SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
แก๊ส (Gas) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1. การวัดปริมาตร อุณหภูมิ และความดัน ปริมาตร (volume) Unit – L or l mL or ml cm 3 dm 3 m 3
Pressure Unit SI Unit  1 atm  = 1.013 x 10 5  pascal = 1.013 x 10 6  dyne cm  -2   = 14.7  lb inch -2   =  760  torr 1 pascal  =  1 N m -2 Evangelista Torricelli 1608-1647(Italian Physicist) Barometer  ประดิษฐ์ขึ้นในปี  1643 Torricellian vacuum
รูปที่  1   บารอมิเตอร์ (barometer) h สูญญากาศ
Pressure  =  force/area P  =  F/A  …………  (1) ตามกฎของนิวตัน F  = mg g  =  ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก เมื่อเขียนมวลในรูปความหนาแน่นกับปริมาตร จะได้ m  =  มวล   =   V  โดย     =  ความหนาแน่น และ V=   ปริมาตร ดังนั้น F =   V   g  ………...  (2)  จากรูปที่  1   จะได้ว่า F  =   (  r 2 h ) g   …….  (3)
r =  รัศมีของหลอดแก้ว h =  ความสูงของปรอทในหลอดแก้ว จะได้ P = [  (  r 2 h) g ]/   r 2  r 2   คือ พื้นที่ภาคตัดขวางของหลอดแก้ว จะได้ P =   hg   …………… (4) เนื่องจาก     และ  g  เป็นค่าคงที่  ดังนั้น สมการ ที่  4   จึงหมายหมายความว่า  P  แปรผันตรง  กับ  h
h P บรรยากาศ P ปรอท P แก๊ส แก๊ส h P ปรอท P แก๊ส แก๊ส ก . ข . รูปที่  2  ก .  มาโนมีเตอร์ปลายเปิด  ข .  มาโนมีเตอร์ปลายปิด   สูญญากาศ
จากรูปที่  2 ก P gas  = P atm  + P ของลำปรอทสูง h  ……….(5) คำถาม  ถ้าความดันของแก๊สน้อยกว่าความดันบรรยากาศ ระดับปรอทที่ต่ออยู่กับแก๊สจะ …… สูงกว่า ต่ำกว่า ลำปรอทปลายเปิดที่สูง  h จากรูปที่  2 ก ก็อาจเป็น P gas  = P atm  - P ของลำปรอทสูง h  ……….(6)
จากรูปที่  2 ข ซึ่งปลายหลอดปิด จะได้ P gas  =  P   ของลำปรอทสูง h  …………………………..(7) ( สมมุติ ความดันไอของปรอทน้อยมากจนตัดทิ้งได้ ) P   เฉลี่ยของบรรยากาศ  =  760 torr   หรือ  mmHg ที่  0 o  C   และระดับน้ำทะเล  เรียกว่าความดันมาตรฐาน  ความดัน  1   บรรยากาศ
เพื่อเปรียบเทียบหรืออ้างอิง กำหนดภาวะมาตรฐานที่  0 0 C   หรือ  273.15 K ความดัน  1 atm   หรือ  1.013 x 10 5   Pa เรียก  STP  (standard temperature and pressure) หรือ  NTP (normal temperature and pressure) แทนการเรียก สภาวะมาตรฐาน
2.  กฎของบอยล์   (Boyle’s law) Robert Boyle 1662 ที่  T  คงที่  V     1/P  V  = k 1  .(1/P) ( V  คือปริมาตร   P   คือ ความดัน  และ   k   คือค่าคงที่ ) หรืออาจจะเขียนสมการได้เป็น VP  =  k 1   ……(8) แสดงว่าผลคูณระหว่างความดันกับปริมาตร ณ อุณหภูมิคงที่ใดๆ จะมีค่าคงที่เสมอ จึงเขียนสมการได้ว่า  P 1 V 1   =  P 2 V 2
กราฟที่พล็อตระหว่าง  P  กับ  V   จะเป็นรูปไฮเปอร์โบลา (hyperbola) เส้นกราฟที่ได้เรียกว่า  ไอโซเทอร์ม (isotherm)   [iso  แปลว่าเหมือน ] รูปที่  3 ก แสดงกราฟ  P-V   ที่  T   คงที่ เส้นกราฟเรียกว่าเส้นไอโซเทอร์ม รูปที่  3 ข แสดงกราฟ  P-V   ที่  T   ต่างกัน P 1 V 1 P 3 V 3 P 2 V 2 P V P V T 4 =800 K T 3 =600 K T 2  =400 K T 1  =200 K A B
รูปที่  4 ก แสดงกราฟระหว่าง  P  กับ  1/V   รูปที่  4 ข แสดงกราฟระหว่าง  V   กับ  1/P   1/V P 1/P V A B A B จากสมการที่  8   หมายความว่า เราเปลี่ยนรูสมการได้เป็น P  =  k. (1/V)   หรือ V  =  k. (1/P)   ซึ่งเป็นสมการเส้นตรง ที่ตัดผ่านจุดกำเนิด   (origin) ดังแสดงให้เห็นในรูปที่  4 ก .  และ  4 ข .
P PV A B รูปที่  4 ค แสดงกราฟระหว่าง  PV  กับ  P   แต่ ถ้าพล็อตกราฟระหว่าง  PV   กับ  P   จะได้เส้นตรงขนานกับแกน   P ดังแสดงในรูปที่  4 ค
ตัวอย่างที่  1  แก๊สชนิดหนี่ง มีปริมาตร  350 cm 3   ภายใต้ความดัน  0.92 atm  อุณหภูมิ 21  o C  จงหาปริมาตรของแก๊สนี้ที่  1.4 atm  ณ อุณหภูมิเดียวกันนี้ วิธีทำ  จากสูตร  P 1 V 1   = P 2 V 2 อุณหภูมิคงที่ ที่  21  o C  และค่า  P 1  = 0.92 atm, V 1 = 350 cm 3 P 2  = 1.4  atm, V 2 = ?  Cm 3 แทนค่า   0.92 atm x 350 cm 3   =  1.4 atm x V 2 V 2   =  (0.92 x 350)/1.4 = 230 cm 3
รูปที่  4 ก แสดงกราฟระหว่าง  P  กับ  1/V   รูปที่  4 ข แสดงกราฟระหว่าง  V   กับ  1/P   1/V P 1/P P A B A B จากสมการที่  8   หมายความว่า เราเปลี่ยนรูสมการได้เป็น P  =  k. (1/V)   หรือ V  =  k. (1/P)   ซึ่งเป็นสมการเส้นตรง ที่ตัดผ่านจุดกำเนิด   (origin) ดังแสดงให้เห็นในรูปที่  4 ก .  และ  4 ข .
3 .   กฎของชาลส์  (Charles’s Law จาคส์ ชาร์ลส์   (Jacques Charles)   ศึกษา  การเปลี่ยน  V   ตาม  T และการเปลี่ยน  P   ตาม  T พบว่า  .  T   เพิ่มขึ้น  1  o C   ทำให้ V   เพิ่มขึ้น  1/273   เท่าของ  V   ที่  0 o C เช่น ...   แก๊สปริมาตร  273   cm 3  ที่  0 o C เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น  1   องศา  ( เป็น  1  0 o C) ปริมาตรจะเพิ่มขึ้น  1/273   เท่าของ  273   cm 3 ปริมาตรเพิ่มขึ้น  1  cm 3 เป็น  274  cm 3  ที่อุณหภูมิ  1   o C
ถ้าให้  V  เป็นปริมาตรที่   t   o   C V 0   เป็นปริมาตรที่   0  o   C จะได้   V  =  V 0  + (1/273) t V 0 =  V 0 [1+ (t/273)] =  V 0 [(273 + t)/273]  …………(9) T  = 273 + t T  คืออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน และ คืออุณหภูมิในหน่วยเซลเซียส  จะได้ V  =  V 0  (T/273)  …………(10) V  =  (V 0  /273)T   =  k 2 T หรือ   (V/T)  =  k 2   …………(11) ตีความหมายได้ว่า ที่อุณหภูมิ   T 1   และ   T 2   จะได้ V 1 /T 1   =  V 2 /T 2   =  k 2   …………(12)
-300  -200  -150  -100  -50  0  50  100 -273.15 K V t( o C) รูปที่  5  แสดงกราฟระหว่าง  V  และ   t   ที่ความดันคงที่ (P 1  > P 2  > P 3  > P 4 ) P 4 P 3 P 2 P 1 สรุปกฎของชาร์ลส์ คือ เมื่อ  P  คงที่แต่ละค่า ปริมาตรแก๊สแปรตามอุณหภูมิ (K)
กราฟจะตัดที่  – 273  0 C   หรือ  0 K   เสมอ  จากรูปดูเสมือนว่าที่อุณหภูมินี้ ปริมาตรแก๊สเป็นศูนย์ ความจริง ....... สารจะเปลี่ยนเป็น  ของแข็ง ตัวอย่างที่  2   แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร  79.5   cm 3   ที่  45  0 C  แก๊สจะมีปริมาตร เท่าใดที่  0  0 C  วิธีทำ  จากสูตร   V 1 /T 1  =  V 2 /T 2   V 1  = 79.5  cm 3   T 1  =  273 + 45  K  = 318  K V 2   = ?  T 2  =  273 + 0  K  = 273 K แทนค่า จะได้  ( 79.5   cm 3 ) /318 K  =  (V 2 /273 K) V 2   =  (79.5   cm 3 ) (273 K) /318 K =  68.3  cm 3
โจเซฟ เกย์ - ลุสแสค  (  Joseph Gay-Lussac) ทำการทดลอง พบว่า   เมื่อ  V   คงที่ P     T P  =  kT   (  V  คงที่   ) หรือ  P/V  =  k เมื่อ  k   เป็นค่าคงที่ หรือเขียนได้ว่า P 1 /T 1   =  P 2 /T 2  = k …….  (13) ตัวอย่างที่  2  เมื่อบรรจุแก๊สลงในภาชนะขนาด  10  ลิตร (L)  พบว่ามีความดัน  2.00 atm  อยากทราบว่า   ที่อุณหภูมิเท่าใด จึงจะมีความดัน  2.50 atm วิธีทำ  จากสูตร  P 1 /T 1   =  P 2 /T 2   P 1   =  2.00 atm  T 1  =  273 K   P 2  =  2.50 atm  T 2  =  ?  K แทนค่าในสูตร จะได้ 2.00 atm/ 273 K  =  2.50 atm/  T 2
โจเซฟ เกย์ - ลุสแสค  (  Joseph Gay-Lussac) T 2  =  (2.50 atm)(273 K)/ 2.00 atm =  341 K =  341-273  o C  = 68  o C  ( คำตอบ ) ตัวอย่างที่  4   ถ้าบรรจุแก๊สออกซิเจน  10 L  ที่มีความดัน  50 atm  และอุณหภูมิ  25  o C  ลงในถัง ที่ทนความดันได้  70 atm  แล้วทิ้งไว้ในโกดังเก็บของซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง  38  o C  ถังจะระเบิดหรือไม่   วิธิทำ  จากสูตร  P 1 /T 1   =  P 2 /T 2  P 1  =  50 atm  T 1  =  273+25  =  298 K P 2  =  ?  T 2  =  273 +38  =  311 K แทนค่าในสูตรจะได้   50 atm /298 K  =  P 2 /311 K P 2   =  52 atm เนื่องจากถังแก๊สทนความดันได้  70 atm  ดังนั้นคำตอบคือ  ถังไม่ระเบิด
Joseph Gay-Lussac   ยังศึกษาเพิ่มเติมถึง  การเปลี่ยนแปลง  V   เมื่อผสมแก๊ส 2   ชนิดขึ้นไปมาทำปฏิกิริยากันได้ผลิตผลเป็นแก๊สที่  T  และ   P   คงที่   พบว่า  V สารตั้งต้น /  V สารผลิตผล   =  อัตราส่วนระหว่างเลขจำนวนเต็มค่าน้อยๆเสมอ ผลการทดลองนี้ทำให้อะมาดีโอ อะโวกาโดร  (Amadeo Avogadro) เสนอ  กฎของอะโวกาโดร  ว่า “   ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิและความดันคงที่ แก๊สที่มีปริมาตรเท่ากัน จะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน ” กล่าวอีกอย่างคือ “ ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของแก๊สใดๆจะแปรผันตรงกับ จำนวนโมลของแก๊สนั้น ” นั่นคือ  V     n จะได้  V  =  k  n   …………………(14)
4.   กฎของแก๊สสมบูรณ์แบบ กฎของ บอยส์  กฎของชาร์ลส์ และกฎของอะโวกาโดรใช้ภายใต้คนละสภาวะ สามารถรวมเข้าด้วยกันได้ด้วยวิธีแคลคูลัส ดังนี้ เมื่อ  V   เป็นฟังชันของ  P ,  T   และ  n   จะ เขียนได้ว่า V  =  V(P,T,n)  …………………. (15) อนุพันธ์โดยรวม   (total differential)  คือ dV =  (  V/   P) T,n dP + (  V/   T) P,n dT + (  V/   n) p,T dn  …………(16) จากกฎของบอยล์  V  = k 1 /P  ที่   T  และ  n   คงที่ จะได้ (  V/   P) T,n  =   -k 1 /P 2  =  -V/P  ………….   (17) ในทำนองเดียวกัน เมื่ออาศัยกฎของชาร์ลส์  V = k 2 T  ที่   P  และ   n   คงที่ จะได้ (  V/   T) P,n dT  =  k 2   =  V/n  …………..(18) จากกฎของอะโวกาโดร จะเขียนได้ว่า (  V/   n) p,T   =  k 3   =  V/n  ……………(19)
แทนค่าสมการ  (17), (18), (19)  และ   (16)   จะได้ dV  =  -(V/P) dP + (V/T)dT + (V/n) dn dV/V  =  -dP/P +  dT/T + dn/n  (dP/P)  + (dV/V)  =  (dT/T) + (dn/n)  ………….(20) อินทิเกรตสมการ นี้ จะได้  p 2 p 1  V 2 V 1  T 2 T 1  n 2 n 1 P dP dV V dT T n dn + + = P 2 P 1 V 1 T 1 n 2 n 1 ln ln ln ln = V 2 T 2 + + P 2  V 2 P 1  V 1 n 2  T 2 n 1  T 1 ln ln = P 2  V 2 P 1  V 1 n 2  T 2 n 1  T 1 = = R  ………… (21)
R   คือค่าคงที่ของแก๊ส  (gas constant) จากสมการที่  (21)  เราเขียนสูตรทั่วไปได้ว่า PV nT R = pV  =  nRT  ……….  (22) สมการนี้เรียกว่าสมการแก๊สสมบูรณ์แบบ (the ideal gas law) ในความเป็นจริงจะเป็นไปตามนี้ เมื่อ   T   ไม่ต่ำเกินไป   และ   P   ไม่สูงเกินไป แก๊สสมบูรณ์มีพฤติกรรมตามรูปที่  6
P V รูปที่  6   ก   แสดงกราฟ   P -V P 1/V 1/P V log V รูปที่  6   ข   แสดงกราฟ   P –(1/V) รูปที่  6   ค   แสดงกราฟ   V  – ( 1/P)   รูปที่  6   ง   แสดงกราฟ   log V  -  log P log P A B B A A B A B
จากสมการที่  22   เมื่อ m   เป็นมวล M   เป็นน้ำหนักโมเลกุล จะเขียนสมการใหม่ในรูป ต่อไปนี้ได้ m M PV  = RT  P  = m V ……………  (23) RT  M M RT  P  =  ……………  (24) ……………  (25) เมื่อ     = m/V =  ความหนาแน่นของแก๊ส สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ  1 mol  ที่  STP   หมายความว่า  P = 1 atm, V = 22.4 L, n = 1 mol , T = 273 K  จากสมการที่   ( 25 )
จะได้ R  =   PV nT = (1 atm)(22.4 L) (1 mol)(273 K) 0.08206 L atm K -1  mol -1 R  =   เมื่อคิดในหน่วยอื่น R  =   0.08206 x 10 3  cm 3  )(1.0133 x 10 6  dyne cm -2  K -1  mol -1 ) R  = 8.314 x 10 7  erg K -1  mol -1 ) = 8.314 J K -1  mol -1 ) = 1.987 cal  K -1  mol -1 )
R  =   0.08206 L atm K -1  mol -1 =  1.987 cal K -1  mol -1 =  8.314 J K -1  mol -1 )
ตัวอย่างที่  5   จงคำนวณปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตรฐาน ถ้าที่อุณหภูมิ และที่   0.950 atm   แก๊สนี้มีปริมาตร  6.35 cm 3 วิธีทำ  จากสมการ   (21)   P 1 V 1 P 2 V 2 n 1 T 1 n 2 T 2 P 1  = 1 atm,  V 1  = ?  cm 3 ,  T 1  = 273 K, n 1  = n 2 P 2  = 0.950  atm,  V 2  = ?  cm 3 ,  T 2  = 300 K (1 atm)V 1 273 K 300 K (0.950 atm) (6.35 cm 3 ) = =
V 1  =  (0.950 atm) (6.35 cm 3 )(273 K) (1 atm) (300 K) V 1  =  549  cm 3
ตัวอย่างที่  6   จงคำนวณโมลของแก๊สสมบูรณ์แบบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปริมาตร  0.452 L ที่   87  o C   และที่ความดัน   0.620 atm วิธีทำ   จากสมการ   (21)   n  =   PV RT P  =  0.620  atm,  V 1  = 0.452  L,  R  =  0.08205 L atm K -1  mol -1  , T 1  = 273 K, n = ? n  =   (0.620 atm)(0.452 L) (0.08205 L atm K -1  mol -1 )(360 K) 9.49 x 10 -3  mol  n  =
ตัวอย่างที่  7   จงคำนวณน้ำหนักโมเลกุลของแก๊สสมบูรณ์แบบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปริมาตร  500 cm 3   มีน้ำหนัก   0.326 g  ที่   100  o C   และที่ความดัน   380 torr วิธีทำ   จากสมการ   (23)   m M PV  = RT  P  =  (380 torr /760 torr atm  –1 ) =  0.5 atm  V 1   =  500 cm 3  = 0. 5  L,  R  =  0.08205 L atm K -1  mol -1  , T 1  = 373 K, m = 0.326 g M = ? แทนค่าในสูตร จะได้  M  =  (0.326 g)(0.08205 L atm K -1  mol -1 )(373 K)  (0.5 atm)(0.5 L)  M  =  39.9 g mol  -1
5  ทฤษฎีจลน์โมเลกุลของแก๊ส   (Molecular kinetic theory of gas) ในหัวข้อก่อนๆ ไม่ได้พูดถึงพฤติกรรมในระดับโมเลกุล ว่าเหตุใด จึงมีพฤติกรรมรวมสอดคล้องกับกฎข้อต่างๆ จากผลงานของ แดเนียล เบอร์นูลลิ  (Daniel Bernoulli, 1738) และปรับปรุงต่อมาหลายคน เช่น   James Clerk  Maxwell ,  Ludwig  Boltzmann , 1880 เสนอทฤษฎี  The Kinetic molecular theory of gases เรียกสั้นๆว่า  ทฤษฎีจลน์   [ ความจริงควรเรียก  ทฤษฎีจลนพลศาสตร์  ตามศัพท์ของ ราชบัณฑิต ]
ข้อสมมติที่ใช้ในทฤษฎีนี้ มี  3   ข้อ ,[object Object],[object Object],[object Object],2  .   เนื่องจากโมเลกุลอยู่ห่างกันมาก จึงถือว่า ไม่มีแรงกระทำระหว่างโมเลกุล แต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่โดยอิสระ 3  .   โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรง จนกว่าจะมีการชนกันหรือชนผนังภาชนะ และการชนเป็นแบบยืดหยุ่น  (elastic collision) เป็นการชนที่พลังงานจลน์รวมของโมเลกุลที่ชนกันมีค่าไม่เปลี่ยนแปลง  พลังงานจลน์ของโมเลกุลที่ชนผนัง จะมีค่าคงเดิม อาศัยทฤษฎีนี้ หาความสัมพันธ์ระหว่าง  P, V  กับสมบัติระดับโมเลกุล
l รูปที่  7   การเคลื่อนที่ของโมเลกุลในภาชนะที่มีความยาว  l สมมติว่ามีแก๊ส  N   โมเลกุล บรรจุอยู่ในภาชนะทรงเหลี่ยม ด้านยาว  l   หน่วย พื้นที่ภาคตัดขวาง  A   ตารางหน่วย ดังในรูปที่  7 โมเลกุลมีมวล   m  เคลื่อนที่ในทิศทางแกน   x  ด้วยความเร็ว   v x   จะชนผนังด้วยโมเมนตัม   mv x z y x
การชนผนัง ของโมเลกุล เป็นแบบ  elastic  โมเมนตัมก่อนชน   =  mv x โมเมนตัมหลังชน   =  -mv x โมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลง   =  mv x  – (   -mv x ) =  2mv x ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่กลับไปกลับมาชนผนังด้านขวาแต่ละครั้ง ( หรือชนด้านซ้าย แต่ละครั้ง ) ระยะทางที่เคลื่อนที่  =  2 l  ( สองแอล ) เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่   =  2 l/v x   จากกฎข้อที่  2  ของนิวตัน แรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม แรงการชนระหวางโมเลกุล กับ ผนัง  = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
F  =  2 mv x   2 l/v x   mv x 2   l  = F  คือแรงเนื่องจากการชนของ   1  โมเลกุล ความดัน  (P)  คือ แรงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หรือ  P  = แรง พื้นที่ แอล P  = mv x 2   lA  = mv x 2   แอล V
ให้  v xi   เป็นความเร็วของโมเลกุล   i  ที่เคลื่อนที่ในทิศทาง   x  ความดันรวม ที่เกิดจาก โมเลกุล   N   ตัวที่ชนผนังจะได้เป็น P  = m V  v ix 2 N i= 1 ……… .  (26) ในความเป็นจริง โมเลกุลวิ่งเร็วไม่เท่กัน เราจึงในความเร็วในแกน  x   เฉลี่ย v x 2   =  v x1 2   + v x2 2  + v x3 2  + ……v xi 2  +….. + v xN 2   N  v ix 2 N i= 1 N = ……… .  (27) P = Nm v x 2 V PV Nm v x 2 = ……… .  (28)
ในความเป็นจริง โมเลกุลจะเคลื่อนที่อย่างไม่เป็นระเบียบในทุกทิศที่สามารถแตกความเร็วในแกน  x ,  y   และแกน  z   ได้ ให้ เป็นความเร็วในทิศทางใดๆ  =  v  จะมีองค์ประกอบ  v x  ,  v v  ,  v z   และจะได้ว่า = V  x 2  + V  y 2  + V  z 2   V  2 = V  x 2  + V  y 2  + V  z 2   V  2 ……… .  (29) V  x 2  =  V  y 2   =  V  z 2   = V  2 1 3 ความเร็วเฉลี่ยในแต่ละทิศจะเท่ากัน และได้ว่า PV = 3 Nmv 2 ……… .  (30)
PV = 2 3 N [(1/2) mv 2 ] 2 3 N   = จัดสมการที่  (30)   ใหม่ จะได้ เมื่อ  = 1 2 mv 2 เป็นพลังงานจลน์เฉลี่ยของ  1   โมเลกุล ให้  N = N A   ( เลขอะโวกาโดร   บางตำราแทนด้วย  L )  เขียนสมการ  (31) ใหม่จะได้ PV ……… .  (31) 3 E = PV ……… .  (32) 2
N A    E = เมื่อ เป็นพลังงานจลน์เฉลี่ยของ  1   โมล E = RT 3 ……… .  (33) 2 เทียบสมการ  (23)  กับ   (32)   จะได้สมการความสัมพันธ์ระหว่าง   พลังงานจลน์กับอุณหภูมิ สมการ  (33)   ให้ความหมายว่า ที่  0 K  โมเลกุลมีพลังงานจลน์  = 0   แสดงว่า โมเลกุลไม่มีการเคลื่อนที่ หรือตีความหมายของสมการนี้ว่า พลังงานจลน์เกิดจากการมีพลังงานความร้อน จึงเรียกชื่อพลังงานนี้อีกอย่างว่า  พลังงานความร้อน (thermal energy)
เราสามารถเขียนพลังงานเฉลี่ยของ  1   โมล หรือ  N A   โมเลกุลได้ดังนี้ E = N A 1 2 mv 2 พลังงานของ  1  โมเลกุล จำนวนโมเลกุลใน  1  โมล = 2 2 Mv 2 N A = 3RT M  v 2 เรียกว่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความเร็วกำลังสอง  root mean-square velocity(speed)  และมักจะแทนด้วย  v rms v rms =  v 2 = 3RT M  ……… .  (34)
6.  การแจกแจงความเร็วของโมเลกุล   (The distribution of molecular velocity) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เมื่อ  P(v)   คือโอกาสหรือความน่าจะเป็น   (probability)   ที่จะพบโมเลกุล ที่มีความเร็วอยู่ในช่วงระหว่าง  v   กับ  v+dv k  คือค่าคงที่ของโบลท์ซมานน์   (Boltzmann constant)  โดย k  =   R/N A   =  8.314 J K -1  mol -1 / 6.023 x 10 23  mol -1  =  1.38 x 10 -23  J K -1 e   = 2.71
4  8  12  16  20  4  8  12 v mp v rms v v(m s -1 ) v(m s -1 ) P(v) P(v) รูปที่  8   การแจกแจงความเร็วของ  O 2   ที่อุณหภูมิ   T 1  และ T 2 รูปที่  9   แสดงค่า  v mp,  v   และ  v rms T 1 T 2
k = 1.38 x 10 -23  J K -1 คำนวณจาก  R  =  8.314 J K -1   mol -1 และ  N A   =  6.023 x 10 23   mol -1 e   คือฐานของลอกาลิทึมธรรมชาติ  (natural log) = 2.71….. P(v)   หมายถึง โอกาสที่จะพบว่าโมเลกุลมีความเร็ว  =   v k   คือค่าคงที่ของโบลทซ์มันน์  (Boltzmann constant) k = R/N A โดย  R   คือค่าคงที่แก็ส  (gas constant) N A   คือค่าคงที่อะโวกาโดร  (Avocadro’s constant ,  Avocadro’s number
จากรูป  v  เป็นความเร็วเฉลี่ย  ( mean velocity) v mp   เป็นความเร็วที่เป็นไปได้มากที่สุด (most probable velocity)  เป็นความเร็วตรงจุดสูงสุดของกราฟ v  =   8kT/  m   ( คิดต่อโมเลกุล )   ……  (36a) v  =   8RT/  m   ( คิดต่อโมล )   ……  (36b)   เมื่อเปรียบเทียบสมการ  ( 34) , (36)  และ   (37)  แม้ค่าความเร็วทั้ง สามชนิดไม่เท่ากัน   แต่   แปรผันตาม   T  และ   molecular weight (M)  ในลักษณะเดียวกัน 2RT M = v mp …………  (37)
กรณี ตามรูปที่  8 , 9 ที่อุณหภูมิเดียวกัน พบว่าอัตราส่วนของทั้งสามค่าเป็นดังนี้ v mp  : v  :  v rms  =  1: 1.13:1.2  ( รูปที่  9) และถ้าจะเทียบอัตราส่วนของความเร็วเฉลี่ยของแก๊ส สองชนิด  A  และ  B  จะได้ว่า v A/ v B  =   M B /M A  ………………  (38) โมเลกุลขนาดเล็กจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่า
ตัวอย่างที่  8   จงคำนวณค่า   v rms   และความเร็วเฉลี่ย  (v)  ของ แก๊สไฮโดรเจน  1   โมเลกุล ที่  25 o  C v rms   =    (3RT/M) =   [ (3 x 8.314 J K -1  mol -1 ) x (273  +25) K] / 0.002 kg mol -1 =  1927 m s -1 จากสมการ  (36) v  =    8RT/  M =     8   ( 8.314 J K -1  mol -1 )(298 K) /  (3.14 )(0.002 kg mol -1) =  1775 m s -1   การแจกแจงความเร็วของโมเลกุลแบบแมกซ์เวลล์ - โบลทซ์มันน์นี้ สามารถใช้ในการหาสูตรเกี่ยวกับ ความถี่ของการชนกันของโมเลกุล ความหนืด การนำความร้อน การแพร่  การแพร่ผ่าน เป็นต้น
7 .  กฎการแพร่ผ่านของแกรห์ม การแพร่ผ่าน  (effusion) การแพร่   (diffusion) การแพร่ผ่าน คือ กระบวนการที่แก๊สเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งผ่านรูที่เล็กมากๆ ออกสู่บริเวณอื่นโดยโมเลกุลไม่ชนกันเองเลย  ( ดูรูปที่  10) 1831  โทมัส แกรห์ม   ( Thomas Graham )  ชาวสกอตแลนด์ พบว่า แก๊สที่ความหนาแน่นต่ำ ( เบา )  แพร่ผ่านได้เร็วกว่า แก๊สที่มีความหนาแน่นสูง ( หนัก ) เขาเสนอกฎว่า อัตราการแพร่ผ่าน   ( r )  แปรผกผันกับความหนาแน่น ดังนี้ r 1 d  
r A d B d A   r B สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ ความหนาแน่น แปรผันตรงกับน้ำหนักโมเลกุล (M) จะได้ r A M B M A =  r B r A v A v B =  r B อัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส เป็นสัดส่วนโดยตรงกับอัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุล ………  (39) จากสมการ  (38)   จะได้ว่า r A M B M A =  r B ………  (40) ผลตรงกับการทดลองของแกรห์ม ดังแสดงในรูปที่  10
รูปที่  10  การแพร่ผ่าน  (effusion)
ตัวอย่างที่  9   แก๊ส  NH 3   กับ   CO 2   ตัวใดจะแพร่ได้เร็วกว่า โดยให้เปรียบเทียบ  อัตราการแพร่ผ่าน   ( M  ของ   NH 3  และ   CO 2   เท่ากับ  17  และ  44 ตามลำดับ วิธีทำ  จากสมการ  (40) r NH3 r CO2 = M CO2 M NH3  =  (44/17 =  1.6 แสดงว่า แอมโมเนียมีอัตราแพร่ผ่าน ( รู ) ได้เร็วเป็น  1.6   เท่าของ  CO 2
หลักการแพร่ผ่าน มีประโยชน์ในการแยก ไอโซโทป ออกจากกัน เช่น ในธรรมชาติ ยูเรเนียม (U)   ประกอบด้วย   235 U 0.7% และ  238 U 99.3%  เมื่อทำปฏิกิริยากับ   F 2  จะได้แก็ส  235 UF 6   ปนกับ 238 UF  เมื่ออาศัยกฎการแพร่ผ่านจะได้ r ( 235 UF 6 )  r ( 238 UF 6 )  = M ( 238 UF 6 )  M ( 235 UF 6 )      (352/349) = =  1.004 ให้ผ่านแก๊สผสมผ่านผนังที่มีรูพรุน  จะพบว่า  235 UF 6   จะแพร่ได้เร็วกว่า ให้แพร่ผ่านซ้ำหลายพันครั้ง ในที่สุดจะแยกออกจากกันได้
8.   พฤติกรรมของแก๊สจริง สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ  PV = nRT เมื่อ   n = 1  โมล   จะได้   PV/RT = 1   เสมอ   แต่ แก๊สจริง (real gas)  จะให้ค่า PV/RT = 1  ( ดังแสดงในรูปที่   11   และ   12 )
200  400  600  800  1000  1200 P(atm) PV/RT 1.0  2.0 CH 4 NH 3 H 2 N 2 300  600  900 2  3 Z P(atm) 200 K 500 K 1000 K รูปที่  12   พฤติกรรมของ  Z  ที่อุณหภูมิต่างๆ สำหรับ  CH 4 รูปที่  11   พฤติกรรมของแก๊สต่างๆ ที่อุณหภูมิ   273 K แก๊สจริง แก๊สสมบูรณ์แบบ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ปี  1873 Johanes  van der Waals   ชาวเนเธอร์แลนด์ เสนอสมการสำหรับแก๊สจริง ดังนี้ (P + a v 2 )(v 2  – b)  =  RT …… ..  (41) V   เป็นปริมาตร a  และ   b   เป็นค่าคงที่  ที่เป็นค่าเฉพาะสำหรับแก๊สแต่ละชนิด
ความหมายของ  a  และ   b   พิจารณาโดยเริ่มจาก สมการแก๊สสมบูรณ์แบบที่ PV = nRT   เมื่อ  n = 1  และให้  V   เป็นปริมาตรต่อโมล   ( molar volume) แก๊สสมบูรณ์ให้ค่า   V  =  RT/P  แสดงว่า ที่   T = 0 K,  V = 0 สำหรับแก๊สจริง แสดงว่า  ที่   T = 0 K,  V = 0   ( มีขนาดที่แน่นอน ) ปริมาตรที่โมเลกุลเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ  = V – b โดย  b  เป็นปริมาตรส่วนที่โมเลกุลเคลื่อนที่ผ่านเข้าไปไม่ได้ เรียกว่า  ปริมาตรหวงห้าม  (excluded volume) เมื่อเราคิดว่า โมเลกุลเป็นทรงกลม ที่มีรัศมี  = r โมเลกุลตัวที่สอง เข้าใกล้ตัวที่ หนึ่งได้มากที่สุดคือ ระยะ   2r  ( ซึ่งผิวจะสัมผัสกันพอดี )
2r r r รูปที่  13   ปริมาตรหวงห้าม (excluded volume)   ของแต่ละโมเลกุล ปริมาตรหวงห้ามของ  2   โมเลกุล  =   (4/3)  (2r) 3 ปริมาตรหวงห้ามของ  1   โมเลกุล  =  (1/2)  (4/3)  (2r) 3 =  4(4/3)   r 3  คือ  4   เท่าของปริมาตร  1   โมเลกุล
พฤติกรรมของแก๊สจริง ต้องเกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล  ซึ่งจะมีผลต่อความดัน เมื่อแก๊สชนผนัง ( ความดันน้อยกว่าที่ควรเป็น ) ดังแสดงในรูปที่  (14) คือ  M ผนัง รูปที่  14  ผลเนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลทำให้ความดันน้อยลดลง
การลดลงของความดันขึ้นอยู่กับ 1. จำนวนครั้งของการชนกัน 2.   แรงที่ลดลงในการชนแต่ละครั้ง ต่างก็ขึ้นกับความเข้มข้น C = n/V ความดันที่ลดลง   (n/V) 2 an 2 /V 2 a (n/V) 2 a V 2 = = = [  a  เป็นค่าคงที่เฉพาะสำหรับแก๊สแต่ละชนิด   โมเลกุลมีขั้ว เช่น  CO มีค่าสูงกว่า   a  โมเลกุลที่ไม่มีขั้วเช่น  Ne]
ความดันที่แท้จริงของแก๊สควรเป็น  P+ a/V 2 ดังในสมการ   (41) สำหรับแก๊ส  n  โมล สมการจะเป็น (P + an 2 v 2 )(v   – nb)  =  nRT …… ..  (42) a  และ  b   เรียกว่าค่าคงที่ของแวนเดอร์วาลส์ สามารถหาได้จากการทดลอง ตัวอย่างบางค่าแสดงในตารางที่  1.
  ตารางที่   1 แก๊ส a  (atm L 2  mol -2 ) B (L mol -1 ) H 2 0.244 0.0266 N 2 1.39 0.0391 Ne 0.211 0.0171 Ar 1.35 0.0322 O 2 1.36 0.0318 CO 1.46 0.0392 CO 2 3.59 0.0427 H 2 O 5.47 0.0305 NH 3 4.18 0.0373 CH 4 2.25 0.0427 CCl 4 19.6 0.1270 HCl 3.67 0.0408
สมการแวนเดอร์วาลส์ทำนายพฤติกรรมของแก๊สจริงอย่างเที่ยงตรงไม่ได้ทั้งหมด มีการพัฒนาสมการอีกหลายแบบ ตัวอย่างที่  10  จงคำนวณความดันของแก๊ส  CO 2  18.617 mol  ซึ่งมีปริมาตร  10 L  ที่ 100 o C   โดยใช้ ก .  กฎแก๊สสมบูรณ์แบบ  ข .  สมการแวนเดอร์วาลส์ วิธีทำ  ก .  PV  =  nRT P  =  nRT/V (18.617 mol)(0.08205 L atm mol -1 )(373K) 10 L = =  57 atm ข .  จาก  (P + an 2 v 2 )(v   – nb)  =  nRT …… ..  (42) P  = nRT (v   – nb) - an 2 v 2
P  = (18.617 mol)(0.08205 L atm mol -1 )(373K) (10 L) - (18.617 mol   )(0.0427 L mol -1 ) - (3.59 atm L 2  mol -2  )(18.617 mol) 2 (10 L) 2 =  49.5 atm จะเห็นว่า ต่ำกว่าเมื่อคิดว่าเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ  = 57 – 49.5 = 7.5 atm
O 2  0.10 atm 9.   แก๊สผสม H 2  0.50 atm N 2  0.75 atm 1 L 1 L 1 L 1 L 1.35 atm เหตุผล  ? หมายความว่า ความดันรวม  =   ผลรวมของความดันย่อย
ความดันของแก๊สแต่ละตัว เราเรียกว่า ความดันย่อยของแก๊สชนิดนั้น Dalton 1802 :  ทดลองและเสนอกฎ เมื่อมีแก๊สที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน ตั้งแต่  2  ชนิดขึ้นไป ผลสมกันอยู่ในภาชนะเดียวกัน  จะทำให้เกิดความดันรวม เท่ากับผลรวมของความดันแก๊สแต่ละชนิด โดยถือเสมือน ว่าแก๊สแต่ละชนิดทำให้เกิดความดันเสมือนว่าอยู่ในภาชนะโดยลำพัง ความดันอันเนื่องจากแก๊สแต่ละตัว เรียกว่าความดันย่อย  (partial pressure)
สมมติว่าแก๊สแต่ละชนิดเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ และแก๊สผสมก็เป็นแก๊สสมบูรณ์แบบด้วย ให้  P i   เป็นความดันย่อยของแก๊สตัว  i   P tot   เป็นความดันไอรวมของแก๊สผสม V   เป็นปริมาตรของภาชนะ n i   เป็น จำนวนโมลของแก๊สตัว  i  n tot  เป็นจำนวนโมลรวม จะได้ P tot V  =  n tot RT =  (n 1  + n 2  +…. n i  +…)  RT  ………………. (43)  =  n 1   + n 2   +…. n i   + ดังนั้น P tot RT V RT V RT V = P 1  + P 2  + ……+ P i +…  ……(44)
สมการ  ( 44 )   เขียนได้เป็น P tot =  i P i ……… .. (45) เมื่อ   P i   =  n i RT/V ความสัมพันธ์ระหว่าง  P i  กับ   P tot   เขียนได้อีกแบบคือ   = = x i = ……… .. (46) เมื่อ   x i   =  n i /n tot   คือเศษส่วนโมล  (mole fraction)  ของแก๊ส  i   หรือเขียนได้ว่า  P i   =  x i P tot ……… .. (47)
เราคำนวณความดันย่อยโดยใช้กฎของบอยล์ได้ดังนี้ สมมติว่าแก๊ส  A  มีความดัน   P 1   และ   V 1   นำมาผสมกับแก๊สอื่น จนแก๊สผสมมีปริมาตร  V   และความดันย่อยเท่ากับ  P A   จะสามารถคำนวณ ค่าความดันย่อยได้ดังนี้ P A V  =  P 1 V 1 P A   =  (P 1 V 1 )/V ……… .. (48)
ตัวอย่างที่  11   เมื่อนำแก๊ส  N 2   จำนวน   200 cm 3   ที่อุณหภูมิ  25   o C   ความดัน 250 torr  มาผสมกับแก๊ส   O 2   ที่มีปริมาตร   350 cm 3   อุณหภูมิ   25  o C   และความดัน   300 torr  ในภาชนะที่มีปริมาตร   300 cm 3   จงหาความดันรวมของแก๊สผสม วิธีทำ  สำหรับ  N 2 : V 1  = 200 cm 3  P 1  = 250 torr  V = 300 cm 3  P N2  = ?  P N2  = P 1 V 1 V = (250 torr)(200 cm 3 ) (300 cm 3 ) = 167 torr P O2  = (300 torr)(350 cm 3 ) (300 cm 3 ) = 350 torr จะได้ P tot  =  P N2  +  P O2   =  167 + 350  =  517  torr
ตัวอย่างที่  12   ในภาชนะขนาดปริมาตร  2.3 L   บรรจุแก๊ส  H 2   จำนวน   0.174  และแก๊ส   N 2  1.365 g  บรรจุอยู่ที่  0   o C   จงคำนวณเศษส่วนโมล  ความดันย่อยจองแก๊สทั้งสอง  และความดันรวม เมื่อถือว่าแก๊สทั้งสองชนิดเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ วิธีทำ  น้ำหนักโมเลกุลของ  H 2  และ  N 2   เท่ากับ   2  และ   28   g mol -1   ตามลำดับ n H2  = 0.174 g 2 g/mol = 0.087 mol n N2  = 1.365 g 28 g/mol = 0.049 mol n tot  =  n H2  +  n N2   =  0.136 mol x H2  =  n H2  /  n tot   =  .087 mol/0.136mol  = 0.64 x N2  =  n N2  /  n tot   =  .049mol/0.136mol  = 0.36
P H2   =  n H2  (RT/V) = (0.087 mol)(0.082 L atm mol -1 )(273 K) 2.83 L = 0.69 atm P N2   =  n N2  (RT/V) = (0.049 mol)(0.082 L atm mol -1 )(273 K) 2.83 L = 0.39 atm ความดันรวม   P tot  =  P H2  +  P N2   =  0.69 + 0.39  =  1.08  atm

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3oraneehussem
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 

Viewers also liked

ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (7)

ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 

Similar to Gas genchem

กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5Piyanuch Plaon
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 

Similar to Gas genchem (20)

chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 

Gas genchem

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1. การวัดปริมาตร อุณหภูมิ และความดัน ปริมาตร (volume) Unit – L or l mL or ml cm 3 dm 3 m 3
  • 4. Pressure Unit SI Unit 1 atm = 1.013 x 10 5 pascal = 1.013 x 10 6 dyne cm -2 = 14.7 lb inch -2 = 760 torr 1 pascal = 1 N m -2 Evangelista Torricelli 1608-1647(Italian Physicist) Barometer ประดิษฐ์ขึ้นในปี 1643 Torricellian vacuum
  • 5. รูปที่ 1 บารอมิเตอร์ (barometer) h สูญญากาศ
  • 6. Pressure = force/area P = F/A ………… (1) ตามกฎของนิวตัน F = mg g = ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก เมื่อเขียนมวลในรูปความหนาแน่นกับปริมาตร จะได้ m = มวล =  V โดย  = ความหนาแน่น และ V= ปริมาตร ดังนั้น F =  V g ………... (2) จากรูปที่ 1 จะได้ว่า F =  (  r 2 h ) g ……. (3)
  • 7. r = รัศมีของหลอดแก้ว h = ความสูงของปรอทในหลอดแก้ว จะได้ P = [  (  r 2 h) g ]/  r 2  r 2 คือ พื้นที่ภาคตัดขวางของหลอดแก้ว จะได้ P =  hg …………… (4) เนื่องจาก  และ g เป็นค่าคงที่ ดังนั้น สมการ ที่ 4 จึงหมายหมายความว่า P แปรผันตรง กับ h
  • 8. h P บรรยากาศ P ปรอท P แก๊ส แก๊ส h P ปรอท P แก๊ส แก๊ส ก . ข . รูปที่ 2 ก . มาโนมีเตอร์ปลายเปิด ข . มาโนมีเตอร์ปลายปิด สูญญากาศ
  • 9. จากรูปที่ 2 ก P gas = P atm + P ของลำปรอทสูง h ……….(5) คำถาม ถ้าความดันของแก๊สน้อยกว่าความดันบรรยากาศ ระดับปรอทที่ต่ออยู่กับแก๊สจะ …… สูงกว่า ต่ำกว่า ลำปรอทปลายเปิดที่สูง h จากรูปที่ 2 ก ก็อาจเป็น P gas = P atm - P ของลำปรอทสูง h ……….(6)
  • 10. จากรูปที่ 2 ข ซึ่งปลายหลอดปิด จะได้ P gas = P ของลำปรอทสูง h …………………………..(7) ( สมมุติ ความดันไอของปรอทน้อยมากจนตัดทิ้งได้ ) P เฉลี่ยของบรรยากาศ = 760 torr หรือ mmHg ที่ 0 o C และระดับน้ำทะเล เรียกว่าความดันมาตรฐาน ความดัน 1 บรรยากาศ
  • 11. เพื่อเปรียบเทียบหรืออ้างอิง กำหนดภาวะมาตรฐานที่ 0 0 C หรือ 273.15 K ความดัน 1 atm หรือ 1.013 x 10 5 Pa เรียก STP (standard temperature and pressure) หรือ NTP (normal temperature and pressure) แทนการเรียก สภาวะมาตรฐาน
  • 12. 2. กฎของบอยล์ (Boyle’s law) Robert Boyle 1662 ที่ T คงที่ V  1/P V = k 1 .(1/P) ( V คือปริมาตร P คือ ความดัน และ k คือค่าคงที่ ) หรืออาจจะเขียนสมการได้เป็น VP = k 1 ……(8) แสดงว่าผลคูณระหว่างความดันกับปริมาตร ณ อุณหภูมิคงที่ใดๆ จะมีค่าคงที่เสมอ จึงเขียนสมการได้ว่า P 1 V 1 = P 2 V 2
  • 13. กราฟที่พล็อตระหว่าง P กับ V จะเป็นรูปไฮเปอร์โบลา (hyperbola) เส้นกราฟที่ได้เรียกว่า ไอโซเทอร์ม (isotherm) [iso แปลว่าเหมือน ] รูปที่ 3 ก แสดงกราฟ P-V ที่ T คงที่ เส้นกราฟเรียกว่าเส้นไอโซเทอร์ม รูปที่ 3 ข แสดงกราฟ P-V ที่ T ต่างกัน P 1 V 1 P 3 V 3 P 2 V 2 P V P V T 4 =800 K T 3 =600 K T 2 =400 K T 1 =200 K A B
  • 14. รูปที่ 4 ก แสดงกราฟระหว่าง P กับ 1/V รูปที่ 4 ข แสดงกราฟระหว่าง V กับ 1/P 1/V P 1/P V A B A B จากสมการที่ 8 หมายความว่า เราเปลี่ยนรูสมการได้เป็น P = k. (1/V) หรือ V = k. (1/P) ซึ่งเป็นสมการเส้นตรง ที่ตัดผ่านจุดกำเนิด (origin) ดังแสดงให้เห็นในรูปที่ 4 ก . และ 4 ข .
  • 15. P PV A B รูปที่ 4 ค แสดงกราฟระหว่าง PV กับ P แต่ ถ้าพล็อตกราฟระหว่าง PV กับ P จะได้เส้นตรงขนานกับแกน P ดังแสดงในรูปที่ 4 ค
  • 16. ตัวอย่างที่ 1 แก๊สชนิดหนี่ง มีปริมาตร 350 cm 3 ภายใต้ความดัน 0.92 atm อุณหภูมิ 21 o C จงหาปริมาตรของแก๊สนี้ที่ 1.4 atm ณ อุณหภูมิเดียวกันนี้ วิธีทำ จากสูตร P 1 V 1 = P 2 V 2 อุณหภูมิคงที่ ที่ 21 o C และค่า P 1 = 0.92 atm, V 1 = 350 cm 3 P 2 = 1.4 atm, V 2 = ? Cm 3 แทนค่า 0.92 atm x 350 cm 3 = 1.4 atm x V 2 V 2 = (0.92 x 350)/1.4 = 230 cm 3
  • 17. รูปที่ 4 ก แสดงกราฟระหว่าง P กับ 1/V รูปที่ 4 ข แสดงกราฟระหว่าง V กับ 1/P 1/V P 1/P P A B A B จากสมการที่ 8 หมายความว่า เราเปลี่ยนรูสมการได้เป็น P = k. (1/V) หรือ V = k. (1/P) ซึ่งเป็นสมการเส้นตรง ที่ตัดผ่านจุดกำเนิด (origin) ดังแสดงให้เห็นในรูปที่ 4 ก . และ 4 ข .
  • 18. 3 . กฎของชาลส์ (Charles’s Law จาคส์ ชาร์ลส์ (Jacques Charles) ศึกษา การเปลี่ยน V ตาม T และการเปลี่ยน P ตาม T พบว่า . T เพิ่มขึ้น 1 o C ทำให้ V เพิ่มขึ้น 1/273 เท่าของ V ที่ 0 o C เช่น ... แก๊สปริมาตร 273 cm 3 ที่ 0 o C เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา ( เป็น 1 0 o C) ปริมาตรจะเพิ่มขึ้น 1/273 เท่าของ 273 cm 3 ปริมาตรเพิ่มขึ้น 1 cm 3 เป็น 274 cm 3 ที่อุณหภูมิ 1 o C
  • 19. ถ้าให้ V เป็นปริมาตรที่ t o C V 0 เป็นปริมาตรที่ 0 o C จะได้ V = V 0 + (1/273) t V 0 = V 0 [1+ (t/273)] = V 0 [(273 + t)/273] …………(9) T = 273 + t T คืออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน และ คืออุณหภูมิในหน่วยเซลเซียส จะได้ V = V 0 (T/273) …………(10) V = (V 0 /273)T = k 2 T หรือ (V/T) = k 2 …………(11) ตีความหมายได้ว่า ที่อุณหภูมิ T 1 และ T 2 จะได้ V 1 /T 1 = V 2 /T 2 = k 2 …………(12)
  • 20. -300 -200 -150 -100 -50 0 50 100 -273.15 K V t( o C) รูปที่ 5 แสดงกราฟระหว่าง V และ t ที่ความดันคงที่ (P 1 > P 2 > P 3 > P 4 ) P 4 P 3 P 2 P 1 สรุปกฎของชาร์ลส์ คือ เมื่อ P คงที่แต่ละค่า ปริมาตรแก๊สแปรตามอุณหภูมิ (K)
  • 21. กราฟจะตัดที่ – 273 0 C หรือ 0 K เสมอ จากรูปดูเสมือนว่าที่อุณหภูมินี้ ปริมาตรแก๊สเป็นศูนย์ ความจริง ....... สารจะเปลี่ยนเป็น ของแข็ง ตัวอย่างที่ 2 แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 79.5 cm 3 ที่ 45 0 C แก๊สจะมีปริมาตร เท่าใดที่ 0 0 C วิธีทำ จากสูตร V 1 /T 1 = V 2 /T 2 V 1 = 79.5 cm 3 T 1 = 273 + 45 K = 318 K V 2 = ? T 2 = 273 + 0 K = 273 K แทนค่า จะได้ ( 79.5 cm 3 ) /318 K = (V 2 /273 K) V 2 = (79.5 cm 3 ) (273 K) /318 K = 68.3 cm 3
  • 22. โจเซฟ เกย์ - ลุสแสค ( Joseph Gay-Lussac) ทำการทดลอง พบว่า เมื่อ V คงที่ P  T P = kT ( V คงที่ ) หรือ P/V = k เมื่อ k เป็นค่าคงที่ หรือเขียนได้ว่า P 1 /T 1 = P 2 /T 2 = k ……. (13) ตัวอย่างที่ 2 เมื่อบรรจุแก๊สลงในภาชนะขนาด 10 ลิตร (L) พบว่ามีความดัน 2.00 atm อยากทราบว่า ที่อุณหภูมิเท่าใด จึงจะมีความดัน 2.50 atm วิธีทำ จากสูตร P 1 /T 1 = P 2 /T 2 P 1 = 2.00 atm T 1 = 273 K P 2 = 2.50 atm T 2 = ? K แทนค่าในสูตร จะได้ 2.00 atm/ 273 K = 2.50 atm/ T 2
  • 23.
  • 24. โจเซฟ เกย์ - ลุสแสค ( Joseph Gay-Lussac) T 2 = (2.50 atm)(273 K)/ 2.00 atm = 341 K = 341-273 o C = 68 o C ( คำตอบ ) ตัวอย่างที่ 4 ถ้าบรรจุแก๊สออกซิเจน 10 L ที่มีความดัน 50 atm และอุณหภูมิ 25 o C ลงในถัง ที่ทนความดันได้ 70 atm แล้วทิ้งไว้ในโกดังเก็บของซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 38 o C ถังจะระเบิดหรือไม่ วิธิทำ จากสูตร P 1 /T 1 = P 2 /T 2 P 1 = 50 atm T 1 = 273+25 = 298 K P 2 = ? T 2 = 273 +38 = 311 K แทนค่าในสูตรจะได้ 50 atm /298 K = P 2 /311 K P 2 = 52 atm เนื่องจากถังแก๊สทนความดันได้ 70 atm ดังนั้นคำตอบคือ ถังไม่ระเบิด
  • 25. Joseph Gay-Lussac ยังศึกษาเพิ่มเติมถึง การเปลี่ยนแปลง V เมื่อผสมแก๊ส 2 ชนิดขึ้นไปมาทำปฏิกิริยากันได้ผลิตผลเป็นแก๊สที่ T และ P คงที่ พบว่า V สารตั้งต้น / V สารผลิตผล = อัตราส่วนระหว่างเลขจำนวนเต็มค่าน้อยๆเสมอ ผลการทดลองนี้ทำให้อะมาดีโอ อะโวกาโดร (Amadeo Avogadro) เสนอ กฎของอะโวกาโดร ว่า “ ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิและความดันคงที่ แก๊สที่มีปริมาตรเท่ากัน จะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากัน ” กล่าวอีกอย่างคือ “ ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตรของแก๊สใดๆจะแปรผันตรงกับ จำนวนโมลของแก๊สนั้น ” นั่นคือ V  n จะได้ V = k n …………………(14)
  • 26.
  • 27. 4. กฎของแก๊สสมบูรณ์แบบ กฎของ บอยส์ กฎของชาร์ลส์ และกฎของอะโวกาโดรใช้ภายใต้คนละสภาวะ สามารถรวมเข้าด้วยกันได้ด้วยวิธีแคลคูลัส ดังนี้ เมื่อ V เป็นฟังชันของ P , T และ n จะ เขียนได้ว่า V = V(P,T,n) …………………. (15) อนุพันธ์โดยรวม (total differential) คือ dV = (  V/  P) T,n dP + (  V/  T) P,n dT + (  V/  n) p,T dn …………(16) จากกฎของบอยล์ V = k 1 /P ที่ T และ n คงที่ จะได้ (  V/  P) T,n = -k 1 /P 2 = -V/P …………. (17) ในทำนองเดียวกัน เมื่ออาศัยกฎของชาร์ลส์ V = k 2 T ที่ P และ n คงที่ จะได้ (  V/  T) P,n dT = k 2 = V/n …………..(18) จากกฎของอะโวกาโดร จะเขียนได้ว่า (  V/  n) p,T = k 3 = V/n ……………(19)
  • 28. แทนค่าสมการ (17), (18), (19) และ (16) จะได้ dV = -(V/P) dP + (V/T)dT + (V/n) dn dV/V = -dP/P + dT/T + dn/n (dP/P) + (dV/V) = (dT/T) + (dn/n) ………….(20) อินทิเกรตสมการ นี้ จะได้  p 2 p 1  V 2 V 1  T 2 T 1  n 2 n 1 P dP dV V dT T n dn + + = P 2 P 1 V 1 T 1 n 2 n 1 ln ln ln ln = V 2 T 2 + + P 2 V 2 P 1 V 1 n 2 T 2 n 1 T 1 ln ln = P 2 V 2 P 1 V 1 n 2 T 2 n 1 T 1 = = R ………… (21)
  • 29. R คือค่าคงที่ของแก๊ส (gas constant) จากสมการที่ (21) เราเขียนสูตรทั่วไปได้ว่า PV nT R = pV = nRT ………. (22) สมการนี้เรียกว่าสมการแก๊สสมบูรณ์แบบ (the ideal gas law) ในความเป็นจริงจะเป็นไปตามนี้ เมื่อ T ไม่ต่ำเกินไป และ P ไม่สูงเกินไป แก๊สสมบูรณ์มีพฤติกรรมตามรูปที่ 6
  • 30. P V รูปที่ 6 ก แสดงกราฟ P -V P 1/V 1/P V log V รูปที่ 6 ข แสดงกราฟ P –(1/V) รูปที่ 6 ค แสดงกราฟ V – ( 1/P) รูปที่ 6 ง แสดงกราฟ log V - log P log P A B B A A B A B
  • 31. จากสมการที่ 22 เมื่อ m เป็นมวล M เป็นน้ำหนักโมเลกุล จะเขียนสมการใหม่ในรูป ต่อไปนี้ได้ m M PV = RT P = m V …………… (23) RT M M RT P =  …………… (24) …………… (25) เมื่อ  = m/V = ความหนาแน่นของแก๊ส สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ 1 mol ที่ STP หมายความว่า P = 1 atm, V = 22.4 L, n = 1 mol , T = 273 K จากสมการที่ ( 25 )
  • 32. จะได้ R = PV nT = (1 atm)(22.4 L) (1 mol)(273 K) 0.08206 L atm K -1 mol -1 R = เมื่อคิดในหน่วยอื่น R = 0.08206 x 10 3 cm 3 )(1.0133 x 10 6 dyne cm -2 K -1 mol -1 ) R = 8.314 x 10 7 erg K -1 mol -1 ) = 8.314 J K -1 mol -1 ) = 1.987 cal K -1 mol -1 )
  • 33. R = 0.08206 L atm K -1 mol -1 = 1.987 cal K -1 mol -1 = 8.314 J K -1 mol -1 )
  • 34. ตัวอย่างที่ 5 จงคำนวณปริมาตรของแก๊สชนิดหนึ่งที่สภาวะมาตรฐาน ถ้าที่อุณหภูมิ และที่ 0.950 atm แก๊สนี้มีปริมาตร 6.35 cm 3 วิธีทำ จากสมการ (21) P 1 V 1 P 2 V 2 n 1 T 1 n 2 T 2 P 1 = 1 atm, V 1 = ? cm 3 , T 1 = 273 K, n 1 = n 2 P 2 = 0.950 atm, V 2 = ? cm 3 , T 2 = 300 K (1 atm)V 1 273 K 300 K (0.950 atm) (6.35 cm 3 ) = =
  • 35. V 1 = (0.950 atm) (6.35 cm 3 )(273 K) (1 atm) (300 K) V 1 = 549 cm 3
  • 36. ตัวอย่างที่ 6 จงคำนวณโมลของแก๊สสมบูรณ์แบบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปริมาตร 0.452 L ที่ 87 o C และที่ความดัน 0.620 atm วิธีทำ จากสมการ (21) n = PV RT P = 0.620 atm, V 1 = 0.452 L, R = 0.08205 L atm K -1 mol -1 , T 1 = 273 K, n = ? n = (0.620 atm)(0.452 L) (0.08205 L atm K -1 mol -1 )(360 K) 9.49 x 10 -3 mol n =
  • 37. ตัวอย่างที่ 7 จงคำนวณน้ำหนักโมเลกุลของแก๊สสมบูรณ์แบบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปริมาตร 500 cm 3 มีน้ำหนัก 0.326 g ที่ 100 o C และที่ความดัน 380 torr วิธีทำ จากสมการ (23) m M PV = RT P = (380 torr /760 torr atm –1 ) = 0.5 atm V 1 = 500 cm 3 = 0. 5 L, R = 0.08205 L atm K -1 mol -1 , T 1 = 373 K, m = 0.326 g M = ? แทนค่าในสูตร จะได้ M = (0.326 g)(0.08205 L atm K -1 mol -1 )(373 K) (0.5 atm)(0.5 L) M = 39.9 g mol -1
  • 38. 5 ทฤษฎีจลน์โมเลกุลของแก๊ส (Molecular kinetic theory of gas) ในหัวข้อก่อนๆ ไม่ได้พูดถึงพฤติกรรมในระดับโมเลกุล ว่าเหตุใด จึงมีพฤติกรรมรวมสอดคล้องกับกฎข้อต่างๆ จากผลงานของ แดเนียล เบอร์นูลลิ (Daniel Bernoulli, 1738) และปรับปรุงต่อมาหลายคน เช่น James Clerk Maxwell , Ludwig Boltzmann , 1880 เสนอทฤษฎี The Kinetic molecular theory of gases เรียกสั้นๆว่า ทฤษฎีจลน์ [ ความจริงควรเรียก ทฤษฎีจลนพลศาสตร์ ตามศัพท์ของ ราชบัณฑิต ]
  • 39.
  • 40. l รูปที่ 7 การเคลื่อนที่ของโมเลกุลในภาชนะที่มีความยาว l สมมติว่ามีแก๊ส N โมเลกุล บรรจุอยู่ในภาชนะทรงเหลี่ยม ด้านยาว l หน่วย พื้นที่ภาคตัดขวาง A ตารางหน่วย ดังในรูปที่ 7 โมเลกุลมีมวล m เคลื่อนที่ในทิศทางแกน x ด้วยความเร็ว v x จะชนผนังด้วยโมเมนตัม mv x z y x
  • 41. การชนผนัง ของโมเลกุล เป็นแบบ elastic โมเมนตัมก่อนชน = mv x โมเมนตัมหลังชน = -mv x โมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลง = mv x – ( -mv x ) = 2mv x ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่กลับไปกลับมาชนผนังด้านขวาแต่ละครั้ง ( หรือชนด้านซ้าย แต่ละครั้ง ) ระยะทางที่เคลื่อนที่ = 2 l ( สองแอล ) เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ = 2 l/v x จากกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน แรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม แรงการชนระหวางโมเลกุล กับ ผนัง = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
  • 42. F = 2 mv x 2 l/v x mv x 2 l = F คือแรงเนื่องจากการชนของ 1 โมเลกุล ความดัน (P) คือ แรงต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ หรือ P = แรง พื้นที่ แอล P = mv x 2 lA = mv x 2 แอล V
  • 43. ให้ v xi เป็นความเร็วของโมเลกุล i ที่เคลื่อนที่ในทิศทาง x ความดันรวม ที่เกิดจาก โมเลกุล N ตัวที่ชนผนังจะได้เป็น P = m V  v ix 2 N i= 1 ……… . (26) ในความเป็นจริง โมเลกุลวิ่งเร็วไม่เท่กัน เราจึงในความเร็วในแกน x เฉลี่ย v x 2 = v x1 2 + v x2 2 + v x3 2 + ……v xi 2 +….. + v xN 2 N  v ix 2 N i= 1 N = ……… . (27) P = Nm v x 2 V PV Nm v x 2 = ……… . (28)
  • 44. ในความเป็นจริง โมเลกุลจะเคลื่อนที่อย่างไม่เป็นระเบียบในทุกทิศที่สามารถแตกความเร็วในแกน x , y และแกน z ได้ ให้ เป็นความเร็วในทิศทางใดๆ = v จะมีองค์ประกอบ v x , v v , v z และจะได้ว่า = V x 2 + V y 2 + V z 2 V 2 = V x 2 + V y 2 + V z 2 V 2 ……… . (29) V x 2 = V y 2 = V z 2 = V 2 1 3 ความเร็วเฉลี่ยในแต่ละทิศจะเท่ากัน และได้ว่า PV = 3 Nmv 2 ……… . (30)
  • 45. PV = 2 3 N [(1/2) mv 2 ] 2 3 N  = จัดสมการที่ (30) ใหม่ จะได้ เมื่อ  = 1 2 mv 2 เป็นพลังงานจลน์เฉลี่ยของ 1 โมเลกุล ให้ N = N A ( เลขอะโวกาโดร บางตำราแทนด้วย L ) เขียนสมการ (31) ใหม่จะได้ PV ……… . (31) 3 E = PV ……… . (32) 2
  • 46. N A  E = เมื่อ เป็นพลังงานจลน์เฉลี่ยของ 1 โมล E = RT 3 ……… . (33) 2 เทียบสมการ (23) กับ (32) จะได้สมการความสัมพันธ์ระหว่าง พลังงานจลน์กับอุณหภูมิ สมการ (33) ให้ความหมายว่า ที่ 0 K โมเลกุลมีพลังงานจลน์ = 0 แสดงว่า โมเลกุลไม่มีการเคลื่อนที่ หรือตีความหมายของสมการนี้ว่า พลังงานจลน์เกิดจากการมีพลังงานความร้อน จึงเรียกชื่อพลังงานนี้อีกอย่างว่า พลังงานความร้อน (thermal energy)
  • 47. เราสามารถเขียนพลังงานเฉลี่ยของ 1 โมล หรือ N A โมเลกุลได้ดังนี้ E = N A 1 2 mv 2 พลังงานของ 1 โมเลกุล จำนวนโมเลกุลใน 1 โมล = 2 2 Mv 2 N A = 3RT M  v 2 เรียกว่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความเร็วกำลังสอง root mean-square velocity(speed) และมักจะแทนด้วย v rms v rms =  v 2 = 3RT M  ……… . (34)
  • 48.
  • 49.
  • 50. เมื่อ P(v) คือโอกาสหรือความน่าจะเป็น (probability) ที่จะพบโมเลกุล ที่มีความเร็วอยู่ในช่วงระหว่าง v กับ v+dv k คือค่าคงที่ของโบลท์ซมานน์ (Boltzmann constant) โดย k = R/N A = 8.314 J K -1 mol -1 / 6.023 x 10 23 mol -1 = 1.38 x 10 -23 J K -1 e = 2.71
  • 51. 4 8 12 16 20 4 8 12 v mp v rms v v(m s -1 ) v(m s -1 ) P(v) P(v) รูปที่ 8 การแจกแจงความเร็วของ O 2 ที่อุณหภูมิ T 1 และ T 2 รูปที่ 9 แสดงค่า v mp, v และ v rms T 1 T 2
  • 52. k = 1.38 x 10 -23 J K -1 คำนวณจาก R = 8.314 J K -1 mol -1 และ N A = 6.023 x 10 23 mol -1 e คือฐานของลอกาลิทึมธรรมชาติ (natural log) = 2.71….. P(v) หมายถึง โอกาสที่จะพบว่าโมเลกุลมีความเร็ว = v k คือค่าคงที่ของโบลทซ์มันน์ (Boltzmann constant) k = R/N A โดย R คือค่าคงที่แก็ส (gas constant) N A คือค่าคงที่อะโวกาโดร (Avocadro’s constant , Avocadro’s number
  • 53. จากรูป v เป็นความเร็วเฉลี่ย ( mean velocity) v mp เป็นความเร็วที่เป็นไปได้มากที่สุด (most probable velocity) เป็นความเร็วตรงจุดสูงสุดของกราฟ v =  8kT/  m ( คิดต่อโมเลกุล ) …… (36a) v =  8RT/  m ( คิดต่อโมล ) …… (36b) เมื่อเปรียบเทียบสมการ ( 34) , (36) และ (37) แม้ค่าความเร็วทั้ง สามชนิดไม่เท่ากัน แต่ แปรผันตาม T และ molecular weight (M) ในลักษณะเดียวกัน 2RT M = v mp ………… (37)
  • 54. กรณี ตามรูปที่ 8 , 9 ที่อุณหภูมิเดียวกัน พบว่าอัตราส่วนของทั้งสามค่าเป็นดังนี้ v mp : v : v rms = 1: 1.13:1.2 ( รูปที่ 9) และถ้าจะเทียบอัตราส่วนของความเร็วเฉลี่ยของแก๊ส สองชนิด A และ B จะได้ว่า v A/ v B =  M B /M A ……………… (38) โมเลกุลขนาดเล็กจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่า
  • 55. ตัวอย่างที่ 8 จงคำนวณค่า v rms และความเร็วเฉลี่ย (v) ของ แก๊สไฮโดรเจน 1 โมเลกุล ที่ 25 o C v rms =  (3RT/M) =  [ (3 x 8.314 J K -1 mol -1 ) x (273 +25) K] / 0.002 kg mol -1 = 1927 m s -1 จากสมการ (36) v =  8RT/  M =  8 ( 8.314 J K -1 mol -1 )(298 K) / (3.14 )(0.002 kg mol -1) = 1775 m s -1 การแจกแจงความเร็วของโมเลกุลแบบแมกซ์เวลล์ - โบลทซ์มันน์นี้ สามารถใช้ในการหาสูตรเกี่ยวกับ ความถี่ของการชนกันของโมเลกุล ความหนืด การนำความร้อน การแพร่ การแพร่ผ่าน เป็นต้น
  • 56. 7 . กฎการแพร่ผ่านของแกรห์ม การแพร่ผ่าน (effusion) การแพร่ (diffusion) การแพร่ผ่าน คือ กระบวนการที่แก๊สเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งผ่านรูที่เล็กมากๆ ออกสู่บริเวณอื่นโดยโมเลกุลไม่ชนกันเองเลย ( ดูรูปที่ 10) 1831 โทมัส แกรห์ม ( Thomas Graham ) ชาวสกอตแลนด์ พบว่า แก๊สที่ความหนาแน่นต่ำ ( เบา ) แพร่ผ่านได้เร็วกว่า แก๊สที่มีความหนาแน่นสูง ( หนัก ) เขาเสนอกฎว่า อัตราการแพร่ผ่าน ( r ) แปรผกผันกับความหนาแน่น ดังนี้ r 1 d  
  • 57. r A d B d A   r B สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ ความหนาแน่น แปรผันตรงกับน้ำหนักโมเลกุล (M) จะได้ r A M B M A =  r B r A v A v B =  r B อัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส เป็นสัดส่วนโดยตรงกับอัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุล ……… (39) จากสมการ (38) จะได้ว่า r A M B M A =  r B ……… (40) ผลตรงกับการทดลองของแกรห์ม ดังแสดงในรูปที่ 10
  • 58. รูปที่ 10 การแพร่ผ่าน (effusion)
  • 59. ตัวอย่างที่ 9 แก๊ส NH 3 กับ CO 2 ตัวใดจะแพร่ได้เร็วกว่า โดยให้เปรียบเทียบ อัตราการแพร่ผ่าน ( M ของ NH 3 และ CO 2 เท่ากับ 17 และ 44 ตามลำดับ วิธีทำ จากสมการ (40) r NH3 r CO2 = M CO2 M NH3  =  (44/17 = 1.6 แสดงว่า แอมโมเนียมีอัตราแพร่ผ่าน ( รู ) ได้เร็วเป็น 1.6 เท่าของ CO 2
  • 60. หลักการแพร่ผ่าน มีประโยชน์ในการแยก ไอโซโทป ออกจากกัน เช่น ในธรรมชาติ ยูเรเนียม (U) ประกอบด้วย 235 U 0.7% และ 238 U 99.3% เมื่อทำปฏิกิริยากับ F 2 จะได้แก็ส 235 UF 6 ปนกับ 238 UF เมื่ออาศัยกฎการแพร่ผ่านจะได้ r ( 235 UF 6 ) r ( 238 UF 6 ) = M ( 238 UF 6 ) M ( 235 UF 6 )   (352/349) = = 1.004 ให้ผ่านแก๊สผสมผ่านผนังที่มีรูพรุน จะพบว่า 235 UF 6 จะแพร่ได้เร็วกว่า ให้แพร่ผ่านซ้ำหลายพันครั้ง ในที่สุดจะแยกออกจากกันได้
  • 61. 8. พฤติกรรมของแก๊สจริง สำหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ PV = nRT เมื่อ n = 1 โมล จะได้ PV/RT = 1 เสมอ แต่ แก๊สจริง (real gas) จะให้ค่า PV/RT = 1 ( ดังแสดงในรูปที่ 11 และ 12 )
  • 62. 200 400 600 800 1000 1200 P(atm) PV/RT 1.0 2.0 CH 4 NH 3 H 2 N 2 300 600 900 2 3 Z P(atm) 200 K 500 K 1000 K รูปที่ 12 พฤติกรรมของ Z ที่อุณหภูมิต่างๆ สำหรับ CH 4 รูปที่ 11 พฤติกรรมของแก๊สต่างๆ ที่อุณหภูมิ 273 K แก๊สจริง แก๊สสมบูรณ์แบบ
  • 63.
  • 64. ความหมายของ a และ b พิจารณาโดยเริ่มจาก สมการแก๊สสมบูรณ์แบบที่ PV = nRT เมื่อ n = 1 และให้ V เป็นปริมาตรต่อโมล ( molar volume) แก๊สสมบูรณ์ให้ค่า V = RT/P แสดงว่า ที่ T = 0 K, V = 0 สำหรับแก๊สจริง แสดงว่า ที่ T = 0 K, V = 0 ( มีขนาดที่แน่นอน ) ปริมาตรที่โมเลกุลเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ = V – b โดย b เป็นปริมาตรส่วนที่โมเลกุลเคลื่อนที่ผ่านเข้าไปไม่ได้ เรียกว่า ปริมาตรหวงห้าม (excluded volume) เมื่อเราคิดว่า โมเลกุลเป็นทรงกลม ที่มีรัศมี = r โมเลกุลตัวที่สอง เข้าใกล้ตัวที่ หนึ่งได้มากที่สุดคือ ระยะ 2r ( ซึ่งผิวจะสัมผัสกันพอดี )
  • 65. 2r r r รูปที่ 13 ปริมาตรหวงห้าม (excluded volume) ของแต่ละโมเลกุล ปริมาตรหวงห้ามของ 2 โมเลกุล = (4/3)  (2r) 3 ปริมาตรหวงห้ามของ 1 โมเลกุล = (1/2) (4/3)  (2r) 3 = 4(4/3)  r 3 คือ 4 เท่าของปริมาตร 1 โมเลกุล
  • 66. พฤติกรรมของแก๊สจริง ต้องเกี่ยวข้องกับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล ซึ่งจะมีผลต่อความดัน เมื่อแก๊สชนผนัง ( ความดันน้อยกว่าที่ควรเป็น ) ดังแสดงในรูปที่ (14) คือ M ผนัง รูปที่ 14 ผลเนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลทำให้ความดันน้อยลดลง
  • 67. การลดลงของความดันขึ้นอยู่กับ 1. จำนวนครั้งของการชนกัน 2. แรงที่ลดลงในการชนแต่ละครั้ง ต่างก็ขึ้นกับความเข้มข้น C = n/V ความดันที่ลดลง  (n/V) 2 an 2 /V 2 a (n/V) 2 a V 2 = = = [ a เป็นค่าคงที่เฉพาะสำหรับแก๊สแต่ละชนิด โมเลกุลมีขั้ว เช่น CO มีค่าสูงกว่า a โมเลกุลที่ไม่มีขั้วเช่น Ne]
  • 68. ความดันที่แท้จริงของแก๊สควรเป็น P+ a/V 2 ดังในสมการ (41) สำหรับแก๊ส n โมล สมการจะเป็น (P + an 2 v 2 )(v – nb) = nRT …… .. (42) a และ b เรียกว่าค่าคงที่ของแวนเดอร์วาลส์ สามารถหาได้จากการทดลอง ตัวอย่างบางค่าแสดงในตารางที่ 1.
  • 69.   ตารางที่ 1 แก๊ส a (atm L 2 mol -2 ) B (L mol -1 ) H 2 0.244 0.0266 N 2 1.39 0.0391 Ne 0.211 0.0171 Ar 1.35 0.0322 O 2 1.36 0.0318 CO 1.46 0.0392 CO 2 3.59 0.0427 H 2 O 5.47 0.0305 NH 3 4.18 0.0373 CH 4 2.25 0.0427 CCl 4 19.6 0.1270 HCl 3.67 0.0408
  • 70. สมการแวนเดอร์วาลส์ทำนายพฤติกรรมของแก๊สจริงอย่างเที่ยงตรงไม่ได้ทั้งหมด มีการพัฒนาสมการอีกหลายแบบ ตัวอย่างที่ 10 จงคำนวณความดันของแก๊ส CO 2 18.617 mol ซึ่งมีปริมาตร 10 L ที่ 100 o C โดยใช้ ก . กฎแก๊สสมบูรณ์แบบ ข . สมการแวนเดอร์วาลส์ วิธีทำ ก . PV = nRT P = nRT/V (18.617 mol)(0.08205 L atm mol -1 )(373K) 10 L = = 57 atm ข . จาก (P + an 2 v 2 )(v – nb) = nRT …… .. (42) P = nRT (v – nb) - an 2 v 2
  • 71. P = (18.617 mol)(0.08205 L atm mol -1 )(373K) (10 L) - (18.617 mol )(0.0427 L mol -1 ) - (3.59 atm L 2 mol -2 )(18.617 mol) 2 (10 L) 2 = 49.5 atm จะเห็นว่า ต่ำกว่าเมื่อคิดว่าเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ = 57 – 49.5 = 7.5 atm
  • 72. O 2 0.10 atm 9. แก๊สผสม H 2 0.50 atm N 2 0.75 atm 1 L 1 L 1 L 1 L 1.35 atm เหตุผล ? หมายความว่า ความดันรวม = ผลรวมของความดันย่อย
  • 73. ความดันของแก๊สแต่ละตัว เราเรียกว่า ความดันย่อยของแก๊สชนิดนั้น Dalton 1802 : ทดลองและเสนอกฎ เมื่อมีแก๊สที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ผลสมกันอยู่ในภาชนะเดียวกัน จะทำให้เกิดความดันรวม เท่ากับผลรวมของความดันแก๊สแต่ละชนิด โดยถือเสมือน ว่าแก๊สแต่ละชนิดทำให้เกิดความดันเสมือนว่าอยู่ในภาชนะโดยลำพัง ความดันอันเนื่องจากแก๊สแต่ละตัว เรียกว่าความดันย่อย (partial pressure)
  • 74. สมมติว่าแก๊สแต่ละชนิดเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ และแก๊สผสมก็เป็นแก๊สสมบูรณ์แบบด้วย ให้ P i เป็นความดันย่อยของแก๊สตัว i P tot เป็นความดันไอรวมของแก๊สผสม V เป็นปริมาตรของภาชนะ n i เป็น จำนวนโมลของแก๊สตัว i n tot เป็นจำนวนโมลรวม จะได้ P tot V = n tot RT = (n 1 + n 2 +…. n i +…) RT ………………. (43) = n 1 + n 2 +…. n i + ดังนั้น P tot RT V RT V RT V = P 1 + P 2 + ……+ P i +… ……(44)
  • 75. สมการ ( 44 ) เขียนได้เป็น P tot =  i P i ……… .. (45) เมื่อ P i = n i RT/V ความสัมพันธ์ระหว่าง P i กับ P tot เขียนได้อีกแบบคือ = = x i = ……… .. (46) เมื่อ x i = n i /n tot คือเศษส่วนโมล (mole fraction) ของแก๊ส i หรือเขียนได้ว่า P i = x i P tot ……… .. (47)
  • 76. เราคำนวณความดันย่อยโดยใช้กฎของบอยล์ได้ดังนี้ สมมติว่าแก๊ส A มีความดัน P 1 และ V 1 นำมาผสมกับแก๊สอื่น จนแก๊สผสมมีปริมาตร V และความดันย่อยเท่ากับ P A จะสามารถคำนวณ ค่าความดันย่อยได้ดังนี้ P A V = P 1 V 1 P A = (P 1 V 1 )/V ……… .. (48)
  • 77. ตัวอย่างที่ 11 เมื่อนำแก๊ส N 2 จำนวน 200 cm 3 ที่อุณหภูมิ 25 o C ความดัน 250 torr มาผสมกับแก๊ส O 2 ที่มีปริมาตร 350 cm 3 อุณหภูมิ 25 o C และความดัน 300 torr ในภาชนะที่มีปริมาตร 300 cm 3 จงหาความดันรวมของแก๊สผสม วิธีทำ สำหรับ N 2 : V 1 = 200 cm 3 P 1 = 250 torr V = 300 cm 3 P N2 = ? P N2 = P 1 V 1 V = (250 torr)(200 cm 3 ) (300 cm 3 ) = 167 torr P O2 = (300 torr)(350 cm 3 ) (300 cm 3 ) = 350 torr จะได้ P tot = P N2 + P O2 = 167 + 350 = 517 torr
  • 78. ตัวอย่างที่ 12 ในภาชนะขนาดปริมาตร 2.3 L บรรจุแก๊ส H 2 จำนวน 0.174 และแก๊ส N 2 1.365 g บรรจุอยู่ที่ 0 o C จงคำนวณเศษส่วนโมล ความดันย่อยจองแก๊สทั้งสอง และความดันรวม เมื่อถือว่าแก๊สทั้งสองชนิดเป็นแก๊สสมบูรณ์แบบ วิธีทำ น้ำหนักโมเลกุลของ H 2 และ N 2 เท่ากับ 2 และ 28 g mol -1 ตามลำดับ n H2 = 0.174 g 2 g/mol = 0.087 mol n N2 = 1.365 g 28 g/mol = 0.049 mol n tot = n H2 + n N2 = 0.136 mol x H2 = n H2 / n tot = .087 mol/0.136mol = 0.64 x N2 = n N2 / n tot = .049mol/0.136mol = 0.36
  • 79. P H2 = n H2 (RT/V) = (0.087 mol)(0.082 L atm mol -1 )(273 K) 2.83 L = 0.69 atm P N2 = n N2 (RT/V) = (0.049 mol)(0.082 L atm mol -1 )(273 K) 2.83 L = 0.39 atm ความดันรวม P tot = P H2 + P N2 = 0.69 + 0.39 = 1.08 atm

Editor's Notes

  1. Is4^
  2. ้า