จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ย และ vrms ของโมเลกุลออกซิเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส วิธีทา จาก kE = 2 3 kBT kE = 2 3 (1.38 x 10- 23 J/K )( 273 + 7 ) Ek = 579.6 x 10- 23 J ตอบ kE = 2 1 m 2 v kE = 2 1 m 2 rms v ( 579.6 x 10- 23 J ) = 2 1 ( 32 x 1.66 x 10- 27 kg ) 2 rms v vrms = 467.14 m/s ตอบ 1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า การที่ถังแก๊สระเบิด เป็นผลเนื่องจากสิ่งใดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. รายวิชา ฟิสิกส์6 ใบงาน 7.1 ผลการเรียนรู้ที่ 7 Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 6 รายวิชา ฟิสิกส์6 ใบงาน 7.2 ผลการเรียนรู้ที่ 7 Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล ลงในสมุดบันทึก 1. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 2. อัตราเร็วรากที่สองกาลังสองเฉลี่ย ( vrms ) 2. ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. พลังงานจลน์ของวัตถุใดๆ จะขึ้นกับปริมาณใดของวัตถุ ………………………………………………… 2. ดังนั้นพลังงานจลน์ของแก๊ส ในบริเวณหนึ่ง ซึ่งมีการเคลื่อนที่แบบบราวน์ ก็จะขึ้นกับ………………ของวัตถุ 3. สิ่งที่ทาให้วัตถุมีการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป เมื่อดูจากความสัมพันธ์ Ek = 2 3 kBT สิ่งที่มีผลทาให้ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส คือ ……………………………………………………………………………. 4. จากความสัมพันธ์ k E = 2 3 kBT นี้ เป็นการคิดกับโมเลกุลของแก๊สกี่โมเลกุล ………………………. 5. อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส ใช้สัญลักษณ์ ……………………….. แทน 6. มวล M ในสมการ vrms = M 3RT คือ ……………………………………………………… 7. มวล M ของ ออกซิเจน คือ 16 ดังนั้นมวล M ของแก๊สออกซิเจน คือ ………………………..กิโลกรัม 8. มวล m ในสมการ vrms = m T 3k B คือ ……………………………………………………… 9. มวล m ของไนโตรเจน คือ 14 ดังนั้นมวล m ของไนโตรเจน คือ ……………………………กิโลกรัม 10. จากสมการในข้อ 6 และ ข้อ 8 อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส จะขึ้นกับ …………………………… รายวิชา ฟิสิกส์6 ใบงาน 7.3 ผลการเรียนรู้ที่ 7 Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 1. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สที่ 37 C กาหนดค่าโบลต์ซมันน์ ( kB = 1.38 x 10- 23 J / K ) วิธีทา จาก Ek = 2 3 kBT
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 7 2. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 27 C จะต้องทาให้แก๊สนี้มีอุณหภูมิเป็นเท่าไร จึงจะมีพลังงาน จลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุลเป็น1.5 เท่าของค่าเดิม ( ตอบ 177 องศาเซลเซียส ) วิธีทา จาก kE = 2 3 kBT 3. ถ้าพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในภาชนะปิดเท่ากับ 6.0 x 10- 21 จูล และจานวนโมเลกุลต่อปริมาตรของแก๊ส เท่ากับ 2.5 x 1025 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาความดันของแก๊สนี้ ( ตอบ 1.0 x 105 N/m วิธีทา จาก N k E = 2 3 N kBT และ PV = N kBT จะได้ N k E = 2 3 PV 4. แก๊ส X และแก๊ส Y เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยวที่มีมวลและอุณหภูมิเท่ากัน แต่มวลโมเลกุลของแก๊ส X มากกว่า ของแก๊ส Y 3 เท่า จงเปรียบเทียบพลังงานจลน์ทั้งหมดของแก๊ส Y และแก๊ส X ( ตอบ 3 : 1 ) วิธีทา จาก N Ek = 2 3 nRT และ n = M m จะได้ N k E = 2 3 M m RT 5. จงหา vrms ของโมเกุลของแก๊สไฮโดรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส (ให้ R = 8 J / mole.K , H – 1 ) ( ตอบ 18.33 x 10 2 เมตรต่อวินาที ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 8 6. จงหาอุณหภูมิของแก๊สออกซิเจนที่มีค่าเฉลี่ยของรากที่สองกาลังสองของอัตราเร็วเท่ากับของแก๊สคาร์บอน ไนโตรเจน ที่อุณหภูมิ – 63 C ( ให้ N – 14 , O – 16 ) ( ตอบ - 33 องศา เซลเซียส ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT รายวิชา ฟิสิกส์6 แบบฝึกทักษะ 7 ผลการเรียนรู้ที่ 7 Physics VI ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 7 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 20 นาที เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 1. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สที่ 30 C กาหนดค่าโบลต์ซมันน์ ( kB = 1.38 x 10- 23 J / K ) วิธีทา k E = 2 3 kBT 2. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 0 C จะต้องทาให้แก๊สนี้มีอุณหภูมิเป็นเท่าไร จึงจะมีพลังงาน จลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุลเป็น 2 เท่าของค่าเดิม วิธีทา จาก Ek = 2 3 kBT จะได้ Ek  T    k 1 k 2 E E = 1 2 T T
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 9 3. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิและความดันปกติ ( อุณหภูมิ 0 C และ ความดัน 1 บรรยากาศ ) กาหนดให้ ความหนาแน่นของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิและความดันปกติเท่ากับ 1.43 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ( ตอบ 5.7 x 10-21 จูล ) วิธีทา จาก k E = 2 3 kBT 4. จงหา vrms ของโมเลกุลของแก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส (ให้ R = 8.31 J / mole.K , N – 14 ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT ( ตอบ 499.3 m/s ) 5. จงหา พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเกุลของแก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส กาหนดให้ kB = 1.38 x 10- 23 J /K วิธีทา จาก k E = 2 3 kBT 6. จงหา vrms ของอะตอมนีออนที่อุณหภูมิ 450 เคลวิน กาหนดให้ R = 8.31 J / mole.K ( Ne – 20 ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT 7. จงหา พลังงานจลน์เฉลี่ยของอะตอมนีออนที่อุณหภูมิ 450 เคลวิน กาหนดให้ kB = 1.38 x 10- 23 J /K วิธีทา จาก Ek = 2 3 kBT
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 10 8. ถ้าพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในภาชนะปิดเท่ากับ 6.3 x 10- 21 จูล และจานวนโมเลกุลต่อปริมาตรของแก๊ส เท่ากับ 2.4 x 1025 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาความดันของแก๊สนี้ วิธีทา จาก Ek = 2 3 kBT PV = NkBT 9. แก๊ส A และแก๊ส B เป็นแก๊สอะตอมเดี่ยวที่มีมวลและอุณหภูมิเท่ากัน แต่มวลโมเลกุลของแก๊ส A มากกว่าของ แก๊ส B จงเปรียบเทียบ ก. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส A และ แก๊ส B Ek ( พลังงานจลน์เฉลี่ย 1โมเลกุล ) = 2 3 kBT ข. พลังงานจลน์ทั้งหมดของแก๊ส A และแก๊ส B N k E ( พลังงานจลน์ทั้งหมด ) = 2 3 NkBT = 2 3 nRT = 2 3 M m RT N k E  M 1 10. แก๊สปริมาณหนึ่งอยู่ในกระบอกสูบถูกอัดจนมีความดันเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของความดันเดิมโดยมีอุณหภูมิคงตัว จงหาอัตราส่วนระหว่างปริมาณต่อไปนี้ในสภาวะใหม่กับสภาวะเดิม ก. ปริมาตร จาก P1V1 = P2V2 ข. ความหนาแน่น จาก 1 P1  = 2 P2 
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 11 ค. จานวนโมเลกุลต่อปริมาตร จาก PV = NkBT จะได้ V N  P ง. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊ส จาก k E = 2 3 kBT 11. สมมุติว่าวัดอัตราเร็วของแก๊สทั้งหมด 10โมเลกุล ได้ดังนี้ มีอัตราเร็ว 2v จานวน 3 โมเลกุล , มีอัตราเร็ว 3v จานวน 5 โมเลกุล และมีอัตราเร็ว v จานวน 2 โมเลกุล อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของ แก๊สทั้งหมดมีค่าเท่าไร วิธีทา จาก vrms = v2 = N v2 i = N v . . . v v v 2 i 2 3 2 2 2 1     12. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจานวนหนึ่ง ที่มีการแจกแจงอัตราเร็วของ โมเลกุลของแก๊สดังนี้ จานวน โมเลกุล อัตราเร็ว(m/s) วิธีทา จาก vrms = v2 = N v2 i = N v . . . v v v 2 i 2 3 2 2 2 1     2 250 5 400 3 300
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 12 13. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สออกซิเจนที่ 27 C ( ให้ R = 8 J / mole.K , O – 16 ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT 14. จงหาอุณหภูมิของแก๊สออกซิเจนที่มีค่าเฉลี่ยของรากที่สองกาลังสองของอัตราเร็วเท่ากับของแก๊สไนโตรเจนที่ อุณหภูมิ 7 C ( ให้ N – 14 , O – 16 ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT 15. ถ้ามีแก๊สนีออนอยู่ในอากาศ อัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สนีออนจะเป็นกี่เท่า ของอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สออกซิเจน ( โดยประมาณ ) ( ให้ Ne – 20 , O – 16 ) วิธีทา จาก vrms = M 3RT
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส หน้า 13 16. จงหาอัตราเร็วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สหนึ่งที่บรรจุภายในภาชนะปิดที่มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 17  C มีความหนาแน่น 1.2 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่ออัดอากาศนี้ให้มีปริมาตรลดลง และมีความดันเป็น 3 บรรยากาศที่อุณหภูมิ 75 C ( กาหนดให้ ความดัน 1 บรรยากาศ = 105 N/m3 ) วิธีทา จาก 1 1 1 T P  = 2 21 2 T P  จาก vrms =  3P