SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟสิกส เรื่อง สมการของแบรนูลลี   1


รายวิชา ฟสิกส 3                                                          ประกอบหนวยการเรียนรู
ระดับชั้น มัธยมศึกษาป$ที่ 5
                                                   ใบความรู 4            เรื่อง กลศาสตรของไหล
                                         หัวขอเรื่อง สมการแบรนูลลี

หลักความดันของของไหล จะกลาวถึงของไหล ( ของเหลว อากาศ(แกส) ) ที่เคลื่อนที่ ไมอยูนิ่ง เหมือน
ของเหลวในอาง หรือ น้ําในเขื่อน ที่มีการไหลอยางเป(นโดยจะใช,ความคิดเกี่ยวกับ ของไหลในอุดมคติที่สรุปได,
วา
    1. ทุกอนุภาคในของไหล เมื่อ เคลื่อนผานจุดเดียวกันจะมีความเร็วเทากัน และเมื่อไหลผานจุดตางๆกัน
       จะมีความเร็วเทากันหรือแตกตางกันก็ได,
    2. ของไหลมีการไหลโดยไมหมุน และไมสามารถอัดได,
    3. ของไหลมีการไหลโดยไมมีแรงต,านเนื่องจากความหนืดของของไหล
    4. ของไหล ณ ตําแหนงใด จะมีความหนาแนนคงตัว
และความตอเนื่องของการไหล จะมีอัตราการไหลที่คงตัวเสมอ โดยจะหาได,จากสมการดังตอไปนี้
                       อัตราการไหล =             Av
               โดย อัตราการไหล ณ ตําแหนงใดๆ จะคงตัว
                       Av       =        คาคงตัว
                       A1v1 =            A2v2

ตัวอยาง         เม็ดเลือดไหลด,วยอัตราเร็ว 8 เซนติเมตรตอวินาที ในเส,นเลือดใหญมีรัศมี 0.6เซนติเมตร ไปสู
เส,นเลือดขนาดเล็กลง และมีรัศมี 0.3 เซนติเมตร อัตราเร็วของเม็ดเลือดในเส,นเลือดเล็กเป(นกี่เซนติเมตรตอ
วินาที
วิธีทํา         จาก              Av      =       คาคงตัว
                จะได,                            A1v1 =         A2v2
                         π(0.6 cm)(0.6 cm)(8 cm/s) =             π(0.3 cm)(0.3 cm)v2
                                                 v2      =       32      cm/s
ตอบ             อัตราเร็วของเม็ดเลือดในเส,นเลือดเล็กเป(น 32      เซนติเมตรตอวินาที

                                          สมการของแบรนูลลี
แบรนูลลี ได,ใช,หลักความสัมพันธรหวางงานและพลังงานในการอธิบายการไหลของของไหล ดังนี้
        จากหลักทรงพลังงาน ที่วาพลังงานจะไมมีการสูญหายแตมีการเปลี่ยนรูปได, ดังนั้น ทุกๆตําแหนงจะมี
พลังงานเทากัน                                        E2 W
                                                                     2

                                                             2
                                    E1
                              W1
                                          1
จะได,
               W1 + E1          =             W2 + E2
               W1 - W2          =             E2 - E1
               P1V1 - P2V2      =             ( (Ek + EP)2 ) - ( (Ek + EP )1 )
        P1V1 - P2V2             =             (Ek2 + EP2 - Ek1 - EP1)
        P1V1 - P2V2             =             (Ek2 - Ek1 )+ (EP2 - EP1 )
                                               1            1
        P1V1 - P2V2             =             ( m2 v 2 - m1 v1 )+ ( m2gh2 - m1gh1 ) , m = ρV
                                                       2
                                                                   2
                                                2           2
                                               1              1
        P1V1 - P2V2             =             ( ρ2V2 v 2 - ρ1V1 v1 )+ (ρ2V2gh2 - ρ1V1gh1 )
                                                          2
                                                                        2
                                                2             2
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟสิกส เรื่อง สมการของแบรนูลลี   2


แต     V1 = V2
                                                    1          1
                 P1 - P2                =         ( ρ2 v 2 - ρ1 v1 )+ (ρ2gh2 - ρ1gh1 )
                                                            2
                                                                    2
                                                    2          2
                                                   1          1
                 P1 - P2                =             ρ2 v 2 - ρ1 v1 + ρ2gh2 - ρ1gh1
                                                           2
                                                                   2
                                                   2          2
           1     2                                         1
       P1 + ρ 1 v1 + ρ 1g h1            =         P2 + ρ 2 v 2 + ρ 2g h2
                                                                 2
           2                                               2

              1 2
หรือ   P +      ρ v + ρ g h = คาคงตัว ณ ตําแหนงใดเสมอ นี้คือ สมการของแบรนูลลี
              2

ตัวอยาง อัตราเร็วของลมพายุที่พัดเหนือหลังคาบ,านหลังหนึ่งเป(น 40 เมตรตอวินาที ถ,าหลังคาบ,านนี้มี
พื้นที่ 175 ตารางเมตร แรงยกที่กระทํากับหลังคาบ,านเป(นกี่นิวตัน กําหนดให,ความหนาแนนของอากาศ
ขณะนั้นเทากับ 0.3 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และ g = 10 เมตรตอวินาทียกกําลังสอง
วิธีทํา จากสมการของแบรนูลลี
                                 1                                1
                          P1 + ρ 1 v1 + ρ 1g h1 = P2 + ρ 2 v 2 + ρ 2g h2
                                         2
                                                                         2
                                 2                                2
           ให, อัตราเร็วที่พัดเหนือหลังคา v1 =            40       m/s
                 อัตราเร็วที่พัดใต,หลังคา v2    =         0         m/s
                 ความดันเหนือหลังคา คือ P1
                 ความดันเหนือหลังคา คือ P2
                 ความดันที่กระทําตอหลังคา คือ P1 – P2
                                                 1            1
              จะได,       P1 - P2            =     ρ2 v 2 - ρ1 v1 + ρ2gh2 - ρ1gh1
                                                         2
                                                                     2
                                                 2            2
              แต ρ2 = ρ1 และ ( h2 - h1 = 0 )
                                                 1
                          P1 - P2            =     ρ ( v 2 - v 1 ) + ρ ( h2 - h1 )
                                                          2
                                                               2
                                                 2
                                                 1
                          P1 - P2            =     ( 0.3 ) (1600 – 0 ) + ( 0.3 ) ( 0 )
                                                 2
                          P1 - P2            =  240 N / m2
                 จาก                F        =  PA
                 จะได,              F        =  (P1 - P2)A
                                    F        =  ( 240 )( 175 )
                                    F        =  42,000 นิวตัน

ตอบ          แรงยกที่กระทํากับหลังคาบ,านเป(น      42,000 นิวตัน

More Related Content

Viewers also liked

ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07witthawat silad
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
Wijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
Wijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
Wijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
Chakkrawut Mueangkhon
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
Chakkrawut Mueangkhon
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 

Viewers also liked (19)

ใบงาน 07
ใบงาน  07ใบงาน  07
ใบงาน 07
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
Wijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
Wijitta DevilTeacher
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
Wijitta DevilTeacher
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
Wijitta DevilTeacher
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 

ใบความรู้ 4

  • 1. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟสิกส เรื่อง สมการของแบรนูลลี 1 รายวิชา ฟสิกส 3 ประกอบหนวยการเรียนรู ระดับชั้น มัธยมศึกษาป$ที่ 5 ใบความรู 4 เรื่อง กลศาสตรของไหล หัวขอเรื่อง สมการแบรนูลลี หลักความดันของของไหล จะกลาวถึงของไหล ( ของเหลว อากาศ(แกส) ) ที่เคลื่อนที่ ไมอยูนิ่ง เหมือน ของเหลวในอาง หรือ น้ําในเขื่อน ที่มีการไหลอยางเป(นโดยจะใช,ความคิดเกี่ยวกับ ของไหลในอุดมคติที่สรุปได, วา 1. ทุกอนุภาคในของไหล เมื่อ เคลื่อนผานจุดเดียวกันจะมีความเร็วเทากัน และเมื่อไหลผานจุดตางๆกัน จะมีความเร็วเทากันหรือแตกตางกันก็ได, 2. ของไหลมีการไหลโดยไมหมุน และไมสามารถอัดได, 3. ของไหลมีการไหลโดยไมมีแรงต,านเนื่องจากความหนืดของของไหล 4. ของไหล ณ ตําแหนงใด จะมีความหนาแนนคงตัว และความตอเนื่องของการไหล จะมีอัตราการไหลที่คงตัวเสมอ โดยจะหาได,จากสมการดังตอไปนี้ อัตราการไหล = Av โดย อัตราการไหล ณ ตําแหนงใดๆ จะคงตัว Av = คาคงตัว A1v1 = A2v2 ตัวอยาง เม็ดเลือดไหลด,วยอัตราเร็ว 8 เซนติเมตรตอวินาที ในเส,นเลือดใหญมีรัศมี 0.6เซนติเมตร ไปสู เส,นเลือดขนาดเล็กลง และมีรัศมี 0.3 เซนติเมตร อัตราเร็วของเม็ดเลือดในเส,นเลือดเล็กเป(นกี่เซนติเมตรตอ วินาที วิธีทํา จาก Av = คาคงตัว จะได, A1v1 = A2v2 π(0.6 cm)(0.6 cm)(8 cm/s) = π(0.3 cm)(0.3 cm)v2 v2 = 32 cm/s ตอบ อัตราเร็วของเม็ดเลือดในเส,นเลือดเล็กเป(น 32 เซนติเมตรตอวินาที สมการของแบรนูลลี แบรนูลลี ได,ใช,หลักความสัมพันธรหวางงานและพลังงานในการอธิบายการไหลของของไหล ดังนี้ จากหลักทรงพลังงาน ที่วาพลังงานจะไมมีการสูญหายแตมีการเปลี่ยนรูปได, ดังนั้น ทุกๆตําแหนงจะมี พลังงานเทากัน E2 W 2 2 E1 W1 1 จะได, W1 + E1 = W2 + E2 W1 - W2 = E2 - E1 P1V1 - P2V2 = ( (Ek + EP)2 ) - ( (Ek + EP )1 ) P1V1 - P2V2 = (Ek2 + EP2 - Ek1 - EP1) P1V1 - P2V2 = (Ek2 - Ek1 )+ (EP2 - EP1 ) 1 1 P1V1 - P2V2 = ( m2 v 2 - m1 v1 )+ ( m2gh2 - m1gh1 ) , m = ρV 2 2 2 2 1 1 P1V1 - P2V2 = ( ρ2V2 v 2 - ρ1V1 v1 )+ (ρ2V2gh2 - ρ1V1gh1 ) 2 2 2 2
  • 2. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟสิกส เรื่อง สมการของแบรนูลลี 2 แต V1 = V2 1 1 P1 - P2 = ( ρ2 v 2 - ρ1 v1 )+ (ρ2gh2 - ρ1gh1 ) 2 2 2 2 1 1 P1 - P2 = ρ2 v 2 - ρ1 v1 + ρ2gh2 - ρ1gh1 2 2 2 2 1 2 1 P1 + ρ 1 v1 + ρ 1g h1 = P2 + ρ 2 v 2 + ρ 2g h2 2 2 2 1 2 หรือ P + ρ v + ρ g h = คาคงตัว ณ ตําแหนงใดเสมอ นี้คือ สมการของแบรนูลลี 2 ตัวอยาง อัตราเร็วของลมพายุที่พัดเหนือหลังคาบ,านหลังหนึ่งเป(น 40 เมตรตอวินาที ถ,าหลังคาบ,านนี้มี พื้นที่ 175 ตารางเมตร แรงยกที่กระทํากับหลังคาบ,านเป(นกี่นิวตัน กําหนดให,ความหนาแนนของอากาศ ขณะนั้นเทากับ 0.3 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และ g = 10 เมตรตอวินาทียกกําลังสอง วิธีทํา จากสมการของแบรนูลลี 1 1 P1 + ρ 1 v1 + ρ 1g h1 = P2 + ρ 2 v 2 + ρ 2g h2 2 2 2 2 ให, อัตราเร็วที่พัดเหนือหลังคา v1 = 40 m/s อัตราเร็วที่พัดใต,หลังคา v2 = 0 m/s ความดันเหนือหลังคา คือ P1 ความดันเหนือหลังคา คือ P2 ความดันที่กระทําตอหลังคา คือ P1 – P2 1 1 จะได, P1 - P2 = ρ2 v 2 - ρ1 v1 + ρ2gh2 - ρ1gh1 2 2 2 2 แต ρ2 = ρ1 และ ( h2 - h1 = 0 ) 1 P1 - P2 = ρ ( v 2 - v 1 ) + ρ ( h2 - h1 ) 2 2 2 1 P1 - P2 = ( 0.3 ) (1600 – 0 ) + ( 0.3 ) ( 0 ) 2 P1 - P2 = 240 N / m2 จาก F = PA จะได, F = (P1 - P2)A F = ( 240 )( 175 ) F = 42,000 นิวตัน ตอบ แรงยกที่กระทํากับหลังคาบ,านเป(น 42,000 นิวตัน