SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เรื่อง งานและพลังงาน
 งานและกาลัง
 พลังงานกล
 กฎการอนุรักษ์พลังงาน
งาน ( Work )
งาน คือ ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงมีหน่วยเป็นจูล ( J )
เราสามารถหาขนาดของงานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับการกระจัดตามแนวแรงนั้น เขียน
เป็นสมการจะได้
จะได้ W = F. s
เมื่อ W = งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นจูล ( J )
F = แรงที่กระทาต่อวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตัน ( N )
S = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็นเมตร ( m )
หมายเหตุ : ถ้าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นบวก
ถ้าทิศของแรงมีทิศตรงกันข้ามกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นลบ
การคานวณหางานโดยใช้สมการ W = F s นั้น ต้องระวัง ว่า
 ทิศของแรง (F) กับการกระจัด (s) ต้องอยู่ในแนวที่ขนานกันจึงใช้คานวณหางาน (W) ได้
 หากแรง (F) มีทิศตั้งฉากกับการกระจัด (s) ค่าของงาน (W) จะมีค่าเป็นศูนย์
 หากทิศของแรง (F) อยู่ในแนวเอียงทามุมกับการกระจัด (s) ให้ทาการแตกแรงแล้วใช้แรงที่
อยู่ในแนวขนานกับการกระจัด (s) เป็นตัวคานวณหางาน (W)
( ใช้ Fcos เพราะอยู่ในแนวขนานกับ s )
F
s
F
s
W = F s
F
s
W = 0 W = Fcos s

F cos
F sin
F
s
งานและกาลัง
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 2
 จงหางานของแรง F ในแตละกรณีต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงหางานที่ทาเนื่องจากแรงต่อไปนี้
1. ชะนีนางหนึ่งหิ้วถุงข้าวของน้าหนัก 200 นิวตัน เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ระยะทาง 10 เมตร จงหางานใน
การหิ้วถุงดังกล่าว
วิธีทา งานในทางฟิสิกส์นั้น วัตถุต้องเคลื่อนที่ตามแนวแรงที่กระทาต่อวัตถุ จากรูปจะเห็นว่าถุงข้าวของจะ
อยู่นิ่ง เมื่อออกแรง ( F )หิ้วถุง แต่ระยะทาง 10 เมตรเป็นผลจากแรงเดิน ดังนั้น งานในการหิ้วถุง
จึงเป็นศูนย์ พิสูจน์จากการคานวณ ได้ดังนี้
จาก W = ( Fcos90o ) ( S )
= ( 200 )( 0 ) ( 10 )
= 0
2. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุหนัก 5 นิวตัน เคลื่อนที่ขึ้นบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทานน้อยมาก ดังรูป จงหางานที่ทา
วิธีทา 1. นักเรียนต้องหาแรง ( F ) ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงมีค่าเท่าไร
2. แรงเสียดทานน้อยมาก  f = 0
3. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวแรงคือ 5 เมตร
จาก W = F. S
W = F ( 5 ) …………………. ( 1 )
หา F ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่
จะได้ F = mg sin ,( แรงซ้าย = แรงขวา )
แทนค่า F ใน ( 1 )
W = ( mg sin ) ( 5 )
= ( 5 ) ( 3/5 ) ( 5 ) = 15 J
10 m
F
F3 m
4 m mg sin
mg cos mg
F = 5N
S = 3m S = 3m
ก. W = ………… J
S = 3m
60o
ข. W = ………… J ค. W = ………… J
F = 5N F = 5N
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 3
3. บ๊อบบี้ใช้เชือกลากพี่หนูแหม่ม แฟนสาว หนัก 52 kg ไปบนพื้นราบฝืดด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอเป็น
ระยะทาง 1 km โดยเชือกทามุม 37 องศากับพื้น ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับพี่หนูแหม่ม
เท่ากับ 0.4 ให้ g = 10 m/s2 จงหา
ก. งานที่บ๊อบบี้ทา
ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างพี่หนูแหม่มกับพื้น
วิธีทา
ก. งานที่ทาคือ ผลของแรง T cos37o
ดังนั้น W = (T cos37o
) ( S )
ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทานคือ ผลของแรง f
ดังนั้น W = - f.s
 เราจะต้องหาแรง T cos37o
และ f
เนื่องจากพี่หนูแหม่มถูกลากด้วยที่ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ดังนั้น F = 0
จะได้ FX = 0
Tcos37o
= f
Tcos37o
= N
Tcos37o
=  ( mg – Tsin37o
)
T ( 4/5 ) = ( 0.4 ) ( 520 – T ( 3/5 ) )
T = 200 N
 Tcos37 = ( 200 ) ( 4/5 ) = 160 N
จะได้ ก. งานที่บ๊อบบี้ทา
W = ( Tcos37 ) ( 5 )
W = ( 160 ) ( 1 x 103 )
W = 1.6 x 105 J
ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทาน
W = - f . S
W = - ( 160 )( 1 x 103 )
W = - 1.6 x 105 J
FY = 0
N+Tsin37 = W
N = mg - Tsin37o
mg
37
N
f
Tsin37o
Tcos37o
T
 = 0.4
1 km
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 4
โจทย์ลองคิด
1(แนว Pat2) วัตถุมวล m กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่าเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว
10 เมตรต่อวินาที โดยมีรัศมี 5.0 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งรอบมีค่า
เป็นเท่าใด
2(แนว มช) ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 10
เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นี้ทา
3(แนวๆ) มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมีแรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนาน
กับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จง
หางานของแต่ละแรง และ งานรวม
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด (s)
พื้นที่ใต้กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด ( s ) นั้นจะมีค่าเท่ากับผลคูณ F.s เสมอ
1. เมื่อมีแรงขนาดคงตัว
2. เมื่อแรงมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างคงตัว
3. แรงมีขนาดเปลี่ยนแปลงกับเวลา
งานที่ทา = F1S1+ F2S2+ F3S3+… FnSn
หรือ งานที่ทา =
หรือ งานที่ทา = แรงเฉลี่ย x การกระจัด
F (N)
S (m)
งานที่ทา = พื้นที่สี่เหลี่ยมใต้กราฟ
F (N)
S (m)
งานที่ทา = พื้นที่สามเหลี่ยมใต้กราฟ
F (N)
S (m)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 5
ตัวอย่าง จงหางานเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัดดังรูป
วิธีทา งานที่ทา = พื้นที่ใต้กราฟ
= พ.ท. (1) + พ.ท. (2) + พ.ท. ( 3 )
= ½( 5 )(10) + (20)(10) + ½(35)(10)
= 25 + 200 + 175
งานที่ทา = 400 จูล
โจทย์ลองคิด
4(En42 ต.ค.) แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟดังรูป
งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เป็นกี่จูล
5(En41 เม.ย.) จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ของวัตถุมวล 5
กิโลกรัม ซึ่งถูกแรงกระทาในแนว 60 องศา เทียบกับทิศ
ทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยขนาดของแรงกระทาเปลี่ยนแปลงไป
ตามระยะทางดังรูป จงหาขนาดของงานในหน่วยจูลที่แรงนี้กระทา
งานที่ทา = พ.ท.ใต้กราฟ
= พ.ท.สี่เหลี่ยมคางหมู
= ½( ผลบวกของด้านคู่ขนาน)(สูง)
= ½( 60 +20 ) ( 10 )
งานที่ทา = 400 จูล
F (นิวตัน)
s (เมตร)
5 10
40
20
0 2 4 6
8
2
4
6
แรงกระทา (N)
ระยะทาง
(m)
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 6
6 (แนวๆ) แรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง เมื่อนาค่าแรงที่กระทาต่อวัตถุใน
แนวขนานกับการเคลื่อนที่มาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรง
กับการกระจัดได้ดังรูป จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อการกระจัดเป็น 40
เมตร
กาลัง ( Power )
กาลังคือ ปริมาณงานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น วัตต์ ( Watt )
t
W
P 
เมื่อ P คือ กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ ( Watt )
W คือ งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นจูล ( J )
t คือ ช่วงเวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็นวินาที ( s )
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เนื่องจาก แรง F กาลังที่ใช้คือ
t
F.s
t
W
P 
F.vP 
เมื่อ P คือ กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ ( Watt )
F คือ แรงที่ทา มีหน่วยเป็นนิวตัน ( N )
v คือ ความเร็วเฉลี่ย มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที ( m/s )
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 7
ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 750 นิวตัน ไต่เชือกขึ้นสูง 5 เมตร ในเวลา 25 วินาที กาลังที่เขาใช้เป็นกี่วัตต์
วิธีทา จาก
t
W
P 
เมื่อ W = F.s
= mg.s
= ( 750 )(5) = 3750 J
25
3750
P  = 150 Watt
ตัวอย่าง เครื่องยนต์ของเรือลาหนึ่งมีกาลัง 3 กิโลวัตต์ สามารถทาให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 9
กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาแรงจากเครื่องยนต์ที่ทาให้เรือลานี้แล่น
วิธีทา จาก F.vP 
3x103 = F 





60x60
9x103
F = 





3
3
9x10
x60x603x10
F = 1200 N
ลองทบทวนความเข้าใจ หน่อยสิ!
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 8
แบบฝึกหัด
เรื่อง งานและกาลัง
ตอนที่ 1 เติมคาในช่องว่าง
1. งานในทางฟิสิกส์ หมายถึง…………………………………………………………………………..….
2. งานหาได้จาก…………………………………………………………………………………...……..…
3. งานชนิดบวก คือ……………………………………………………………………………...………….
4. งานชนิดลบ คือ………………………………………………………………………………………..…
5. งานเป็นศูนย์ คือ………………………………………………………………………………….………
6. กาลัง หมายถึง……………………………………………………………………………………………
7. กาลัง หาได้จาก…………………………………………………………………………………………..
8. กาลัง มีหน่วยเป็น ……………………………………………………………………………………….
9. กาลังเป็นปริมาณ…………………………………………………………………………………………
10. 1 กาลังม้า เท่ากับ……………………………………………………………………………………….
11. แรงคงที่ 10 N กระทาอย่างต่อเนื่องกับวัตถุ มวล 5 kg ที่อยู่นิ่งบนพื้นราบลื่นให้เคลื่อนที่ จงหางานที่แรงนี้
กระทาในเวลา 4 วินาที
วิธีทา จาก W = F. S
แทนค่า W = ( 10 ) S ( 1 )
หา S จาก S = ( ….. )(……) +
2
1
a ( …….)2
S = 2a ( 2 )
จาก F = ma
(…… ) = ( …… ) a
a = ……….. m/s2
แทนค่า a ใน ( 2 ) และ แทน S ใน ( 1 )
จะได้ W = ( 10 ) ( ……. ) = ……….. จูล
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 9
2. วัตถุมวล 5 kg ถูกฉุดด้วยแรง 15 N ในทิศทามุม 60o กับแนวระดับ วัตถุเคลื่อนเป็นระยะ 8 เมตร จงหางาน
เนื่องจากแรงนี้
วิธีทา จาก W = FScos
W = ( …….. ) ( ……… )cos 60
W = ……………….. จูล
3. ชายคนหนึ่งหนัก 450 N ไต่บันไดสูง 8 m ในเวลา 16 วินาที จงหากาลังที่ชายคนนี้ใช้ในการไต่บันได
วิธีทา จาก P =
t
W
หรือ P =
t
FS
=
)...........(
)..)(.................(
= …………. Watt
4. ลิฟต์มีมวล 50 kg ถูกยกขึ้นสูง 30 m ในเวลา 25 วินาที จงหากาลังของลิฟต์เครื่องนี้
วิธีทา จาก P =
t
W
หรือ P =
t
FS
=
)...........(
)..)(.................(
= …………. Watt
ตอนที่ 2 จงหาคาตอบ
1. จงหางานที่ใช้ในการลากกระสอบข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไปบนพื้นราบฝืดเป็นระยะทาง 20.0 เมตร
ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกระสอบข้าวสารเท่ากับ 0.05
2. ชายคนหนึ่งออกแรง 124 นิวตัน ลากเลื่อนไปบนพื้นราบโดยแนวแรงทามุม 37 องศากับพื้น จงหางาน
เนื่องจากแรงนี้ เมื่อเลื่อนเคลื่อนที่ไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 0.50 กิโลเมตร กาหนดให้ cot 37 = 4/3
3. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นราบเมื่อถูกแรงกระทาเป็นเวลานาน 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเป็น
40 เมตรต่อวินาที จงหากาลังที่ทาได้เป็นกี่วัตต์
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 10
ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ
1. แรงคงที่ 6 N กระทาอย่างต่อเนื่องกับวัตถุ มวล 3 kg ที่อยู่นิ่งบนพื้นราบลื่นให้เคลื่อนที่ จงหางานที่แรงนี้
กระทาในเวลา 2 วินาที
วิธีทา จาก W = F. S
แทนค่า W = ( 6 ) S ( 1 )
หา S จาก S = ut +
2
1
at2 และ a จาก F = ma
2. วัตถุมวล 5 kg ถูกฉุดด้วยแรง 20 N ในทิศทามุม 60o กับแนวระดับ วัตถุเคลื่อนเป็นระยะ 7 เมตร จงหางาน
เนื่องจากแรงนี้
วิธีทา จาก W = FScos
3. ชายคนหนึ่งหนัก 500 N ไต่บันไดสูง 5 m ในเวลา 25 วินาที จงหากาลังที่ชายคนนี้ใช้ในการไต่บันได
วิธีทา จาก P =
t
W
หรือ P =
t
FS
4. ลิฟต์มีมวล 25 kg ถูกยกขึ้นสูง 20 m ในเวลา 10 วินาที จงหากาลังของลิฟต์เครื่องนี้
วิธีทา จาก P =
t
W
หรือ P =
t
FS
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 11
แบบทดสอบ
เรื่อง งานและกาลัง
ผลการเรียนรู้ที่ 1 สารวจตรวจสอบ อธิบาย และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลัง
คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. การเข็นรถไปตามพื้นราบและการเข็นรถขึ้นไปตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอในระยะทางเท่ากัน
กรณีใดทางานมากกว่า เพราะเหตุใด ถ้าถือว่าแรงเสียดทานที่กระทาต่อรถทั้งสองกรณี มีขนาดเท่ากัน
ก. การเข็นรถไปตามพื้นราบทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงน้อยกว่าการเข็นรถไปตามพื้นเอียง
ข. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงน้อยกว่าการเข็นรถไปตามพื้นราบ
ค. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงมากกว่าการเข็นรถไปตามพื้นราบ
ง. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานเท่ากันเพราะต้องออกแรงเท่ากับการเข็นรถไปตามพื้นราบและ
ได้ระยะทางเท่ากันด้วย
2. ชายคนหนึ่งหิ้วถังน้าหนัก 100 นิวตัน เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ระยะทาง 20 เมตร จงหางานในการ
หิ้วถังน้ามีค่ากี่จูล
ก. 2000 ข. 120 ค. 5 ง. 0
3. ชายคนหนึ่งถือของมวล 10 กิโลกรัม นั่งอยู่บนรถบรรทุก ถ้ารถบรรทุกแล่นไปบนเนินสูงได้ระยะทาง
50 เมตร โดยเนินสูงนี้สูงจากระดับเดิม 5 เมตร ชายคนนี้ทางานกี่จูล
ก. 5000 ข. 500 ค. 60 ง. 0
4. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุน้าหนัก 15 นิวตัน เคลื่อนที่บนพื้นเอียงยาว 5 เมตร ที่มีแรงเสียดทานน้อยมาก
จาก A ไป B ดังรูป จงหางานที่ทา
ก. 0 จูล ข. 15 จูล
ค. 30 จูล ง. 45 จูล
5. จงหางานที่ใช้ในการลากกระสอบข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไปบนพื้นราบฝืดเป็นระยะทาง 20.0
เมตร ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกระสอบข้าวสารมีค่า
เท่ากับ 0.05
ก. 200 จูล ข. 450 จูล ค. 750 จูล ง. 1,000 จูล
โจทย์ ใช้ตอบคำถำมข้อ 6 - 7
“ชำยคนหนึ่งใช้เชือกลำกกล่องไม้มวล 11.0 กิโลกรัม ไปบนพื้นรำบฝืดด้วยอัตรำเร็วสม่ำเสมอเป็น
ระยะทำง 1.0 กิโลเมตร โดยเชือกทำมุม 37 องศำกับพื้น ถ้ำสัมประสิทธิ์ควำมเสียดทำน ระหว่ำงพื้นกับ
กล่องไม้เท่ำกับ 0.5”
B
A
3m
เม 4m
เม
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 12
6. จงหา งานที่ชายคนนี้ทา
ก. 20 กิโลจูล ข. -20 กิโลจูล ค. 40 กิโลจูล ง. -40 กิโลจูล
7. จงหา งานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องไม้
ก. 20 กิโลจูล ข. -20 กิโลจูล ค. 40 กิโลจูล ง. -40 กิโลจูล
8. นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกขึ้นสูง 5.0 เมตร ในเวลา 20 วินาที เขาใช้กาลังไปกี่วัตต์
ก. 150 ข. 300 ค. 3,000 ง. 6,000
9. นักกายกรรมหนัก 400 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10.0 เมตร จากพื้นดิน จงหา
กาลังเฉลี่ยที่เขาใช้ ถ้าอัตราเร็วเฉลี่ยในการไต่เชือกของเขาเท่ากับ 0.5 เมตรต่อวินาที
ก. 200 วัตต์ ข. 2,000 วัตต์ ค. 400 วัตต์ ง. 4,000 วัตต์
10. เครื่องยนต์เรือลาหนึ่ง เมื่อใช้แรง 3x103 นิวตัน จะสามารถทาให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว
6.0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหากาลังของเครื่องยนต์เรือลานี้เป็นกี่กิโลวัตต์
ก. 3 ข. 5 ค. 15 ง. 18
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 13
พลังงาน คือ ความสามารถในการทางานได้ พลังงานเป็น ปริมาณสเกลาร์
พลังงานมีหลายรูปแบบเช่น พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเคมี
พลังงานกล เป็นต้น
พลังงานกล คือพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ และพลังงานที่สะสมในตัววัตถุซึ่ง
อาจถูกปลดปล่อยออกเป็นพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้
พลังงานกลของวัตถุมี 2 รูปแบบได้แก่ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์
พลังงานจลน์ ( Kinetic Energy , Ek )
พลังงานจลน์ คือพลังงานกลที่ขึ้นกับความเร็วของวัตถุ วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วจะ
มีพลังงานจลน์ วัตถุที่อยู่นิ่งจะไม่มีพลังงานจลน์
เราสามารถหาขนาดของพลังงานจลน์ได้จาก Ek = 2
1 m v2
เมื่อ Ek คือ พลังงานจลน์ (จูล)
m คือ มวล (กิโลกรัม)
v คือ ความเร็วของวัตถุ ( เมตร/วินาที )
ตัวอย่าง ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400
เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน
วิธีทา Ek
2
mv
2
1

Ek = ½ ( 0.002 )( 400 )2
Ek = 160 J
ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์
ถ้าเราทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทางานอย่างหนึ่ง ปริมาณงานที่ทาได้ทั้งหมดจะเท่ากับ
พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป
W = Ek
เมื่อ W = ปริมาณงานที่ทา มีหน่วยเป็น จูล ( J )
Ek = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น จูล ( J )
vF
Ek1 Ek2
s
พลังงาน( Energy )
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 14
ตัวอย่าง รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถ
เคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุดนิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทาให้รถหยุดมีค่าเท่าใด
วิธีทา W = Ek
Ek = Ek2 - Ek1
Ek = 0 - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)2
Ek = - 8x103 J
 W = - 8x103 J
ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทาน ได้ระยะ
กระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทาโดยแรงเสียดทาน
วิธีทา W = Ek
Ek = Ek2 - Ek1
Ek = 0 , ( Ek2 = Ek1 )
W = ( F – f )s = Fs – fs
= WF – Wf = 0 , ( W = Ek )
WF = Wf , ( Fs = Wf )
= (20)(3)
 งานที่ทาโดยแรงเสียดทาน = 60 J
พลังงานศักย์ ( Potential Energy , Ep )
พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่สะสมอยู่ในตัววัตถุซึ่งอาจถูกปลดปล่อยออกมาเป็นพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้
พลังงานศักย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วง เรียกว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง เช่น เมื่อเราแบก
วัตถุไว้สูงจากพื้นขนาดหนึ่ง ในวัตถุจะมีพลังงานสะสมอยู่ พลังงานที่สะสมตรงนี้เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก
เราเรียกพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งหาขนาดได้จาก
Ep = m g h
เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( จูล )
m คือ มวล (กิโลกรัม)
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( เมตร/วินาที2 )
h คือ ความสูงจากจุดเปรียบเทียบถึงวัตถุ ( เมตร )
F
Ek1 Ek2
s
F
Ek1 Ek2
sf
mg h
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 15
พลังงานศักย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับความยืดหยุ่นของวัตถุ เรียกว่า
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เช่นเมื่อเรานาวัตถุติดไว้ตรงปลายสปริง ดังรูป
หากเราไม่ออกแรงดึงสปริงให้ยืดหรือกดสปริงให้ยุบ จุดที่วัตถุอยู่ (ปลายสปริง)
จะเรียก จุดสมดุล ณ จุดตรงนี้วัตถุจะไม่มีพลังงานศักย์ หากเราดึงสปริงให้ยืด
หรือกดให้ยุบ ให้วัตถุอยู่ห่างจากจุดสมดุล ในวัตถุจะมีพลังงานศักย์สะสมอยู่เรียก
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
ซึ่งหาขนาดได้จาก Ep = 2
1 k s2
เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( จูล )
s คือ ระยะห่างจากจุดสมดุล (เมตร)
k คือ ค่านิจสปริง (นิวตัน/เมตร )
โดย k = sF
เมื่อ F คือ แรงกระทา ( นิวตัน )
s คือ ระยะห่างจากสมดุล ซึ่งเกิดจากแรง F ( เมตร )
ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหา
พลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน
วิธีทา Ep = mgh
Ep = ( 600 )( 10 )
Ep = 6x103 จูล
ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา
ก. แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร
ข. พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร
วิธีทา ก. จาก F = kx
F = ( 150 )( 0.25 )
F = 37.5 N
ข. จาก EP
2
k.x
2
1

EP
2
)(150)(0.25
2
1

EP = 4.6875 J
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 16
แบบฝึกหัด
เรื่อง พลังงานกล
ตอนที่ 1 เติมคาลงในช่องว่าง
1. เราจะทราบได้อย่างไรว่าวัตถุใดมีพลังงานหรือไม่………………………………………………...……
2. วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว มีพลังงานชนิดใด…………………………………………….………
3. พลังงานจลน์จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอะไร…………………………………………………….………
4. งานของแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุจะเท่ากับ………………………………………………………………
5. พลังงานจลน์ มีหน่วยเป็น………………………………………………………………………………
6. พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่ในที่สูง ซึ่งเกิดจากแรงดึงดูดของโลก เรียกว่า………………………………
7. พลังงานศักย์โน้มถ่วง วัดจาก……………………………………………………………………………
8. เมื่อวัตถุตกลงโดยอิสระ พลังงานศักย์ที่ลดลงจะเท่ากับ…………………………………………………
9. พลังงานศักย์ที่เกี่ยวกับการยืดหรือหดของสปริง เรียกว่า ……….………………….……………………
10. สมการพลังงานศักย์ที่เกี่ยวกับการยืดหรือหดของสปริง คือ ……………………………………………
11. ลูกปืนมวล 0.15 กิโลกรัม เคลื่อนออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.60 m ด้วยอัตราเร็ว 20 m/s จงหา
พลังงานจลน์ของลูกปืน
วิธีทา จาก Ek =
2
1
mv2
Ek =
2
1
( …… )(…….. )2
= …………. จูล
12. นักกายกรรมหนัก 650 N ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่ง ขึ้นไปสูง 10 m จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้ม
ถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูงสุด
วิธีทา จาก Ep = mgh
Ep = ( ……… )(………. )
Ep = ………… จูล
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 17
13. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงดึง 60 N จะทาให้ยืดออก 15 เซนติเมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริง
เมื่อสปริงยืดออกมา 10 เซนติเมตร
วิธีทา จาก F = kx
60 = k ( ……………)
k = ………………… N/m
Ep =
2
1
kx2
Ep =
2
1
( …… )(…….. )2
= …………. จูล
ตอนที่ 2 จงหาคาตอบ
1. ลูกปืนมวล 1.0 กรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 250 เมตร/วินาที ไปกระทบเป้าซึ่งเป็นไม้ ลูกปืนจมลงไปใน
เนื้อไม้ลึก 4.0 เซนติเมตร จงหาแรงเฉลี่ยของลูกปืนที่กระทาต่อไม้ในการเคลื่อนที่เข้าไปในเนื้อไม้
2. ลูกปืนมวล 0.02 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.75 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/วินาที
จงหา แรงที่ดันให้ลูกปืนหลุดออกจากลากล้องเป็นกี่นิวตัน
3. เครื่องชั่งสปริงแบ่งสเกลไว้ตั้งแต่ 0 – 30 นิวตัน บนสเกลที่ยาว 0.15 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของ
สปริง ขณะที่เครื่องสปริงอ่านค่าแรงได้ 20 นิวตัน
ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ
1. ลูกปืนมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.50 m ด้วยอัตราเร็ว 30 m/s จงหา พลังงาน
จลน์ของลูกปืน
วิธีทา จาก Ek =
2
1
mv2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 18
2. นักกายกรรมหนัก 450 N ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่ง ขึ้นไปสูง 15 m จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้ม
ถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูงสุด
วิธีทา จาก Ep = mgh
3. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงดึง 20 N จะทาให้ยืดออก 20 เซนติเมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริง เมื่อ
สปริงยืดออกมา 8 เซนติเมตร
วิธีทา จาก F = kx
Ep =
2
1
kx2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 19
แบบทดสอบ
เรื่อง พลังงานกล
ผลการเรียนรู้ที่ 2 สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณเกี่ยวกับพลังงานกล ความสัมพันธ์
ระหว่างงานและพลังงานจลน์
คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. นักกายกรรมหนัก 500 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10.0 เมตร จากพื้น จงหา
พลังงานจลน์เฉลี่ยขณะที่เขากาลังเคลื่อนที่ ถ้าอัตราเร็วเฉลี่ยในการไต่เท่ากับ 0.50 เมตรต่อวินาที
ก. 5 จูล ข. 6.25 จูล ค. 25.0 จูล ง. 72.5 จูล
2. จากข้อ 1. จงหาพลังงานศักย์เมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 8 เมตร จากพื้นดิน
ก. 400 จูล ข. 500 จูล ค. 4,000 จูล ง. 5,000 จูล
3. อิเล็กตรอน 1 ตัว มีมวลประมาณ 9x10-31 กิโลกรัม จงหาจะต้องใช้อิเล็กตรอนกี่ตัว จึงจะมีพลังงาน
จลน์เป็น 9 จูล ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2x108 เมตร/วินาที
ก. 1x1014 ข. 3x1014 ค. 5x1014 ง. 9x1014
4. ลูกปืนมวล 2.0 กรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 200 เมตร/วินาที ไปกระทบเป้าซึ่งเป็นไม้ ลูกปืนจมลงไป
ในเนื้อไม้ลึก 5.0 เซนติเมตร ลูกปืนมีพลังงานจลน์เปลี่ยนไปกี่จูล
ก. 20 จูล ข. 40 จูล ค. 80 จูล ง. 100 จูล
5. ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/
วินาที จงหางานที่ทาให้ลูกปืนหลุดออกจากลากล้องเป็นกี่จูล
ก. 80 จูล ข. 160 จูล ค. 240 จูล ง. 320 จูล
6. เครื่องชั่งสปริงแบ่งสเกลไว้ตั้งแต่ 0 – 20 นิวตัน บนสเกลที่ยาว 0.10 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่น
ของสปริง ขณะที่เครื่องสปริงอ่านค่าแรงได้ 10 นิวตัน
ก. 1.00 จูล ข. 0.75 จูล ค. 0.50 จูล ง. 0.25 จูล
7. วัตถุมวล 1.00 กิโลกรัม ติดอยู่กับปลายข้างหนึ่งของสปริง ดังรูป เมื่อสปริงถูกกดเข้า เป็นระยะ 0.20
เมตรจากตาแหน่งสมดุล แล้วถูกปล่อย จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะผ่านตาแหน่งสมดุลของสปริง เมื่อ
ค่าคงตัวของสปริงเท่ากับ 400 นิวตันต่อเมตร ( พื้นลื่น )
ก. 4 m/s ข. 3 m/s
ค. 2 m/s ง. 1 m/s
ตาแหน่งสมดุล
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 20
8. ก้อนหินมวล 40.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 185 เมตร เหนือพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์ของก้อนหิน เมื่อ
เวลาผ่านไป 1 วินาที เป็นกี่จูล
ก. 4.6x104 ข. 6.8x104 ค.7.2x104 ง. 9.6x104
9. จากข้อ 8. เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ขณะนั้นก้อนหินมีพลังงานจลน์เป็นกี่จูล
ก. 5x103 ข. 5x104 ค. 5x105 ง. 5x106
10. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นโต๊ะที่มีแรงเสียดทานน้อย
มาก ( ไม่คิดแรงเสียดทาน ) มีแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุใน
แนวขนานกับพื้นโต๊ะ กราฟระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างแรง
กับเวลาแสดงดังรูป พลังงานจลน์ของวัตถุเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 6
มีค่าเท่ากับกี่จูล
ก. 136 ข. 256 ค. 396 ง. 436
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 21
พลังงานรวมของระบบ คือ ผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของระบบ
กฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า
“พลังงานรวมของระบบจะไม่สูญหายไปไหน แต่อาจเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้”
ดังนั้นจากรูปข้างบนที่ตาแหน่ง A , B , C และ D จะต้องมีพลังงานรวมของระบบ
เท่ากันยกตัวอย่างเช่น
ถ้าที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานรวมของระบบเท่ากับ 10 จูล จะได้
ที่ตาแหน่ง B , C และ D จะมีพลังงานรวมของระบบเท่ากับ 10 จูล ด้วย
ถ้าแยกละเอียดเป็นพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ จะได้
ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์เท่ากับ 0 จูล และพลังงานจลน์มีค่า
เท่ากับ 10 จูล รวมเท่ากับ 10 จูล
ที่ตาแหน่ง B จะมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น และพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงรวม
แล้วเท่ากับ 10 จูล
ที่ตาแหน่ง C จะมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น และพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงรวมแล้วเท่ากับ 10 จูล
จนกระทั่งที่ตาแหน่งสูงสุดจะมีพลังงานศักย์เท่ากับ 10 จูล และพลังงานจลน์เป็นศูนย์รวมแล้วเท่ากับ10 จูล
A
C
D
B
จากรูป ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
โดยที่ ตาแหน่ง B จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
ตาแหน่ง C จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
ตาแหน่ง D จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
โดย ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์เป็นศูนย์แล้วพลังงานศักย์จะเพิ่มขึ้น
จนมีค่ามากที่สุดที่ตาแหน่งสูงสุด และที่ตาแหน่ง A จะมีค่าพลังงานจลน์
มากที่สุดแล้วพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงจนเป็นศูนย์ที่ตาแหน่งสูงสุด
A
C
D
B
( Ep + Ek )
( Ep + Ek )
( Ep + Ek )
( Ep + Ek )
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 22
ตัวอย่างก้อนหินมวล 50.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 196 เมตรเหนือพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
ของก้อนหินขณะที่ก้อนหินเริ่มตก และพลังงานรวมของระบบ
วิธีทา ที่ตาแหน่งเริ่มตก จะมีพลังงานศักย์สูงสุด
หาได้จาก Ep = mgh
Ep = (50)(10)(196)
Ep = 9.8x104จูล
Ek = 2
mv
2
1
Ek = ( ½ )( 50 ) ( 0 )2
Ek = 0 จูล
 พลังงานรวมของระบบ เท่ากับ Ep + Ek = 9.8x104 จูล
เครื่องกล
ประสิทธิภาพของเครื่องกลและเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์ = งานที่ได้รับจากเครื่องกล หรืออุปกรณ์
งานที่ให้กลับเครื่องกล หรืออุปกรณ์
ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์ = 1 หมายถึง
ไม่มีการสูญเสียพลังงาน ประสิทธิภาพเป็น 100%
ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์  1 หมายถึง
มีการสูญเสียพลังงานและมีประสิทธิภาพน้อยกว่า100%
ประสิทธิภาพของเครื่องกลหรืออุปกรณ์ = งานที่ได้รับจากเครื่องกล หรืออุปกรณ์ X100 %
งานที่ให้กับเครื่องกล หรืออุปกรณ์
ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด
วิธีทา 1. หางานที่ได้รับจากรอก
จากสูตร W = Fs
แทนค่าจะได้ W = (60)(s/2)
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ (s/2)
( Ep + Ek )
196 เมตร
40 N
6 kg
s
s/2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 23
2. หางานที่ให้จากรอก
จากสูตร W = Fs
แทนค่าจะได้ W = (40)s
ประสิทธิภาพของรอก = งานที่ได้รับ X 100 %
งานที่ให้
ประสิทธิภาพของรอก =
(40)s
2
s
(60) 





X 100 %
ประสิทธิภาพของรอก = 75 %
ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง
วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการเคลื่อนวัตถุไปบนพื้นเอียง
จากสูตร W = Fs
แทนค่าจะได้ W = (2)L
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความยาวของพื้นเอียง (L)
2. หางานที่ได้รับในการเคลื่อนวัตถุมาที่บนสุด หาได้
จากสูตร W = mgh
แทนค่าจะได้ W = (3)(Lsin 30)
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความสูงของพื้นเอียง ( Lsin30 )
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = งานที่ได้รับ X 100 %
งานที่ให้
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง =
(2)L
(3)Lsin30
X 100 %
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = 75 %
2 N
3 N
30
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 24
ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของเครื่องกลดังรูปมีค่าเท่าใด
วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการหมุนสกรู
จากสูตร W = Fs
แทนค่าจะได้ W = (1)2r , (   3 )
ให้ระยะทางที่จับแขนสกรูเคลื่อนที่ได้คือระยะความยาวของเส้นรอบวง
W = (1)(2)(3)(0.5)
= 3 จูล
2. หางานที่ได้รับคือการเคลื่อนวัตถุขึ้นมา 1 ระยะเกลียวเมื่อหมุน 1 รอบ
จากสูตร W = mgh
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ 1 ระยะเกลียว = 0.01 m
แทนค่าจะได้ W = (10)(10)(0.01) = 1 จูล
ประสิทธิภาพของสกรู = งานที่ได้รับ X 100 %
งานที่ให้
ประสิทธิภาพของสกรู =
3
1
X 100 %
ประสิทธิภาพของสกรู =
3
1
X 100 %
F = 1 N
ระยะห่างระหว่างเกลียว 1 ซม
10 kg
0.5 m
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 25
ตัวอย่างตัดแปะ
Ex 1
Ex 2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 26
Ex 3
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 27
Ex 4
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 28
พลังงานรวมของลูกบอลจะสูญเสียให้กับงาน
เนื่องจากแรงเสียดทานทั้งหมด จึงทาให้ลูก
บอลหยุดนิ่ง
ดังนั้น
Ex 5
Ex 6
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 29
Ex 7
Ex 8
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 30
ตัวอย่างเครื่องกล
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 31
ตัวอย่างเครื่องกล
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 32
แบบฝึกหัด
เรื่อง กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ตอนที่ 1 เติมคาลงในช่องว่าง
1. กฎการอนุรักษ์พลังงาน หมายถึง ……………………………………………………………………
2. ในกรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานกล เป็นผลรวมของ………………………………………
3. ในกรณีที่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานกล เป็นผลรวมของ…………………………………………
4. วัตถุที่ตกอย่างอิสระ กรณีนี้ถือว่ามีแรงภายนอกมากระทาหรือไม่ ………………………………………
5. วัตถุที่เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีแรงเสียดทาน กรณีนี้ถือว่ามีแรงภายนอกมากระทาหรือไม่ ………………
6. จากข้อ 4 พลังงานกลของระบบ มี อะไรบ้าง ……………………………………………………………
7. จากข้อ 5 พลังงานกลของระบบ มี อะไรบ้าง ……………………………………………………………
8. จากข้อ 4 เมื่อนามาเขียนในรูป กฎการอนุรักษ์พลังงาน จะมีสมการเป็นอย่างไร ………………………
………………………………………………………………………………………………………
9. จากข้อ 5 เมื่อนามาเขียนในรูป กฎการอนุรักษ์พลังงาน จะมีสมการเป็นอย่างไร ………………………
…………………………………………………………………………………………………………
10. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศ ขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ กรณีนี้ ทุกตาแหน่งพลังงานกลของระบบจะมีอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 33
11. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 4 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงปรากฏว่าสปริงหด
สั้นมากที่สุด 8 เซนติเมตร ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตันต่อเมตร
วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
2
1
mv2 =
2
1
kx2
( 5 ) ( …… )2 = k ( …………… )2
k = …………………. N/m
12. หินก้อนมีมวล 8 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมี
อัตราเร็ว 2 m/s ที่จุด X และ 3 m/s ที่จุด Y จงหางานของแรง
เสียดทานที่กระทาต่อก้อนหิน ในช่วงการเคลื่อนที่จาก X ไป Y
วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
mgh +
2
1
mvx
2 =
2
1
mvy
2 + Wf
( …… )( 10 )( ….. )+
2
1
( 8 ) (…. )2 =
2
1
( ….. )( 3 )2 + Wf
Wf = ………… จูล
13. ผูกสปริงอันหนึ่งกับมวลขนาด 3 กิโลกรัม และยึดติด
กับผนังดังรูป สปริงมีค่านิจเท่ากับ 100 นิวตันต่อเมตร
เมื่อดังออกจากเดิม 15 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้มวล
เคลื่อนที่ พบว่าขณะที่มวลผ่านตาแหน่งสมดุล วัด
ความเร็วได้ 1 เมตรต่อวินาที สัมประสิทธิ์ความเสียด
ทานระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าใด
วิธีทา
2
1
kx2 =
2
1
mv2 + Wf
2
1
kx2 =
2
1
mv2 + mg.x
2
1
(……. )(…….) 2=
2
1
( …… )( ……. ) 2 + (……. )(10).( 15x10- 2)
 = ………………….
X
Y
5 m
8 m
15 cm
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 34
ตอนที่ 2 จงเติมคาและหาคาตอบ
จากรูป ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด
วิธีทา 1. หางานที่ได้รับจากรอก
จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (…….)(s/2)
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ (s/2)
2. หางานที่ให้จากรอก
จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (……..)s
ประสิทธิภาพของรอก = X 100 %
ประสิทธิภาพของรอก =
...)s(.........
2
s
)(......... 





X 100 %
ประสิทธิภาพของรอก = ……………. %
จากรูป ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง
วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการเคลื่อนวัตถุไปบนพื้นเอียง
จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (…….)L
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความยาวของพื้นเอียง (L)
2. หางานที่ได้รับในการเคลื่อนวัตถุมาที่บนสุด หาได้
จากสูตร W = mgh แทนค่าจะได้ W = (………)(Lsin 30)
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความสูงของพื้นเอียง ( Lsin30 )
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = X 100 %
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง =
.......)L(.........
...)Lsin30(.........
X 100 %
ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = ………… %
60 N
90 kg
s
s/2
5 N
8 N
3 0
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 35
จากรูป ประสิทธิภาพของเครื่องกลมีค่าเท่าใด
วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการหมุนสกรู
จากสูตร W = Fs
แทนค่าจะได้ W = (……)2r , (   3 )
ให้ระยะทางที่จับแขนสกรูเคลื่อนที่ได้คือระยะความยาวของเส้นรอบวง
W = (……..)(2)(3)(0.6) = ………. จูล
2. หางานที่ได้รับคือการเคลื่อนวัตถุขึ้นมา 1 ระยะเกลียวเมื่อหมุน 1 รอบ
จากสูตร W = mgh
ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ 1 ระยะเกลียว = 0.01 m
แทนค่าจะได้ W = (………..)(10)(……….)= ……….. จูล
ประสิทธิภาพของสกรู = X 100 %
ประสิทธิภาพของสกรู = ………….. %
ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ
1. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงปรากฏว่าสปริงหด
สั้นมากที่สุด 10 เซนติเมตร ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตันต่อเมตร
วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
2
1
mv2 =
2
1
kx2
F = 5 N
ระยะห่างระหว่างเกลียว 1 ซม
15 kg
0.6 m
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 36
2. หินก้อนหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมี
อัตราเร็ว 1 m/s ที่จุด X และ 4 m/s ที่จุด Y จงหางานของ
แรงเสียดทานที่กระทาต่อก้อนหิน ในช่วงการเคลื่อนที่จาก X ไป Y
วิธีทา
จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
mgh +
2
1
mvx
2 =
2
1
mvy
2 + Wf
3. ผูกสปริงอันหนึ่งกับมวลขนาด 2 กิโลกรัม และยึดติด
กับผนังดังรูป สปริงมีค่านิจเท่ากับ 50 นิวตันต่อเมตร
เมื่อดังออกจากเดิม 20 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้มวล
เคลื่อนที่ พบว่าขณะที่มวลผ่านตาแหน่งสมดุล วัด
ความเร็วได้ 0.4 เมตรต่อวินาที สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าใด
วิธีทา
2
1
kx2 =
2
1
mv2 + Wf
2
1
kx2 =
2
1
mv2 + mg.x
X
Y
4 m
5 m
20 cm
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 37
แบบทดสอบ
เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
ผลการเรียนรู้ที่ 3 สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์พลังงาน และรวม ไปถึง
กฎการอนุรักษ์พลังงานรูปอื่น
คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
โจทย์ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 3
“ก้อนหินมวล 50.0กิโลกรัม ตกจำกที่สูง 200 เมตรเหนือพื้นดิน”
1. จงหาพลังงานศักย์ของก้อนหิน เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที
ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J
2. จงหาพลังงานจลน์ของก้อนหิน เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที
ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J
3. จงหางานรวมของระบบ เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที
ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J
4. ลูกกลมอันหนึ่งตกลงกระทบพื้นตามแนวดิ่งจากจุด X ผ่าน Y ซึ่ง Y เป็นจุดที่
ระยะห่าจากตาแหน่ง X เท่ากับ2/5ของระยะ X ถึงพื้น ถ้าให้ Ep เป็นพลังงาน
ศักย์ โน้มถ่วงของวัตถุที่ตาแหน่ง X และ Ek เป็นพลังงานจลน์ของวัตถุที่
ตาแหน่ง Y เป็นกี่เท่าของ Ep
ก. Ek =
3
2
Ep ข. Ek =
2
3
Ep
ค. Ek =
5
3
Ep ง. Ek =
3
5
Ep
โจทย์ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 7
“โยนวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ขึ้นตำมแนวดิ่ง เมื่อขึ้นไปได้สูงสุด 3 เมตร
วัตถุตกกลับมำที่เดิม ดังรูป x , y และ z เป็นตำแหน่งต่ำงๆของวัตถุขณะอยู่สูง
จำกพื้น”
5. จงหาพลังงานจลน์ที่ตาแหน่ง Y และ Y เป็นจุดสูงสุดของการเคลื่อนที่
ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J
6. จงหาพลังงานรวมของระบบที่ตาแหน่ง X
ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J
7. จงหาพลังงานศักย์ที่ตาแหน่ง Z เมื่อที่ตาแหน่ง Z มีพลังงานจลน์เท่ากับ 2 จูล
ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J
X
Y
X
Y
Z
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 38
8. ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด
ก. 65 %
ข. 70%
ค. 75 %
ง. 80%
9. ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง
ก. 33.33 %
ข. 66.67%
ค. 75.00 %
ง. 80.00%
10. ประสิทธิภาพของเครื่องกลดังรูปมีค่าเท่าใด
ก. 33.33 %
ข. 66.67%
ค. 75.00 %
ง. 80.00%
3 N
4 N
3 0
F = N
}1 cm
20 kg
0.5 m
50 N
8 kg
s
s/2

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 

Viewers also liked

แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (15)

แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 

Similar to เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้jirupi
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726pumarin20012
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
Docu3000008987
Docu3000008987Docu3000008987
Docu3000008987gunyanun
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.NewNew AcademicCenter
 

Similar to เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน (20)

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบความรู้
 
Lesson05
Lesson05Lesson05
Lesson05
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
3
33
3
 
3
33
3
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Docu3000008987
Docu3000008987Docu3000008987
Docu3000008987
 
P05
P05P05
P05
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลังWijitta DevilTeacher
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงานWijitta DevilTeacher
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งานWijitta DevilTeacher
 
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงสะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงWijitta DevilTeacher
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (17)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึงสะพานแขวน Vs สะพานขึง
สะพานแขวน Vs สะพานขึง
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง งานและพลังงาน  งานและกาลัง  พลังงานกล  กฎการอนุรักษ์พลังงาน งาน ( Work ) งาน คือ ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงมีหน่วยเป็นจูล ( J ) เราสามารถหาขนาดของงานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับการกระจัดตามแนวแรงนั้น เขียน เป็นสมการจะได้ จะได้ W = F. s เมื่อ W = งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นจูล ( J ) F = แรงที่กระทาต่อวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตัน ( N ) S = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็นเมตร ( m ) หมายเหตุ : ถ้าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นบวก ถ้าทิศของแรงมีทิศตรงกันข้ามกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นลบ การคานวณหางานโดยใช้สมการ W = F s นั้น ต้องระวัง ว่า  ทิศของแรง (F) กับการกระจัด (s) ต้องอยู่ในแนวที่ขนานกันจึงใช้คานวณหางาน (W) ได้  หากแรง (F) มีทิศตั้งฉากกับการกระจัด (s) ค่าของงาน (W) จะมีค่าเป็นศูนย์  หากทิศของแรง (F) อยู่ในแนวเอียงทามุมกับการกระจัด (s) ให้ทาการแตกแรงแล้วใช้แรงที่ อยู่ในแนวขนานกับการกระจัด (s) เป็นตัวคานวณหางาน (W) ( ใช้ Fcos เพราะอยู่ในแนวขนานกับ s ) F s F s W = F s F s W = 0 W = Fcos s  F cos F sin F s งานและกาลัง
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 2  จงหางานของแรง F ในแตละกรณีต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงหางานที่ทาเนื่องจากแรงต่อไปนี้ 1. ชะนีนางหนึ่งหิ้วถุงข้าวของน้าหนัก 200 นิวตัน เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ระยะทาง 10 เมตร จงหางานใน การหิ้วถุงดังกล่าว วิธีทา งานในทางฟิสิกส์นั้น วัตถุต้องเคลื่อนที่ตามแนวแรงที่กระทาต่อวัตถุ จากรูปจะเห็นว่าถุงข้าวของจะ อยู่นิ่ง เมื่อออกแรง ( F )หิ้วถุง แต่ระยะทาง 10 เมตรเป็นผลจากแรงเดิน ดังนั้น งานในการหิ้วถุง จึงเป็นศูนย์ พิสูจน์จากการคานวณ ได้ดังนี้ จาก W = ( Fcos90o ) ( S ) = ( 200 )( 0 ) ( 10 ) = 0 2. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุหนัก 5 นิวตัน เคลื่อนที่ขึ้นบนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทานน้อยมาก ดังรูป จงหางานที่ทา วิธีทา 1. นักเรียนต้องหาแรง ( F ) ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงมีค่าเท่าไร 2. แรงเสียดทานน้อยมาก  f = 0 3. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวแรงคือ 5 เมตร จาก W = F. S W = F ( 5 ) …………………. ( 1 ) หา F ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ จะได้ F = mg sin ,( แรงซ้าย = แรงขวา ) แทนค่า F ใน ( 1 ) W = ( mg sin ) ( 5 ) = ( 5 ) ( 3/5 ) ( 5 ) = 15 J 10 m F F3 m 4 m mg sin mg cos mg F = 5N S = 3m S = 3m ก. W = ………… J S = 3m 60o ข. W = ………… J ค. W = ………… J F = 5N F = 5N
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 3 3. บ๊อบบี้ใช้เชือกลากพี่หนูแหม่ม แฟนสาว หนัก 52 kg ไปบนพื้นราบฝืดด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอเป็น ระยะทาง 1 km โดยเชือกทามุม 37 องศากับพื้น ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับพี่หนูแหม่ม เท่ากับ 0.4 ให้ g = 10 m/s2 จงหา ก. งานที่บ๊อบบี้ทา ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างพี่หนูแหม่มกับพื้น วิธีทา ก. งานที่ทาคือ ผลของแรง T cos37o ดังนั้น W = (T cos37o ) ( S ) ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทานคือ ผลของแรง f ดังนั้น W = - f.s  เราจะต้องหาแรง T cos37o และ f เนื่องจากพี่หนูแหม่มถูกลากด้วยที่ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ดังนั้น F = 0 จะได้ FX = 0 Tcos37o = f Tcos37o = N Tcos37o =  ( mg – Tsin37o ) T ( 4/5 ) = ( 0.4 ) ( 520 – T ( 3/5 ) ) T = 200 N  Tcos37 = ( 200 ) ( 4/5 ) = 160 N จะได้ ก. งานที่บ๊อบบี้ทา W = ( Tcos37 ) ( 5 ) W = ( 160 ) ( 1 x 103 ) W = 1.6 x 105 J ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทาน W = - f . S W = - ( 160 )( 1 x 103 ) W = - 1.6 x 105 J FY = 0 N+Tsin37 = W N = mg - Tsin37o mg 37 N f Tsin37o Tcos37o T  = 0.4 1 km
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 4 โจทย์ลองคิด 1(แนว Pat2) วัตถุมวล m กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่าเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที โดยมีรัศมี 5.0 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งรอบมีค่า เป็นเท่าใด 2(แนว มช) ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นี้ทา 3(แนวๆ) มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมีแรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนาน กับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จง หางานของแต่ละแรง และ งานรวม การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด (s) พื้นที่ใต้กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด ( s ) นั้นจะมีค่าเท่ากับผลคูณ F.s เสมอ 1. เมื่อมีแรงขนาดคงตัว 2. เมื่อแรงมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างคงตัว 3. แรงมีขนาดเปลี่ยนแปลงกับเวลา งานที่ทา = F1S1+ F2S2+ F3S3+… FnSn หรือ งานที่ทา = หรือ งานที่ทา = แรงเฉลี่ย x การกระจัด F (N) S (m) งานที่ทา = พื้นที่สี่เหลี่ยมใต้กราฟ F (N) S (m) งานที่ทา = พื้นที่สามเหลี่ยมใต้กราฟ F (N) S (m)
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 5 ตัวอย่าง จงหางานเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัดดังรูป วิธีทา งานที่ทา = พื้นที่ใต้กราฟ = พ.ท. (1) + พ.ท. (2) + พ.ท. ( 3 ) = ½( 5 )(10) + (20)(10) + ½(35)(10) = 25 + 200 + 175 งานที่ทา = 400 จูล โจทย์ลองคิด 4(En42 ต.ค.) แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟดังรูป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เป็นกี่จูล 5(En41 เม.ย.) จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ซึ่งถูกแรงกระทาในแนว 60 องศา เทียบกับทิศ ทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยขนาดของแรงกระทาเปลี่ยนแปลงไป ตามระยะทางดังรูป จงหาขนาดของงานในหน่วยจูลที่แรงนี้กระทา งานที่ทา = พ.ท.ใต้กราฟ = พ.ท.สี่เหลี่ยมคางหมู = ½( ผลบวกของด้านคู่ขนาน)(สูง) = ½( 60 +20 ) ( 10 ) งานที่ทา = 400 จูล F (นิวตัน) s (เมตร) 5 10 40 20 0 2 4 6 8 2 4 6 แรงกระทา (N) ระยะทาง (m)
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 6 6 (แนวๆ) แรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง เมื่อนาค่าแรงที่กระทาต่อวัตถุใน แนวขนานกับการเคลื่อนที่มาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรง กับการกระจัดได้ดังรูป จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อการกระจัดเป็น 40 เมตร กาลัง ( Power ) กาลังคือ ปริมาณงานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น วัตต์ ( Watt ) t W P  เมื่อ P คือ กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ ( Watt ) W คือ งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นจูล ( J ) t คือ ช่วงเวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็นวินาที ( s ) ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เนื่องจาก แรง F กาลังที่ใช้คือ t F.s t W P  F.vP  เมื่อ P คือ กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ ( Watt ) F คือ แรงที่ทา มีหน่วยเป็นนิวตัน ( N ) v คือ ความเร็วเฉลี่ย มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที ( m/s )
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 7 ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 750 นิวตัน ไต่เชือกขึ้นสูง 5 เมตร ในเวลา 25 วินาที กาลังที่เขาใช้เป็นกี่วัตต์ วิธีทา จาก t W P  เมื่อ W = F.s = mg.s = ( 750 )(5) = 3750 J 25 3750 P  = 150 Watt ตัวอย่าง เครื่องยนต์ของเรือลาหนึ่งมีกาลัง 3 กิโลวัตต์ สามารถทาให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 9 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาแรงจากเครื่องยนต์ที่ทาให้เรือลานี้แล่น วิธีทา จาก F.vP  3x103 = F       60x60 9x103 F =       3 3 9x10 x60x603x10 F = 1200 N ลองทบทวนความเข้าใจ หน่อยสิ!
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 8 แบบฝึกหัด เรื่อง งานและกาลัง ตอนที่ 1 เติมคาในช่องว่าง 1. งานในทางฟิสิกส์ หมายถึง…………………………………………………………………………..…. 2. งานหาได้จาก…………………………………………………………………………………...……..… 3. งานชนิดบวก คือ……………………………………………………………………………...…………. 4. งานชนิดลบ คือ………………………………………………………………………………………..… 5. งานเป็นศูนย์ คือ………………………………………………………………………………….……… 6. กาลัง หมายถึง…………………………………………………………………………………………… 7. กาลัง หาได้จาก………………………………………………………………………………………….. 8. กาลัง มีหน่วยเป็น ………………………………………………………………………………………. 9. กาลังเป็นปริมาณ………………………………………………………………………………………… 10. 1 กาลังม้า เท่ากับ………………………………………………………………………………………. 11. แรงคงที่ 10 N กระทาอย่างต่อเนื่องกับวัตถุ มวล 5 kg ที่อยู่นิ่งบนพื้นราบลื่นให้เคลื่อนที่ จงหางานที่แรงนี้ กระทาในเวลา 4 วินาที วิธีทา จาก W = F. S แทนค่า W = ( 10 ) S ( 1 ) หา S จาก S = ( ….. )(……) + 2 1 a ( …….)2 S = 2a ( 2 ) จาก F = ma (…… ) = ( …… ) a a = ……….. m/s2 แทนค่า a ใน ( 2 ) และ แทน S ใน ( 1 ) จะได้ W = ( 10 ) ( ……. ) = ……….. จูล
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 9 2. วัตถุมวล 5 kg ถูกฉุดด้วยแรง 15 N ในทิศทามุม 60o กับแนวระดับ วัตถุเคลื่อนเป็นระยะ 8 เมตร จงหางาน เนื่องจากแรงนี้ วิธีทา จาก W = FScos W = ( …….. ) ( ……… )cos 60 W = ……………….. จูล 3. ชายคนหนึ่งหนัก 450 N ไต่บันไดสูง 8 m ในเวลา 16 วินาที จงหากาลังที่ชายคนนี้ใช้ในการไต่บันได วิธีทา จาก P = t W หรือ P = t FS = )...........( )..)(.................( = …………. Watt 4. ลิฟต์มีมวล 50 kg ถูกยกขึ้นสูง 30 m ในเวลา 25 วินาที จงหากาลังของลิฟต์เครื่องนี้ วิธีทา จาก P = t W หรือ P = t FS = )...........( )..)(.................( = …………. Watt ตอนที่ 2 จงหาคาตอบ 1. จงหางานที่ใช้ในการลากกระสอบข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไปบนพื้นราบฝืดเป็นระยะทาง 20.0 เมตร ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกระสอบข้าวสารเท่ากับ 0.05 2. ชายคนหนึ่งออกแรง 124 นิวตัน ลากเลื่อนไปบนพื้นราบโดยแนวแรงทามุม 37 องศากับพื้น จงหางาน เนื่องจากแรงนี้ เมื่อเลื่อนเคลื่อนที่ไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 0.50 กิโลเมตร กาหนดให้ cot 37 = 4/3 3. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นราบเมื่อถูกแรงกระทาเป็นเวลานาน 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเป็น 40 เมตรต่อวินาที จงหากาลังที่ทาได้เป็นกี่วัตต์
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 10 ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ 1. แรงคงที่ 6 N กระทาอย่างต่อเนื่องกับวัตถุ มวล 3 kg ที่อยู่นิ่งบนพื้นราบลื่นให้เคลื่อนที่ จงหางานที่แรงนี้ กระทาในเวลา 2 วินาที วิธีทา จาก W = F. S แทนค่า W = ( 6 ) S ( 1 ) หา S จาก S = ut + 2 1 at2 และ a จาก F = ma 2. วัตถุมวล 5 kg ถูกฉุดด้วยแรง 20 N ในทิศทามุม 60o กับแนวระดับ วัตถุเคลื่อนเป็นระยะ 7 เมตร จงหางาน เนื่องจากแรงนี้ วิธีทา จาก W = FScos 3. ชายคนหนึ่งหนัก 500 N ไต่บันไดสูง 5 m ในเวลา 25 วินาที จงหากาลังที่ชายคนนี้ใช้ในการไต่บันได วิธีทา จาก P = t W หรือ P = t FS 4. ลิฟต์มีมวล 25 kg ถูกยกขึ้นสูง 20 m ในเวลา 10 วินาที จงหากาลังของลิฟต์เครื่องนี้ วิธีทา จาก P = t W หรือ P = t FS
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 11 แบบทดสอบ เรื่อง งานและกาลัง ผลการเรียนรู้ที่ 1 สารวจตรวจสอบ อธิบาย และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลัง คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. การเข็นรถไปตามพื้นราบและการเข็นรถขึ้นไปตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอในระยะทางเท่ากัน กรณีใดทางานมากกว่า เพราะเหตุใด ถ้าถือว่าแรงเสียดทานที่กระทาต่อรถทั้งสองกรณี มีขนาดเท่ากัน ก. การเข็นรถไปตามพื้นราบทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงน้อยกว่าการเข็นรถไปตามพื้นเอียง ข. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงน้อยกว่าการเข็นรถไปตามพื้นราบ ค. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานมากกว่าเพราะต้องออกแรงมากกว่าการเข็นรถไปตามพื้นราบ ง. การเข็นรถไปตามพื้นเอียงทางานเท่ากันเพราะต้องออกแรงเท่ากับการเข็นรถไปตามพื้นราบและ ได้ระยะทางเท่ากันด้วย 2. ชายคนหนึ่งหิ้วถังน้าหนัก 100 นิวตัน เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ระยะทาง 20 เมตร จงหางานในการ หิ้วถังน้ามีค่ากี่จูล ก. 2000 ข. 120 ค. 5 ง. 0 3. ชายคนหนึ่งถือของมวล 10 กิโลกรัม นั่งอยู่บนรถบรรทุก ถ้ารถบรรทุกแล่นไปบนเนินสูงได้ระยะทาง 50 เมตร โดยเนินสูงนี้สูงจากระดับเดิม 5 เมตร ชายคนนี้ทางานกี่จูล ก. 5000 ข. 500 ค. 60 ง. 0 4. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุน้าหนัก 15 นิวตัน เคลื่อนที่บนพื้นเอียงยาว 5 เมตร ที่มีแรงเสียดทานน้อยมาก จาก A ไป B ดังรูป จงหางานที่ทา ก. 0 จูล ข. 15 จูล ค. 30 จูล ง. 45 จูล 5. จงหางานที่ใช้ในการลากกระสอบข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไปบนพื้นราบฝืดเป็นระยะทาง 20.0 เมตร ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับกระสอบข้าวสารมีค่า เท่ากับ 0.05 ก. 200 จูล ข. 450 จูล ค. 750 จูล ง. 1,000 จูล โจทย์ ใช้ตอบคำถำมข้อ 6 - 7 “ชำยคนหนึ่งใช้เชือกลำกกล่องไม้มวล 11.0 กิโลกรัม ไปบนพื้นรำบฝืดด้วยอัตรำเร็วสม่ำเสมอเป็น ระยะทำง 1.0 กิโลเมตร โดยเชือกทำมุม 37 องศำกับพื้น ถ้ำสัมประสิทธิ์ควำมเสียดทำน ระหว่ำงพื้นกับ กล่องไม้เท่ำกับ 0.5” B A 3m เม 4m เม
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 12 6. จงหา งานที่ชายคนนี้ทา ก. 20 กิโลจูล ข. -20 กิโลจูล ค. 40 กิโลจูล ง. -40 กิโลจูล 7. จงหา งานเนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องไม้ ก. 20 กิโลจูล ข. -20 กิโลจูล ค. 40 กิโลจูล ง. -40 กิโลจูล 8. นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกขึ้นสูง 5.0 เมตร ในเวลา 20 วินาที เขาใช้กาลังไปกี่วัตต์ ก. 150 ข. 300 ค. 3,000 ง. 6,000 9. นักกายกรรมหนัก 400 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10.0 เมตร จากพื้นดิน จงหา กาลังเฉลี่ยที่เขาใช้ ถ้าอัตราเร็วเฉลี่ยในการไต่เชือกของเขาเท่ากับ 0.5 เมตรต่อวินาที ก. 200 วัตต์ ข. 2,000 วัตต์ ค. 400 วัตต์ ง. 4,000 วัตต์ 10. เครื่องยนต์เรือลาหนึ่ง เมื่อใช้แรง 3x103 นิวตัน จะสามารถทาให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 6.0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหากาลังของเครื่องยนต์เรือลานี้เป็นกี่กิโลวัตต์ ก. 3 ข. 5 ค. 15 ง. 18
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 13 พลังงาน คือ ความสามารถในการทางานได้ พลังงานเป็น ปริมาณสเกลาร์ พลังงานมีหลายรูปแบบเช่น พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเคมี พลังงานกล เป็นต้น พลังงานกล คือพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ และพลังงานที่สะสมในตัววัตถุซึ่ง อาจถูกปลดปล่อยออกเป็นพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้ พลังงานกลของวัตถุมี 2 รูปแบบได้แก่ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ ( Kinetic Energy , Ek ) พลังงานจลน์ คือพลังงานกลที่ขึ้นกับความเร็วของวัตถุ วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วจะ มีพลังงานจลน์ วัตถุที่อยู่นิ่งจะไม่มีพลังงานจลน์ เราสามารถหาขนาดของพลังงานจลน์ได้จาก Ek = 2 1 m v2 เมื่อ Ek คือ พลังงานจลน์ (จูล) m คือ มวล (กิโลกรัม) v คือ ความเร็วของวัตถุ ( เมตร/วินาที ) ตัวอย่าง ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน วิธีทา Ek 2 mv 2 1  Ek = ½ ( 0.002 )( 400 )2 Ek = 160 J ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ถ้าเราทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทางานอย่างหนึ่ง ปริมาณงานที่ทาได้ทั้งหมดจะเท่ากับ พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป W = Ek เมื่อ W = ปริมาณงานที่ทา มีหน่วยเป็น จูล ( J ) Ek = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น จูล ( J ) vF Ek1 Ek2 s พลังงาน( Energy )
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 14 ตัวอย่าง รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถ เคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุดนิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทาให้รถหยุดมีค่าเท่าใด วิธีทา W = Ek Ek = Ek2 - Ek1 Ek = 0 - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)2 Ek = - 8x103 J  W = - 8x103 J ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทาน ได้ระยะ กระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทาโดยแรงเสียดทาน วิธีทา W = Ek Ek = Ek2 - Ek1 Ek = 0 , ( Ek2 = Ek1 ) W = ( F – f )s = Fs – fs = WF – Wf = 0 , ( W = Ek ) WF = Wf , ( Fs = Wf ) = (20)(3)  งานที่ทาโดยแรงเสียดทาน = 60 J พลังงานศักย์ ( Potential Energy , Ep ) พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่สะสมอยู่ในตัววัตถุซึ่งอาจถูกปลดปล่อยออกมาเป็นพลังงานรูปแบบอื่นๆ ได้ พลังงานศักย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วง เรียกว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง เช่น เมื่อเราแบก วัตถุไว้สูงจากพื้นขนาดหนึ่ง ในวัตถุจะมีพลังงานสะสมอยู่ พลังงานที่สะสมตรงนี้เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก เราเรียกพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งหาขนาดได้จาก Ep = m g h เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( จูล ) m คือ มวล (กิโลกรัม) g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( เมตร/วินาที2 ) h คือ ความสูงจากจุดเปรียบเทียบถึงวัตถุ ( เมตร ) F Ek1 Ek2 s F Ek1 Ek2 sf mg h
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 15 พลังงานศักย์ซึ่งเกี่ยวข้องกับความยืดหยุ่นของวัตถุ เรียกว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เช่นเมื่อเรานาวัตถุติดไว้ตรงปลายสปริง ดังรูป หากเราไม่ออกแรงดึงสปริงให้ยืดหรือกดสปริงให้ยุบ จุดที่วัตถุอยู่ (ปลายสปริง) จะเรียก จุดสมดุล ณ จุดตรงนี้วัตถุจะไม่มีพลังงานศักย์ หากเราดึงสปริงให้ยืด หรือกดให้ยุบ ให้วัตถุอยู่ห่างจากจุดสมดุล ในวัตถุจะมีพลังงานศักย์สะสมอยู่เรียก พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ซึ่งหาขนาดได้จาก Ep = 2 1 k s2 เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( จูล ) s คือ ระยะห่างจากจุดสมดุล (เมตร) k คือ ค่านิจสปริง (นิวตัน/เมตร ) โดย k = sF เมื่อ F คือ แรงกระทา ( นิวตัน ) s คือ ระยะห่างจากสมดุล ซึ่งเกิดจากแรง F ( เมตร ) ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหา พลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน วิธีทา Ep = mgh Ep = ( 600 )( 10 ) Ep = 6x103 จูล ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา ก. แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร ข. พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร วิธีทา ก. จาก F = kx F = ( 150 )( 0.25 ) F = 37.5 N ข. จาก EP 2 k.x 2 1  EP 2 )(150)(0.25 2 1  EP = 4.6875 J
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 16 แบบฝึกหัด เรื่อง พลังงานกล ตอนที่ 1 เติมคาลงในช่องว่าง 1. เราจะทราบได้อย่างไรว่าวัตถุใดมีพลังงานหรือไม่………………………………………………...…… 2. วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว มีพลังงานชนิดใด…………………………………………….……… 3. พลังงานจลน์จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอะไร…………………………………………………….……… 4. งานของแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุจะเท่ากับ……………………………………………………………… 5. พลังงานจลน์ มีหน่วยเป็น……………………………………………………………………………… 6. พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่ในที่สูง ซึ่งเกิดจากแรงดึงดูดของโลก เรียกว่า……………………………… 7. พลังงานศักย์โน้มถ่วง วัดจาก…………………………………………………………………………… 8. เมื่อวัตถุตกลงโดยอิสระ พลังงานศักย์ที่ลดลงจะเท่ากับ………………………………………………… 9. พลังงานศักย์ที่เกี่ยวกับการยืดหรือหดของสปริง เรียกว่า ……….………………….…………………… 10. สมการพลังงานศักย์ที่เกี่ยวกับการยืดหรือหดของสปริง คือ …………………………………………… 11. ลูกปืนมวล 0.15 กิโลกรัม เคลื่อนออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.60 m ด้วยอัตราเร็ว 20 m/s จงหา พลังงานจลน์ของลูกปืน วิธีทา จาก Ek = 2 1 mv2 Ek = 2 1 ( …… )(…….. )2 = …………. จูล 12. นักกายกรรมหนัก 650 N ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่ง ขึ้นไปสูง 10 m จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้ม ถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูงสุด วิธีทา จาก Ep = mgh Ep = ( ……… )(………. ) Ep = ………… จูล
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 17 13. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงดึง 60 N จะทาให้ยืดออก 15 เซนติเมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริง เมื่อสปริงยืดออกมา 10 เซนติเมตร วิธีทา จาก F = kx 60 = k ( ……………) k = ………………… N/m Ep = 2 1 kx2 Ep = 2 1 ( …… )(…….. )2 = …………. จูล ตอนที่ 2 จงหาคาตอบ 1. ลูกปืนมวล 1.0 กรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 250 เมตร/วินาที ไปกระทบเป้าซึ่งเป็นไม้ ลูกปืนจมลงไปใน เนื้อไม้ลึก 4.0 เซนติเมตร จงหาแรงเฉลี่ยของลูกปืนที่กระทาต่อไม้ในการเคลื่อนที่เข้าไปในเนื้อไม้ 2. ลูกปืนมวล 0.02 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.75 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/วินาที จงหา แรงที่ดันให้ลูกปืนหลุดออกจากลากล้องเป็นกี่นิวตัน 3. เครื่องชั่งสปริงแบ่งสเกลไว้ตั้งแต่ 0 – 30 นิวตัน บนสเกลที่ยาว 0.15 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของ สปริง ขณะที่เครื่องสปริงอ่านค่าแรงได้ 20 นิวตัน ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ 1. ลูกปืนมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.50 m ด้วยอัตราเร็ว 30 m/s จงหา พลังงาน จลน์ของลูกปืน วิธีทา จาก Ek = 2 1 mv2
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 18 2. นักกายกรรมหนัก 450 N ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่ง ขึ้นไปสูง 15 m จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้ม ถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูงสุด วิธีทา จาก Ep = mgh 3. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงดึง 20 N จะทาให้ยืดออก 20 เซนติเมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริง เมื่อ สปริงยืดออกมา 8 เซนติเมตร วิธีทา จาก F = kx Ep = 2 1 kx2
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 19 แบบทดสอบ เรื่อง พลังงานกล ผลการเรียนรู้ที่ 2 สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณเกี่ยวกับพลังงานกล ความสัมพันธ์ ระหว่างงานและพลังงานจลน์ คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. นักกายกรรมหนัก 500 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10.0 เมตร จากพื้น จงหา พลังงานจลน์เฉลี่ยขณะที่เขากาลังเคลื่อนที่ ถ้าอัตราเร็วเฉลี่ยในการไต่เท่ากับ 0.50 เมตรต่อวินาที ก. 5 จูล ข. 6.25 จูล ค. 25.0 จูล ง. 72.5 จูล 2. จากข้อ 1. จงหาพลังงานศักย์เมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 8 เมตร จากพื้นดิน ก. 400 จูล ข. 500 จูล ค. 4,000 จูล ง. 5,000 จูล 3. อิเล็กตรอน 1 ตัว มีมวลประมาณ 9x10-31 กิโลกรัม จงหาจะต้องใช้อิเล็กตรอนกี่ตัว จึงจะมีพลังงาน จลน์เป็น 9 จูล ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2x108 เมตร/วินาที ก. 1x1014 ข. 3x1014 ค. 5x1014 ง. 9x1014 4. ลูกปืนมวล 2.0 กรัม เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 200 เมตร/วินาที ไปกระทบเป้าซึ่งเป็นไม้ ลูกปืนจมลงไป ในเนื้อไม้ลึก 5.0 เซนติเมตร ลูกปืนมีพลังงานจลน์เปลี่ยนไปกี่จูล ก. 20 จูล ข. 40 จูล ค. 80 จูล ง. 100 จูล 5. ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/ วินาที จงหางานที่ทาให้ลูกปืนหลุดออกจากลากล้องเป็นกี่จูล ก. 80 จูล ข. 160 จูล ค. 240 จูล ง. 320 จูล 6. เครื่องชั่งสปริงแบ่งสเกลไว้ตั้งแต่ 0 – 20 นิวตัน บนสเกลที่ยาว 0.10 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่น ของสปริง ขณะที่เครื่องสปริงอ่านค่าแรงได้ 10 นิวตัน ก. 1.00 จูล ข. 0.75 จูล ค. 0.50 จูล ง. 0.25 จูล 7. วัตถุมวล 1.00 กิโลกรัม ติดอยู่กับปลายข้างหนึ่งของสปริง ดังรูป เมื่อสปริงถูกกดเข้า เป็นระยะ 0.20 เมตรจากตาแหน่งสมดุล แล้วถูกปล่อย จงหาอัตราเร็วของวัตถุขณะผ่านตาแหน่งสมดุลของสปริง เมื่อ ค่าคงตัวของสปริงเท่ากับ 400 นิวตันต่อเมตร ( พื้นลื่น ) ก. 4 m/s ข. 3 m/s ค. 2 m/s ง. 1 m/s ตาแหน่งสมดุล
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 20 8. ก้อนหินมวล 40.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 185 เมตร เหนือพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์ของก้อนหิน เมื่อ เวลาผ่านไป 1 วินาที เป็นกี่จูล ก. 4.6x104 ข. 6.8x104 ค.7.2x104 ง. 9.6x104 9. จากข้อ 8. เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ขณะนั้นก้อนหินมีพลังงานจลน์เป็นกี่จูล ก. 5x103 ข. 5x104 ค. 5x105 ง. 5x106 10. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นโต๊ะที่มีแรงเสียดทานน้อย มาก ( ไม่คิดแรงเสียดทาน ) มีแรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุใน แนวขนานกับพื้นโต๊ะ กราฟระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างแรง กับเวลาแสดงดังรูป พลังงานจลน์ของวัตถุเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 6 มีค่าเท่ากับกี่จูล ก. 136 ข. 256 ค. 396 ง. 436
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 21 พลังงานรวมของระบบ คือ ผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของระบบ กฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า “พลังงานรวมของระบบจะไม่สูญหายไปไหน แต่อาจเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้” ดังนั้นจากรูปข้างบนที่ตาแหน่ง A , B , C และ D จะต้องมีพลังงานรวมของระบบ เท่ากันยกตัวอย่างเช่น ถ้าที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานรวมของระบบเท่ากับ 10 จูล จะได้ ที่ตาแหน่ง B , C และ D จะมีพลังงานรวมของระบบเท่ากับ 10 จูล ด้วย ถ้าแยกละเอียดเป็นพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ จะได้ ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์เท่ากับ 0 จูล และพลังงานจลน์มีค่า เท่ากับ 10 จูล รวมเท่ากับ 10 จูล ที่ตาแหน่ง B จะมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น และพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงรวม แล้วเท่ากับ 10 จูล ที่ตาแหน่ง C จะมีพลังงานศักย์เพิ่มขึ้น และพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงรวมแล้วเท่ากับ 10 จูล จนกระทั่งที่ตาแหน่งสูงสุดจะมีพลังงานศักย์เท่ากับ 10 จูล และพลังงานจลน์เป็นศูนย์รวมแล้วเท่ากับ10 จูล A C D B จากรูป ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ โดยที่ ตาแหน่ง B จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ ตาแหน่ง C จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ ตาแหน่ง D จะมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ โดย ที่ตาแหน่ง A จะมีพลังงานศักย์เป็นศูนย์แล้วพลังงานศักย์จะเพิ่มขึ้น จนมีค่ามากที่สุดที่ตาแหน่งสูงสุด และที่ตาแหน่ง A จะมีค่าพลังงานจลน์ มากที่สุดแล้วพลังงานจลน์จะมีค่าลดลงจนเป็นศูนย์ที่ตาแหน่งสูงสุด A C D B ( Ep + Ek ) ( Ep + Ek ) ( Ep + Ek ) ( Ep + Ek ) กฎการอนุรักษ์พลังงาน
  • 22. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 22 ตัวอย่างก้อนหินมวล 50.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 196 เมตรเหนือพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ ของก้อนหินขณะที่ก้อนหินเริ่มตก และพลังงานรวมของระบบ วิธีทา ที่ตาแหน่งเริ่มตก จะมีพลังงานศักย์สูงสุด หาได้จาก Ep = mgh Ep = (50)(10)(196) Ep = 9.8x104จูล Ek = 2 mv 2 1 Ek = ( ½ )( 50 ) ( 0 )2 Ek = 0 จูล  พลังงานรวมของระบบ เท่ากับ Ep + Ek = 9.8x104 จูล เครื่องกล ประสิทธิภาพของเครื่องกลและเครื่องใช้ไฟฟ้า ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์ = งานที่ได้รับจากเครื่องกล หรืออุปกรณ์ งานที่ให้กลับเครื่องกล หรืออุปกรณ์ ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์ = 1 หมายถึง ไม่มีการสูญเสียพลังงาน ประสิทธิภาพเป็น 100% ประสิทธิภาพของเครื่องกล หรือ อุปกรณ์  1 หมายถึง มีการสูญเสียพลังงานและมีประสิทธิภาพน้อยกว่า100% ประสิทธิภาพของเครื่องกลหรืออุปกรณ์ = งานที่ได้รับจากเครื่องกล หรืออุปกรณ์ X100 % งานที่ให้กับเครื่องกล หรืออุปกรณ์ ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด วิธีทา 1. หางานที่ได้รับจากรอก จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (60)(s/2) ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ (s/2) ( Ep + Ek ) 196 เมตร 40 N 6 kg s s/2
  • 23. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 23 2. หางานที่ให้จากรอก จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (40)s ประสิทธิภาพของรอก = งานที่ได้รับ X 100 % งานที่ให้ ประสิทธิภาพของรอก = (40)s 2 s (60)       X 100 % ประสิทธิภาพของรอก = 75 % ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการเคลื่อนวัตถุไปบนพื้นเอียง จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (2)L ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความยาวของพื้นเอียง (L) 2. หางานที่ได้รับในการเคลื่อนวัตถุมาที่บนสุด หาได้ จากสูตร W = mgh แทนค่าจะได้ W = (3)(Lsin 30) ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความสูงของพื้นเอียง ( Lsin30 ) ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = งานที่ได้รับ X 100 % งานที่ให้ ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = (2)L (3)Lsin30 X 100 % ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = 75 % 2 N 3 N 30
  • 24. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 24 ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของเครื่องกลดังรูปมีค่าเท่าใด วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการหมุนสกรู จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (1)2r , (   3 ) ให้ระยะทางที่จับแขนสกรูเคลื่อนที่ได้คือระยะความยาวของเส้นรอบวง W = (1)(2)(3)(0.5) = 3 จูล 2. หางานที่ได้รับคือการเคลื่อนวัตถุขึ้นมา 1 ระยะเกลียวเมื่อหมุน 1 รอบ จากสูตร W = mgh ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ 1 ระยะเกลียว = 0.01 m แทนค่าจะได้ W = (10)(10)(0.01) = 1 จูล ประสิทธิภาพของสกรู = งานที่ได้รับ X 100 % งานที่ให้ ประสิทธิภาพของสกรู = 3 1 X 100 % ประสิทธิภาพของสกรู = 3 1 X 100 % F = 1 N ระยะห่างระหว่างเกลียว 1 ซม 10 kg 0.5 m
  • 25. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 25 ตัวอย่างตัดแปะ Ex 1 Ex 2
  • 26. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 26 Ex 3
  • 27. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 27 Ex 4
  • 28. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 28 พลังงานรวมของลูกบอลจะสูญเสียให้กับงาน เนื่องจากแรงเสียดทานทั้งหมด จึงทาให้ลูก บอลหยุดนิ่ง ดังนั้น Ex 5 Ex 6
  • 29. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 29 Ex 7 Ex 8
  • 30. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 30 ตัวอย่างเครื่องกล
  • 31. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 31 ตัวอย่างเครื่องกล
  • 32. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 32 แบบฝึกหัด เรื่อง กฎการอนุรักษ์พลังงาน ตอนที่ 1 เติมคาลงในช่องว่าง 1. กฎการอนุรักษ์พลังงาน หมายถึง …………………………………………………………………… 2. ในกรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานกล เป็นผลรวมของ……………………………………… 3. ในกรณีที่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานกล เป็นผลรวมของ………………………………………… 4. วัตถุที่ตกอย่างอิสระ กรณีนี้ถือว่ามีแรงภายนอกมากระทาหรือไม่ ……………………………………… 5. วัตถุที่เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีแรงเสียดทาน กรณีนี้ถือว่ามีแรงภายนอกมากระทาหรือไม่ ……………… 6. จากข้อ 4 พลังงานกลของระบบ มี อะไรบ้าง …………………………………………………………… 7. จากข้อ 5 พลังงานกลของระบบ มี อะไรบ้าง …………………………………………………………… 8. จากข้อ 4 เมื่อนามาเขียนในรูป กฎการอนุรักษ์พลังงาน จะมีสมการเป็นอย่างไร ……………………… ……………………………………………………………………………………………………… 9. จากข้อ 5 เมื่อนามาเขียนในรูป กฎการอนุรักษ์พลังงาน จะมีสมการเป็นอย่างไร ……………………… ………………………………………………………………………………………………………… 10. โยนวัตถุขึ้นไปในอากาศ ขณะที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่ กรณีนี้ ทุกตาแหน่งพลังงานกลของระบบจะมีอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………
  • 33. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 33 11. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 4 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงปรากฏว่าสปริงหด สั้นมากที่สุด 8 เซนติเมตร ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตันต่อเมตร วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน 2 1 mv2 = 2 1 kx2 ( 5 ) ( …… )2 = k ( …………… )2 k = …………………. N/m 12. หินก้อนมีมวล 8 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมี อัตราเร็ว 2 m/s ที่จุด X และ 3 m/s ที่จุด Y จงหางานของแรง เสียดทานที่กระทาต่อก้อนหิน ในช่วงการเคลื่อนที่จาก X ไป Y วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน mgh + 2 1 mvx 2 = 2 1 mvy 2 + Wf ( …… )( 10 )( ….. )+ 2 1 ( 8 ) (…. )2 = 2 1 ( ….. )( 3 )2 + Wf Wf = ………… จูล 13. ผูกสปริงอันหนึ่งกับมวลขนาด 3 กิโลกรัม และยึดติด กับผนังดังรูป สปริงมีค่านิจเท่ากับ 100 นิวตันต่อเมตร เมื่อดังออกจากเดิม 15 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้มวล เคลื่อนที่ พบว่าขณะที่มวลผ่านตาแหน่งสมดุล วัด ความเร็วได้ 1 เมตรต่อวินาที สัมประสิทธิ์ความเสียด ทานระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าใด วิธีทา 2 1 kx2 = 2 1 mv2 + Wf 2 1 kx2 = 2 1 mv2 + mg.x 2 1 (……. )(…….) 2= 2 1 ( …… )( ……. ) 2 + (……. )(10).( 15x10- 2)  = …………………. X Y 5 m 8 m 15 cm
  • 34. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 34 ตอนที่ 2 จงเติมคาและหาคาตอบ จากรูป ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด วิธีทา 1. หางานที่ได้รับจากรอก จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (…….)(s/2) ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ (s/2) 2. หางานที่ให้จากรอก จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (……..)s ประสิทธิภาพของรอก = X 100 % ประสิทธิภาพของรอก = ...)s(......... 2 s )(.........       X 100 % ประสิทธิภาพของรอก = ……………. % จากรูป ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการเคลื่อนวัตถุไปบนพื้นเอียง จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (…….)L ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความยาวของพื้นเอียง (L) 2. หางานที่ได้รับในการเคลื่อนวัตถุมาที่บนสุด หาได้ จากสูตร W = mgh แทนค่าจะได้ W = (………)(Lsin 30) ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ ระยะความสูงของพื้นเอียง ( Lsin30 ) ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = X 100 % ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = .......)L(......... ...)Lsin30(......... X 100 % ประสิทธิภาพของพื้นเอียง = ………… % 60 N 90 kg s s/2 5 N 8 N 3 0
  • 35. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 35 จากรูป ประสิทธิภาพของเครื่องกลมีค่าเท่าใด วิธีทา 1. หางานที่ให้ในการหมุนสกรู จากสูตร W = Fs แทนค่าจะได้ W = (……)2r , (   3 ) ให้ระยะทางที่จับแขนสกรูเคลื่อนที่ได้คือระยะความยาวของเส้นรอบวง W = (……..)(2)(3)(0.6) = ………. จูล 2. หางานที่ได้รับคือการเคลื่อนวัตถุขึ้นมา 1 ระยะเกลียวเมื่อหมุน 1 รอบ จากสูตร W = mgh ให้ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้คือ 1 ระยะเกลียว = 0.01 m แทนค่าจะได้ W = (………..)(10)(……….)= ……….. จูล ประสิทธิภาพของสกรู = X 100 % ประสิทธิภาพของสกรู = ………….. % ตอนที่ 3 แบบฝึกทักษะ 1. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนสปริงปรากฏว่าสปริงหด สั้นมากที่สุด 10 เซนติเมตร ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตันต่อเมตร วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน 2 1 mv2 = 2 1 kx2 F = 5 N ระยะห่างระหว่างเกลียว 1 ซม 15 kg 0.6 m
  • 36. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 36 2. หินก้อนหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินเอียง ถ้าก้อนหินมี อัตราเร็ว 1 m/s ที่จุด X และ 4 m/s ที่จุด Y จงหางานของ แรงเสียดทานที่กระทาต่อก้อนหิน ในช่วงการเคลื่อนที่จาก X ไป Y วิธีทา จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน mgh + 2 1 mvx 2 = 2 1 mvy 2 + Wf 3. ผูกสปริงอันหนึ่งกับมวลขนาด 2 กิโลกรัม และยึดติด กับผนังดังรูป สปริงมีค่านิจเท่ากับ 50 นิวตันต่อเมตร เมื่อดังออกจากเดิม 20 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้มวล เคลื่อนที่ พบว่าขณะที่มวลผ่านตาแหน่งสมดุล วัด ความเร็วได้ 0.4 เมตรต่อวินาที สัมประสิทธิ์ความ เสียดทานระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าใด วิธีทา 2 1 kx2 = 2 1 mv2 + Wf 2 1 kx2 = 2 1 mv2 + mg.x X Y 4 m 5 m 20 cm
  • 37. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 37 แบบทดสอบ เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน ผลการเรียนรู้ที่ 3 สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์พลังงาน และรวม ไปถึง กฎการอนุรักษ์พลังงานรูปอื่น คาสั่ง ให้กาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โจทย์ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 3 “ก้อนหินมวล 50.0กิโลกรัม ตกจำกที่สูง 200 เมตรเหนือพื้นดิน” 1. จงหาพลังงานศักย์ของก้อนหิน เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J 2. จงหาพลังงานจลน์ของก้อนหิน เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J 3. จงหางานรวมของระบบ เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ก. 1.0x105 J ข. 2.0x104 J ค. 4.0x104 J ง. 6.0x104 J 4. ลูกกลมอันหนึ่งตกลงกระทบพื้นตามแนวดิ่งจากจุด X ผ่าน Y ซึ่ง Y เป็นจุดที่ ระยะห่าจากตาแหน่ง X เท่ากับ2/5ของระยะ X ถึงพื้น ถ้าให้ Ep เป็นพลังงาน ศักย์ โน้มถ่วงของวัตถุที่ตาแหน่ง X และ Ek เป็นพลังงานจลน์ของวัตถุที่ ตาแหน่ง Y เป็นกี่เท่าของ Ep ก. Ek = 3 2 Ep ข. Ek = 2 3 Ep ค. Ek = 5 3 Ep ง. Ek = 3 5 Ep โจทย์ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 7 “โยนวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ขึ้นตำมแนวดิ่ง เมื่อขึ้นไปได้สูงสุด 3 เมตร วัตถุตกกลับมำที่เดิม ดังรูป x , y และ z เป็นตำแหน่งต่ำงๆของวัตถุขณะอยู่สูง จำกพื้น” 5. จงหาพลังงานจลน์ที่ตาแหน่ง Y และ Y เป็นจุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J 6. จงหาพลังงานรวมของระบบที่ตาแหน่ง X ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J 7. จงหาพลังงานศักย์ที่ตาแหน่ง Z เมื่อที่ตาแหน่ง Z มีพลังงานจลน์เท่ากับ 2 จูล ก. 0 J ข. 2 J ค. 4 J ง. 6 J X Y X Y Z
  • 38. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 2 เรื่อง งานและพลังงาน หน้า 38 8. ประสิทธิภาพของรอก ดังรูปมีค่าเท่าใด ก. 65 % ข. 70% ค. 75 % ง. 80% 9. ประสิทธิภาพของพื้นเอียงมีค่าเท่าใด ถ้าใช้เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง ก. 33.33 % ข. 66.67% ค. 75.00 % ง. 80.00% 10. ประสิทธิภาพของเครื่องกลดังรูปมีค่าเท่าใด ก. 33.33 % ข. 66.67% ค. 75.00 % ง. 80.00% 3 N 4 N 3 0 F = N }1 cm 20 kg 0.5 m 50 N 8 kg s s/2