SlideShare a Scribd company logo
1
รายวิชา ฟสิกส5                                                      ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 7
รหัสวิชา ........... ระดับชั้น ม. 6
                                                 ใบความรู 7          ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 7
                                                แรงเคลื่อนไฟฟา

                      แรงเคลือนไฟฟา ( Electromotive force “e.m.f” ) “E”
                             ่

       หมายถึง พลังงานไฟฟาที่แหลงกําเนิด ( เซลลไฟฟา ) ที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนครบวงจร
พอดี ( จากขั้นบวกไปยังขั้วลบผานตัวตานทาน ( R ) ภายนอกเซลล และจากขั้วลบไปยังขั้วบวก ผาน
เซลลไฟฟาภายใน ) มีหนวยเปนจูลตอคูลอมบ หรือ โวลต
                                   R                                            R

                          E,r                                     I           E   r
                 I        + -                                                 + -

          รูป 1. วงจรไฟฟาอยางงาย
                                                           รูป 2. วงจรไฟฟาอยางงายซึ่งแสดงความตานทานภายใน
                                                                                  เซลล
         จากรูป 1.         เมื่อ       R      คือความตานทานภายนอกที่ตอกับเซลลไฟฟา
                                       r      คือความตานทานภายในของเซลลเซลลไฟฟา
                                       E      คือแรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟา

       เมื่อมีกระแสไฟฟาผานตัวตานทาน ( R ) และเซลลไฟฟา ( E ) ซึ่งมีความตานทานภายใน ( r ) ยอมเกิด
ความตางศักยไฟฟาดังนี้
       1. ความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR )
       2. ความตางศักยไฟฟาภายในเซลล ( Vr )

                                       ความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR )
       หมายถึง พลังงานที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของเซลล โดยผานตัว
ตานทานภายนอกเซลล ( R ) มีหนวยเปน จูล/คูลอมบ หรือ โวลต


                                        ความตางศักยไฟฟาภายในเซลล ( Vr )
       หมายถึง พลังงานที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล โดยผานตัว
ตานทานภายในเซลลไฟฟา ( r ) มีหนวยเปน จูล/คูลอมบ หรือ โวลต
2

                 การหาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาในวงจร แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลล
                   ความตางศักยไฟฟาที่ขั้วเซลล ความตานทานภายในและภายนอกเซลล

จากหลักทรงพลังงาน
พลังงานทั้งหมดทีเ่ คลือนครบวงจรพอดี = พลังงานเคลื่อนประจุภายนอกเซลล + พลังงานเคลื่อนประจุภายนอก
                      ่
เซลล
                 qE             =       qVR +               qVr

        จะได           E       =       VR         +        Vr    ( เมื่อ V = IR )

                        E       =       IR         +        Ir

                        E       =       I( R+r )

                                         E
        ไดวา          I       =
                                        Rr


        เราสามารถบอกไดวาความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) ก็คือความตางศักยระหวางขั้วเซลล
เพราะคิดจากขั้วบวกถึงขั้วลบของเซลลไฟฟา เราสามารถหาคา ความตางศักยระหวางขั้วเซลลไดดังนี้

                 จาก    E       =       VR         +        Vr    ( เมื่อ V = IR )

                        E       =       VR         +        Ir

                        จะได E - Ir =             VR


                 หรือ           VR      =          E - Ir



                 หรือ           VR      =          IR
3

    การแกปญหาจากโจทย เรื่อง แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักยไฟฟาจากสถานการณที่กําหนดให

      ความสัม พันธร ะหวางกระแสไฟฟาในวงจร แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลล ความตานทานภายในและ
ภายนอกเซลล

                                                        E
                       จะได          I       =
                                                       Rr


         ดังนั้น ความตางศักยระหวางขั้วเซลล ก็คือความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) เพราะคิดจาก
ขั้วบวกถึงขั้วลบของเซลลไฟฟา เราสามารถหาคา ความตางศักยระหวางขั้วเซลลได

                       จาก            VR      =        E - Ir


                       หรือ           VR      =        IR


ตัวอยางการแกปญหาจากโจทย เรื่อง แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักยไฟฟา จากสถานการณที่
กําหนดให

ตัวอยางที่ 1 เซลลไฟฟาเซลลหนึ่ง มีแรงเคลื่อนไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2 โอหม           ตอเปน
วงจรดวยลวดเสนหนึ่งมีความตานทาน 3 โอหม จงหา
        ก. กระแสไฟฟาในวงจร
        ข. ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล
        ค. ความตางศักยภายในเซลล
วิธีทํา สิ่งทีเ่ ราทราบคาคือ E = 2 V, r = 2  , R = 3 
                                              E                        3
        ก.          จาก I          =
                                            Rr
                                              2
                                   =                          I      + -
                                            32
                     I            =       0.4 A                E=2V,r=2

       ข.      จาก     VR      =      E - Ir                หรือ   VR    =       IR
                       VR      =      2 - ( 0.4 )(2)               VR    =       ( 0.4 )( 3 )
                       VR      =      1.2 V                        VR    =       1.2 V
4
        ค.        จาก     Vr     =       Ir
                          Vr     =       ( 0.4 )( 2 )
                          Vr     =       0.8 V

ตัวอยางที่ 2 เซลลไฟฟาเซลลหนึ่ง เมื่อเอาลวดตานทาน 5 โอหม ตอระหวางขั้วทั้งสองของเซลลไฟฟาจะเกิด
ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล 2.5 โวลต แตถาวงจรเปด ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลเปลี่ยนเปน 3
โวลต จงหาความตานทานภายในเซลล

วิธีทํา สิ่งที่เราทราบคาคือ R = 5  , เมื่อตอครบวงจร ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล คือ VR = 2.5 V
และเมื่อวงจรเปดความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลก็คือคาแรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟานั้น E = 3 V
ตองการหา คา r หาคา I กอน

                          จาก    VR      =     IR
                                 2.5     =     I( 5 )
                                 I       =     0.5 A
                                                   E
                         จาก I       =
                                                Rr
                                                  3
                              0.5 =
                                                5r
                          r         =         1      
        ตอบ       ความตานทานภายในเซลลมีคา 1 โอหม

ตัวอยางที่ 3 เมื่อเซลลไฟฟาเซลลหนึ่งตอเขากับความตานทาน 6 โอหม มีกระแสไฟฟาผาน 0.5 แอมแปร แต
เมื่อเซลลไฟฟานี้ตอเขากับตัวตานทาน 14 โอหม จะมีกระแสไฟฟาผาน 0.25 แอมแปร จงหา
         ก. แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟา
         ข. ความตานทานภายในของเซลลไฟฟา

วิธีทํา เขียนวงจรไฟฟาตามที่กําหนด
                        6                                              14 

      I = 0.5 A                                          I = 0.25 A
                  + -                                                 + -
                   E, r                                               E, r

        ตองการหาคา E และ r
                                                    E
                  จาก            I       =
                                                   Rr
5
                                                 E
                              0.5     =                       …………………
                                               6r
                                                 E
                              0.25 =                          …………………
                                               14  r

                       0.5            14  r
/                           =
                      0.25             6r
                      12 + 2r =       14 + r
                       r             =      2          
       แทนคา r ใน ( 1 ) ; E          =      4          V

ตอบ    แรงเคลื่อนไฟฟามีคา 4 โวลต และมี ความตานทานภายในมีคา 2 โอหม

ตัวอยางที่ 4 เมื่อเอาลวดตัวตานทาน 6 โอหม และ 3 โอหม มาตอเขากับเซลลไฟฟาขนาด 15 โอหม, 1
โอหม จะเกิดความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลเทาใด เมื่อลวดตัวตานทานทังสอง ตอกันแบบ
                                                                         ้
        ก. อนุกรม
        ข. ขนาน

วิธีทํา ก. อนุกรม เขียนวงจรไฟฟาตามที่โจทยกําหนดใหไดดังนี้
        หา I กอน                                                   6          3
                                           E
        จาก             I      =
                                        Rr
                                             15               I
                        I      =
                                         6  3  1
                        I      =       1.5 A                         15 V,1 
        หา VR ;         จาก VR         =        IR
                                       =        1.5 ( 6+3 )
                         VR           =        13.5 V
ตอบ เมื่อตอลวดตานทานแบบอนุกรม จะเกิดความตางศักยระหวางขั้วเซลลมีคา 13.5 โวลต

       ข. ขนาน เขียนวงจรไฟฟาตามที่โจทยกําหนดใหไดดังนี้                 6
                                       E
       จาก           I     =
                                     Rr
                                           15                              3
                     I     =
                                      6x3   1
                                                                I
                                     63
                     I     =        5        A
                                                                          15 V,1 
6
       หา VR ;         จาก      VR  =      IR
                                    =      ( 5 )( 2 )
                       VR          =      10 V
ตอบ เมื่อตอลวดตานทานแบบขนาน จะเกิดความตางศักยระหวางขั้วเซลลมีคา 10 โวลต

ตัวอยางที่ 5 จากรูป เมื่อมีกระแสไฟฟา 3 แอมแปร ผานตัวตานทานจาก a ไป b จงหากระแสไฟฟาทีผาน
                                                                                          ่
ตัวตานทาน 9 โอหม 18 โอหม และความตางศักยไฟฟาระหวาง ab เปนเทาไร
วิธีทํา เขียนวงจรตามที่โจทยกําหนด
                                              9
                             I=3A
                      a              c                   d 4
                                            18                      b
       ตองการหา I ที่ผาน 9  และ 18  ซึ่งตอกันอยางขนาน
              จาก Vcd(บน) =           Vcd(รวม)
                         IR(บน) =     IR(รวม)
                                              9x18 
                         Ix9 =        3x 
                                                  
                                          9 18 
               I(9) =               2         A

               จาก     Vcd(ลาง) =     Vcd(รวม)
                       IR(ลาง) =      IR(รวม)
                                               9x18 
                       Ix18     =      3x 
                                                   
                                           9 18 
                      I(18)   =      1         A
                                                        9x18 
       ตองการหา Vab เมื่อ      I = 3A ;         R =        +4 = 10 
                                                      9 18 
               จาก     Vab      =      IR
                                =      3x10
                      Vab      =      30 V

ตอบ กระแสไฟฟาทีผานตัวตานทาน 9 โอหม และ 18 โอหมมีคา 2 และ 1 แอมแปรตามลําดับและความตาง
                   ่
ศักยไฟฟาระหวาง ab มีคา 30 โวลต
                        

การตอเซลลไฟฟา
       คือ การนําเอาเซลลไฟฟามากกวา 1 เซลลมาตอรวมกัน เพื่อใหไดขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟา หรือ
กระแสไฟฟาตามตองการ ดังนี้
   การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม คือการนําเซลลไฟฟามาตอเรียงเปนเสนเดียวกัน ได 2 แบบ
7
ก. ตอแบบตามกัน คือ การตอเซลลในลักษณะเสริมกัน โดยกระแสไฟฟาไปทางเดียวกัน
        E1 E2             E3
   I               r1       r2 r3                     Eรวม =         E1 + E2 + E3
                 R                                    r รวม =        r1 + r2 + r3



ข. ตอแบบขัดกัน คือ การตอเซลลไฟฟาในลักษณะหักลางกัน โดยกระแสไฟฟาสวนทางกัน
           E1 E2             E3
      I    r1       r2 r3                        Eรวม =        E1 + E3 - E2
                                                 rรวม =        r1 + r2 + r3

                        R

                   E1        E2          E3
              r1        r2        r3          I      Eรวม   =        E2 - ( E1 + E3 )
                                              rรวม   =      r1 + r2 + r3
                        R


   หมายเหตุ สังเกตทิศของเซลลไฟฟา ถาทิศเดียวกันบวกกัน ถาทิศตรงขามลบกัน
                                                           E รวม
กระแสไฟฟาในวงจร ( I ) หาไดจาก           I       =
                                                         R  rรวม

                                                             E
                                  หรือ        I      =
                                                            Rr

   เมื่อ I    คือ กระแสไฟฟาในวงจร                          มีหนวยเปน แอมแปร ( A )
          E   คือ แรงเคลือนไฟฟารวมในวงจร
                         ่                                  มีหนวยเปน โวลต ( V )
          R   คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา               มีหนวยเปน โอหม (  )
          r   คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟารวมในวงจร       มีหนวยเปน โอหม (  )
8
ตัวอยาง วงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟา                           12 V , 2  9V, 1
                                            E
วิธีทํา จากสมการ          I       =
                                          R r
                                             12  9                 4
                                  I       =
                                           4  2 1
                                            21
                            I       =              =         3     
                                            7
       ค. ดังนั้นกระแสไหลในวงจรเทากับ 3 แอมแปร
                        ถาไมเขาใจ ลองอานอีกครังนะ
                                                  ้
                        ครับ ถาอานเขาใจแลว ตอบ
  คําถาม

       1. จากรูปกระแสที่ไหลในวงจรมีคาเทาใด
           1.5 V , 0.5  1.5 V, 1
                                                  ก. 1 แอมแปร
                                                  ข. 2 แอมแปร
                                                  ค. 3 แอมแปร
                      1.5 


       2. จากโจทยขอ 1 จงหาความตานทานภายในรวม และ แรงเคลื่อนไฟฟารวม
               ก. 3 โอห็ม , 1.5 โวลต ข. 1.5 โอหม, 3 โวลต      ค. 3 โอหม , 3 โวลต

       โจทย เซลลไฟฟา 3 เซลล มีแรงเคลื่อนไฟฟา เซลลละ 2 โวลต ความตานทานภายในเซลล เซลล
ละ 4 โอหม ตอกันแบบอนุกรม จงหา

       3. แรงเคลือนไฟฟารวม
                 ่
               ก. 12 โวลต                     ข. 8 โวลต       ค. 6 โวลต
       4. ความตานทานภายในรวม
               ก. 12 โอหม                     ข. 8 โอหม       ค. 6 โอหม
       5. กระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร ถาตอกับตัวตานทาน 4 โอหม
               ก. 0.225 แอมแปร                ข. 0.375 แอมแปร ง. 0.625 แอมแปร


           ลองทําดู…..
                   คุณทําได้ ..
9




        แลวการตอเซลลไฟฟาแบบขนาน                                  1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ก. 5. ข.
        แรงเคลื่อนไฟฟา.. ความตานทานภายใน..และ
        กระแสไฟฟาในวงจร..มีการเปลี่ยนแปลงอยาไร


2. การตอเซลลไฟฟาแบบขนาน คือการตอเซลลไฟฟาใหขวชนิดเดียวกันเขาดวยกัน
                                                  ั้

       เมื่อ เซลลไฟฟามีขนาดเทากัน
                       E1 r 1
                       E2 r 2                             Eรวม = E1 = E2 = E3

                      E3 r 3                                 1             1   1 1
                                                                 =           +  +
            I                                             rรวม             r1 r2 r3
                         R
                                                         เมื่อ ความตานทานภายในเทากัน
                                                                             r
                                                                  rรวม =
                                                                             n
       หมายเหตุ        แรงเคลื่อนไฟฟาลัพธใชแรงเคลื่อนไฟฟาเพียงเซลลเดียวเทานั้น

                                                                   E รวม
   กระแสไฟฟาในวงจร ( I )       หาไดจาก        I        =
                                                                  R  rรวม


                                                                    E
                                หรือ            I        =
                                                                  R rn
10
       ตัวอยาง จากวงจร จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 4 โอหม
       วิธีทํา       E = 10 V , r = 2                                       10 V 2 
                                               E
               จากสมการ     I        =                                       10 V 2 
                                           R rn
                                              10
                            I        =                                         4
                                           422
                                     =     2              A

       ตัวอยาง จากวงจร จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 8 โอหม
                                                      E              10 V 3 
       วิธีทํา        จากสมการ    I        =
                                                   Rr
                      1      1 1                                     10 V 6 
               เมื่อ      = +              จะได r = 2             
                       r      3 6
                                             10                         8
                            I     =
                                           82
                                  =        1              A
               คําถาม
       E1 r 1       1. ถาใหเซลลไฟฟาที่ตอกันแบบขนานระหวางจุด a และจุด b กระแสไฟฟา (I) ผานตัว
       E2 r 2          ตานทาน R มีคาเทาใด เมื่อ E1 = E2 = E3 และ r1 = r2 = r3
       E3 r 3                             E                         E                     E
                       ก. I =                         ข. I =                ค. I = R  r
                                     R rn                       R  nr
a        R        b                                                                       n

     12 V 2         2. จากรูป จงหากระแสที่ไหลผานตัวตานทาน 5 โอหม
     12 V 2 

                             ก. 1 แอมแปร           ข.   2 แอมแปร            ค.    3 แอมแปร
       5
    12 V 2 
    12 V 3 
                     3. จากรูป จงหากระแสที่ไหลผานตัวตานทาน 4.5 โอหม
                             ก. 1 แอมแปร           ข. 2 แอมแปร              ค.    3 แอมแปร
      4.5 
                                                ตอบคําถามไดทุกขอใช
                                                ไหมครับ ดูเฉลยไดเลย
                                                                     1. ก.         2. ข.        3. ข.

More Related Content

What's hot

Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knokZHEZA
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 

What's hot (11)

แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 

Viewers also liked

03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงสะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงWijitta DevilTeacher
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07witthawat silad
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งานWijitta DevilTeacher
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (20)

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงสะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
 
ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4ใบความรู้ 4
ใบความรู้ 4
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
Ass6
Ass6Ass6
Ass6
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 

Similar to ใบความรู้.07

Similar to ใบความรู้.07 (13)

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
P17
P17P17
P17
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์เรื่องที่ 20  ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เรื่องที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
P20
P20P20
P20
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลังWijitta DevilTeacher
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงานWijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 

ใบความรู้.07

  • 1. 1 รายวิชา ฟสิกส5 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 7 รหัสวิชา ........... ระดับชั้น ม. 6 ใบความรู 7 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 7 แรงเคลื่อนไฟฟา แรงเคลือนไฟฟา ( Electromotive force “e.m.f” ) “E” ่ หมายถึง พลังงานไฟฟาที่แหลงกําเนิด ( เซลลไฟฟา ) ที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนครบวงจร พอดี ( จากขั้นบวกไปยังขั้วลบผานตัวตานทาน ( R ) ภายนอกเซลล และจากขั้วลบไปยังขั้วบวก ผาน เซลลไฟฟาภายใน ) มีหนวยเปนจูลตอคูลอมบ หรือ โวลต R R E,r I E r I + - + - รูป 1. วงจรไฟฟาอยางงาย รูป 2. วงจรไฟฟาอยางงายซึ่งแสดงความตานทานภายใน เซลล จากรูป 1. เมื่อ R คือความตานทานภายนอกที่ตอกับเซลลไฟฟา r คือความตานทานภายในของเซลลเซลลไฟฟา E คือแรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟา เมื่อมีกระแสไฟฟาผานตัวตานทาน ( R ) และเซลลไฟฟา ( E ) ซึ่งมีความตานทานภายใน ( r ) ยอมเกิด ความตางศักยไฟฟาดังนี้ 1. ความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) 2. ความตางศักยไฟฟาภายในเซลล ( Vr ) ความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) หมายถึง พลังงานที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนจากขั้วบวกไปยังขั้วลบของเซลล โดยผานตัว ตานทานภายนอกเซลล ( R ) มีหนวยเปน จูล/คูลอมบ หรือ โวลต ความตางศักยไฟฟาภายในเซลล ( Vr ) หมายถึง พลังงานที่กระทําตอประจุ +1 คูลอมบใหเคลื่อนจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล โดยผานตัว ตานทานภายในเซลลไฟฟา ( r ) มีหนวยเปน จูล/คูลอมบ หรือ โวลต
  • 2. 2 การหาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาในวงจร แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลล ความตางศักยไฟฟาที่ขั้วเซลล ความตานทานภายในและภายนอกเซลล จากหลักทรงพลังงาน พลังงานทั้งหมดทีเ่ คลือนครบวงจรพอดี = พลังงานเคลื่อนประจุภายนอกเซลล + พลังงานเคลื่อนประจุภายนอก ่ เซลล qE = qVR + qVr จะได E = VR + Vr ( เมื่อ V = IR ) E = IR + Ir E = I( R+r ) E ไดวา I = Rr เราสามารถบอกไดวาความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) ก็คือความตางศักยระหวางขั้วเซลล เพราะคิดจากขั้วบวกถึงขั้วลบของเซลลไฟฟา เราสามารถหาคา ความตางศักยระหวางขั้วเซลลไดดังนี้ จาก E = VR + Vr ( เมื่อ V = IR ) E = VR + Ir จะได E - Ir = VR หรือ VR = E - Ir หรือ VR = IR
  • 3. 3 การแกปญหาจากโจทย เรื่อง แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักยไฟฟาจากสถานการณที่กําหนดให ความสัม พันธร ะหวางกระแสไฟฟาในวงจร แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลล ความตานทานภายในและ ภายนอกเซลล E จะได I = Rr ดังนั้น ความตางศักยระหวางขั้วเซลล ก็คือความตางศักยไฟฟาภายนอกเซลล ( VR ) เพราะคิดจาก ขั้วบวกถึงขั้วลบของเซลลไฟฟา เราสามารถหาคา ความตางศักยระหวางขั้วเซลลได จาก VR = E - Ir หรือ VR = IR ตัวอยางการแกปญหาจากโจทย เรื่อง แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักยไฟฟา จากสถานการณที่ กําหนดให ตัวอยางที่ 1 เซลลไฟฟาเซลลหนึ่ง มีแรงเคลื่อนไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2 โอหม ตอเปน วงจรดวยลวดเสนหนึ่งมีความตานทาน 3 โอหม จงหา ก. กระแสไฟฟาในวงจร ข. ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล ค. ความตางศักยภายในเซลล วิธีทํา สิ่งทีเ่ ราทราบคาคือ E = 2 V, r = 2  , R = 3  E 3 ก. จาก I = Rr 2 = I + - 32  I = 0.4 A E=2V,r=2 ข. จาก VR = E - Ir หรือ VR = IR VR = 2 - ( 0.4 )(2) VR = ( 0.4 )( 3 ) VR = 1.2 V VR = 1.2 V
  • 4. 4 ค. จาก Vr = Ir Vr = ( 0.4 )( 2 ) Vr = 0.8 V ตัวอยางที่ 2 เซลลไฟฟาเซลลหนึ่ง เมื่อเอาลวดตานทาน 5 โอหม ตอระหวางขั้วทั้งสองของเซลลไฟฟาจะเกิด ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล 2.5 โวลต แตถาวงจรเปด ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลเปลี่ยนเปน 3 โวลต จงหาความตานทานภายในเซลล วิธีทํา สิ่งที่เราทราบคาคือ R = 5  , เมื่อตอครบวงจร ความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลล คือ VR = 2.5 V และเมื่อวงจรเปดความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลก็คือคาแรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟานั้น E = 3 V ตองการหา คา r หาคา I กอน จาก VR = IR 2.5 = I( 5 ) I = 0.5 A E จาก I = Rr 3 0.5 = 5r  r = 1  ตอบ ความตานทานภายในเซลลมีคา 1 โอหม ตัวอยางที่ 3 เมื่อเซลลไฟฟาเซลลหนึ่งตอเขากับความตานทาน 6 โอหม มีกระแสไฟฟาผาน 0.5 แอมแปร แต เมื่อเซลลไฟฟานี้ตอเขากับตัวตานทาน 14 โอหม จะมีกระแสไฟฟาผาน 0.25 แอมแปร จงหา ก. แรงเคลื่อนไฟฟาของเซลลไฟฟา ข. ความตานทานภายในของเซลลไฟฟา วิธีทํา เขียนวงจรไฟฟาตามที่กําหนด 6 14  I = 0.5 A I = 0.25 A + - + - E, r E, r ตองการหาคา E และ r E จาก I = Rr
  • 5. 5 E 0.5 = ………………… 6r E 0.25 = ………………… 14  r 0.5 14  r / = 0.25 6r 12 + 2r = 14 + r  r = 2  แทนคา r ใน ( 1 ) ; E = 4 V ตอบ แรงเคลื่อนไฟฟามีคา 4 โวลต และมี ความตานทานภายในมีคา 2 โอหม ตัวอยางที่ 4 เมื่อเอาลวดตัวตานทาน 6 โอหม และ 3 โอหม มาตอเขากับเซลลไฟฟาขนาด 15 โอหม, 1 โอหม จะเกิดความตางศักยไฟฟาระหวางขั้วเซลลเทาใด เมื่อลวดตัวตานทานทังสอง ตอกันแบบ ้ ก. อนุกรม ข. ขนาน วิธีทํา ก. อนุกรม เขียนวงจรไฟฟาตามที่โจทยกําหนดใหไดดังนี้ หา I กอน 6 3 E จาก I = Rr 15 I I =  6  3  1 I = 1.5 A 15 V,1  หา VR ; จาก VR = IR = 1.5 ( 6+3 )  VR = 13.5 V ตอบ เมื่อตอลวดตานทานแบบอนุกรม จะเกิดความตางศักยระหวางขั้วเซลลมีคา 13.5 โวลต ข. ขนาน เขียนวงจรไฟฟาตามที่โจทยกําหนดใหไดดังนี้ 6 E จาก I = Rr 15 3 I =  6x3   1   I 63 I = 5 A 15 V,1 
  • 6. 6 หา VR ; จาก VR = IR = ( 5 )( 2 )  VR = 10 V ตอบ เมื่อตอลวดตานทานแบบขนาน จะเกิดความตางศักยระหวางขั้วเซลลมีคา 10 โวลต ตัวอยางที่ 5 จากรูป เมื่อมีกระแสไฟฟา 3 แอมแปร ผานตัวตานทานจาก a ไป b จงหากระแสไฟฟาทีผาน ่ ตัวตานทาน 9 โอหม 18 โอหม และความตางศักยไฟฟาระหวาง ab เปนเทาไร วิธีทํา เขียนวงจรตามที่โจทยกําหนด 9 I=3A a c d 4 18  b ตองการหา I ที่ผาน 9  และ 18  ซึ่งตอกันอยางขนาน จาก Vcd(บน) = Vcd(รวม) IR(บน) = IR(รวม) 9x18  Ix9 = 3x     9 18   I(9) = 2 A จาก Vcd(ลาง) = Vcd(รวม) IR(ลาง) = IR(รวม) 9x18  Ix18 = 3x     9 18   I(18) = 1 A 9x18  ตองการหา Vab เมื่อ I = 3A ; R =  +4 = 10   9 18  จาก Vab = IR = 3x10  Vab = 30 V ตอบ กระแสไฟฟาทีผานตัวตานทาน 9 โอหม และ 18 โอหมมีคา 2 และ 1 แอมแปรตามลําดับและความตาง ่ ศักยไฟฟาระหวาง ab มีคา 30 โวลต  การตอเซลลไฟฟา คือ การนําเอาเซลลไฟฟามากกวา 1 เซลลมาตอรวมกัน เพื่อใหไดขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟา หรือ กระแสไฟฟาตามตองการ ดังนี้ การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม คือการนําเซลลไฟฟามาตอเรียงเปนเสนเดียวกัน ได 2 แบบ
  • 7. 7 ก. ตอแบบตามกัน คือ การตอเซลลในลักษณะเสริมกัน โดยกระแสไฟฟาไปทางเดียวกัน E1 E2 E3 I r1 r2 r3 Eรวม = E1 + E2 + E3 R r รวม = r1 + r2 + r3 ข. ตอแบบขัดกัน คือ การตอเซลลไฟฟาในลักษณะหักลางกัน โดยกระแสไฟฟาสวนทางกัน E1 E2 E3 I r1 r2 r3 Eรวม = E1 + E3 - E2 rรวม = r1 + r2 + r3 R E1 E2 E3 r1 r2 r3 I Eรวม = E2 - ( E1 + E3 ) rรวม = r1 + r2 + r3 R หมายเหตุ สังเกตทิศของเซลลไฟฟา ถาทิศเดียวกันบวกกัน ถาทิศตรงขามลบกัน E รวม กระแสไฟฟาในวงจร ( I ) หาไดจาก I = R  rรวม E หรือ I = Rr เมื่อ I คือ กระแสไฟฟาในวงจร มีหนวยเปน แอมแปร ( A ) E คือ แรงเคลือนไฟฟารวมในวงจร ่ มีหนวยเปน โวลต ( V ) R คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา มีหนวยเปน โอหม (  ) r คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟารวมในวงจร มีหนวยเปน โอหม (  )
  • 8. 8 ตัวอยาง วงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟา 12 V , 2  9V, 1 E วิธีทํา จากสมการ I = R r 12  9 4 I = 4  2 1 21 I = = 3  7 ค. ดังนั้นกระแสไหลในวงจรเทากับ 3 แอมแปร ถาไมเขาใจ ลองอานอีกครังนะ ้ ครับ ถาอานเขาใจแลว ตอบ คําถาม 1. จากรูปกระแสที่ไหลในวงจรมีคาเทาใด 1.5 V , 0.5  1.5 V, 1 ก. 1 แอมแปร ข. 2 แอมแปร ค. 3 แอมแปร 1.5  2. จากโจทยขอ 1 จงหาความตานทานภายในรวม และ แรงเคลื่อนไฟฟารวม ก. 3 โอห็ม , 1.5 โวลต ข. 1.5 โอหม, 3 โวลต ค. 3 โอหม , 3 โวลต โจทย เซลลไฟฟา 3 เซลล มีแรงเคลื่อนไฟฟา เซลลละ 2 โวลต ความตานทานภายในเซลล เซลล ละ 4 โอหม ตอกันแบบอนุกรม จงหา 3. แรงเคลือนไฟฟารวม ่ ก. 12 โวลต ข. 8 โวลต ค. 6 โวลต 4. ความตานทานภายในรวม ก. 12 โอหม ข. 8 โอหม ค. 6 โอหม 5. กระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร ถาตอกับตัวตานทาน 4 โอหม ก. 0.225 แอมแปร ข. 0.375 แอมแปร ง. 0.625 แอมแปร ลองทําดู….. คุณทําได้ ..
  • 9. 9 แลวการตอเซลลไฟฟาแบบขนาน 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ก. 5. ข. แรงเคลื่อนไฟฟา.. ความตานทานภายใน..และ กระแสไฟฟาในวงจร..มีการเปลี่ยนแปลงอยาไร 2. การตอเซลลไฟฟาแบบขนาน คือการตอเซลลไฟฟาใหขวชนิดเดียวกันเขาดวยกัน ั้ เมื่อ เซลลไฟฟามีขนาดเทากัน E1 r 1 E2 r 2 Eรวม = E1 = E2 = E3 E3 r 3 1 1 1 1 = + + I rรวม r1 r2 r3 R เมื่อ ความตานทานภายในเทากัน r rรวม = n หมายเหตุ แรงเคลื่อนไฟฟาลัพธใชแรงเคลื่อนไฟฟาเพียงเซลลเดียวเทานั้น E รวม กระแสไฟฟาในวงจร ( I ) หาไดจาก I = R  rรวม E หรือ I = R rn
  • 10. 10 ตัวอยาง จากวงจร จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 4 โอหม วิธีทํา E = 10 V , r = 2  10 V 2  E จากสมการ I = 10 V 2  R rn 10 I = 4 422 = 2 A ตัวอยาง จากวงจร จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวตานทาน 8 โอหม E 10 V 3  วิธีทํา จากสมการ I = Rr 1 1 1 10 V 6  เมื่อ = + จะได r = 2  r 3 6 10 8 I = 82 = 1 A คําถาม E1 r 1 1. ถาใหเซลลไฟฟาที่ตอกันแบบขนานระหวางจุด a และจุด b กระแสไฟฟา (I) ผานตัว E2 r 2 ตานทาน R มีคาเทาใด เมื่อ E1 = E2 = E3 และ r1 = r2 = r3 E3 r 3 E E E ก. I = ข. I = ค. I = R  r R rn R  nr a R b n 12 V 2  2. จากรูป จงหากระแสที่ไหลผานตัวตานทาน 5 โอหม 12 V 2  ก. 1 แอมแปร ข. 2 แอมแปร ค. 3 แอมแปร 5 12 V 2  12 V 3  3. จากรูป จงหากระแสที่ไหลผานตัวตานทาน 4.5 โอหม ก. 1 แอมแปร ข. 2 แอมแปร ค. 3 แอมแปร 4.5  ตอบคําถามไดทุกขอใช ไหมครับ ดูเฉลยไดเลย 1. ก. 2. ข. 3. ข.