SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
อุณหพลศาสตร์

 สมบัติของแก๊สอุดมคติ

 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

 พลังงานภายในระบบ

 กฎข้อที่ศูนย์และข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สมบัติทางความร้อนของสสาร
              (Thermal Properties of Matter)
• ศัพท์ทางเทอร์โมไดนามิกส์
   – สภาวะ (state)
   – ระบบ (system)
   – สิ่งแวดล้อม (surrounding)
   – ขอบเขต (boundary)
สมบัติทางความร้อนของสสาร
                (Thermal Properties of Matter)
• เทอร์โมไดนามิกส์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะ (state)
  ของระบบ (system)
• พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบ บรรยายโดยใช้ปริมาณ
   – ปริมาณเชิงมหทรรศน์(macroscopic quantities)
       • ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิและมวลของระบบ
   – ปริมาณเชิงจุลทรรศน์(microscopic quantities)
       • มวล อัตราเร็ว พลังงานจลน์ และ โมเมนตัม ของแต่ละโมเลกุล
ก๊าซอุดมคติ (Ideal Gas)
• สาหรับก๊าซ แรงที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมจะน้อยมาก ๆ
   – สามารถจินตนาการได้ว่าไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม
      • แต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่อย่างอิสระ
      • การชนของโมเลกุลเป็นการชนแบบยืดหยุ่น
• สาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ
ก๊าซอุดมคติ
• สาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ
• สมการของก๊าซจะมีปริมาตร , V, เป็นตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสมการ
   – โดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากจุดเริ่มด้น (DV)
สมการสภาวะของก๊าซ
• โดยทั่วไปสมการสภาวะของก๊าซมวล m(หรืออาจจะใช้จานวน
  โมล) จะเกี่ยวข้องกับ ปริมาตร ความดัน และ อุณหภูมิ (ตัว
  แปรสภาวะ : state variables)
• สมการที่เกี่ยวข้องกับปริมาณเหล่านี้เรียกว่าสมการสภาวะ
  (equation of state)
   – ถ้าก๊าซมีความดันต่่าสมการจะอยู่ในรูปแบบที่ง่าย
   – นั่นคือถ้าก๊าซมีความดันต่่า(ความหนาแน่นน้อย)จะเป็นก๊าซอุดมคติ
     (ideal gas)
โมล(Mole)
• เพื่อความสะดวกจะบอกจ่านวนของก๊าซในเทอมของจ่านวนโมล
• หนึ่ง mole ของสสารบอกด้วยเลขอะโวกาโด (Avogadro’s
  number) ซึ่งก็คือจ่านวนอนุภาคของสสาร(atoms or molecules)
   – Avogadro’s number NA = 6.022 x 1023
โมล(Moles)

• จ่านวนโมลหาได้จากมวลของสสาร: n = m /M
   –M คือมวลโมเลกุล
   –m คือมวลของสสาร
   –n คือจ่านวนโมล
กฎของก๊าซ(Gas Laws)
                                           1
• เมื่อก๊าซมี อุณหภูมิคงที่ ความดันจะ
  แปรผกผันกับปริมาตร (Boyle’s law)
                                        V
                                           P
• เมื่อก๊าซมี ความดันคงที่ ปริมาตรจะ    V T
  แปรผันตรงกับอุณหภูมิ (Charles ’s
  law)
                                        PV
• นากฎของบอยส์และชาร์ล มา                  k
  พิจารณาร่วมกันจะได้ว่า                T
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law)

• การหาค่านิจของแก๊ส
  – ที่ STP
     • อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส(ประมาณ 273K) ณ ความดัน 1
       บรรยากาศ(1.013x105 N/m2) ก๊าซทุกชนิด 1
       โมล จะมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร (22.4x10-3 m3)
  – จะได้ค่า R = 8.314 J/mol ∙ K
  –นั่นคือสมการของก๊าซอุดมคติ
     • PV = nRT
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ

• R คือค่าคงที่ เรียกว่าค่าคงตัวสากลของก๊าซ
  – R = 8.314 J/mol ∙ K = 0.08214 (L ∙ atm)/mol ∙ K
• จากค่า R สามารถหาได้ว่าก๊าซ 1 mole ที่ความ
  ดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ 0o C มีปริมาตร 22.4
  L
กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ

• กฎของก๊าซอุดมคติสามารถแสดงอยู่ในเทอม
  ของจานวนโมเลกุลทั้งหมด(N )
• PV = nRT = (N/NA) RT = NkBT
  – kB is Boltzmann’s constant
  – kB = 1.38 x 10-23 J/K
• โดยทั่วไปเรียก P, V, และ T ว่า ตัวแปรทาง
  เทอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic variables)
  ของก๊าซอุดมคติ
ข้อพิเศษ หาจานวนโมลของก๊าซที่บรรจุในภาชนะ

• ก๊าซอุดมคติมีปริมาตร 100 cm ที่ 200 C และ100
                             3

  Pa หาจานวนโมลของก๊าซในภาชนะ
  – Solution จากสมการ
ข้อพิเศษ การให้ความร้อนต่อกระป๋องสเปรย์
                                                     3        0
• กระป๋องสเปรย์มีความดัน202 kPa และมีปริมาตร 125 cm ที่ 22 C
  โยนเข้าไปในกองไฟ เมื่ออุณหภูมิของก๊าซขึ้นถึง 1950 C ความดัน
  ของในกระป๋องมีค่าเท่าใด
   – Solution
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (The Kinetic Theory of Gases)

• แบบจาลองของก๊าซอุดมคติ
   – มีโมเลกุลของก๊าซเป็นจานวนมากโดยกาหนดให้เท่ากับ N โดยแต่ละโมเลกุล
     มีมวลเท่ากับ m
   – โมเลกุลของก๊าซอยู่ห่างกันมาก ซึ่งแสดงว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมาก
     จนตัดทิ้งได้
   – การชนกันของโมเลกุลทั้งหลายของก๊าซในอุดมคติเป็นการชนแบบยืดหยุ่น
   – ความเร็วของแต่ละโมเลกุลไม่จาเป็นต้องเท่ากัน แต่ถือว่ามีค่าคงตัวเมื่อเวลา
     ผ่านไป
ความดัน และ พลังงานจลน์ (1)
• พิจารณาภาชนะรูปลูกบาศก์ที่ทุก
  ด้านยาว d ภายในบรรจุก๊าซ
• โมเลกุลมีองค์ประกอบของความเร็ว
  ในแนวแกน x
• ชนแบบยืดหยุ่นด้วยความเร็ว v x i
• ผนังออกแรงกระทาต่อโมเลกุลของ
  ก๊าซ(กฎข้อที่สองของนิวตัน)
    – ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
ความดัน และ พลังงานจลน์ (2)
• พิจารณาการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของโมเลกุล

• ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมก็คือ การดล

• ช่วงเวลาที่โมเลกุลวิ่งเข้าชนผนังเดิมอีกครั้ง

• นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (3)
• แรงเฉลี่ยที่ผนังกระทาต่อโมเลกุล

• นั่นคือจะได้แรงเฉลี่ยที่โมเลกุลกระทาต่อผนัง(กฎข้อที่สามของนิวตัน)

• แรงเฉลี่ยของก๊าซทั้งหมด(Nโมเลกุล)ที่กระทาต่อผนังภาชนะ

• แรงที่กระทาต่อผนังภาชนะจะกระทาในช่วงเวลาทีสั้นมากจนถือได้ว่า
                                            ่
  แรงจะมีค่าคงที่นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (4)
• พิจารณาค่าเฉลี่ยของ   (   )



• นั่นคือ

• ความเร็วลัพธ์ของแต่ละโมเลกุลสามารถเขียนในรูปของผลรวมของ
  ความเร็วในส่วนประกอบย่อย       และ นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (5)
• ในทานองเดียวกัน ความเร็วกาลังสองเฉลี่ย           เขียนได้เป็น

• เนื่องจากโมเลกุลมีโอกาสวิ่งชนผนังทั้ง 3 ทิศทาง (x,y,z) ได้เท่า ๆ กัน
             2     2      2
  ดังนั้น v x = v y = v z
• ดังนั้นจากสมการ

    – จะได้
ความดัน และ พลังงานจลน์ (6)
• จัดรูปสมการจะได้



• ดังนั้นความดันที่ผนังเขียนได้เป็น
ความดัน และ พลังงานจลน์ (8)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ
   – จากสมการ                        และ
   – จะได้

   – หรือ

     นี่คือพลังงานจลน์เฉลี่ยต่อหนี่งโมเลกุล
ความดัน และ พลังงานจลน์ (9)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ
   – เนื่องจาก
   – จะได้

   – ทานองเดียวกันจะได้                    และ
              (ทฤษฎีการแบ่งเท่าของพลังงาน (theorem of equipartition of energy)
   – ดังนั้นพลังงานจลน์ทั้งหมด(N โมเลกุล)

                                               พลังงานภายในของก๊าซอุดมคติขึ้นกับ
                                               อุณหภูมิ
ความดัน และ พลังงานจลน์ (10)
• รากที่สองของ เรียกว่า ความเร็วรากที่สองของกาลังสอง
  เฉลี่ย (root-mean-square velocity):



       • ซึ่งก็คือความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุล


                                 
ตัวอย่าง Vrms
พลังงานภายในของแก๊ส
• ในทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
                                     1   2 3
   – พลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่เฉลี่ย mv = k T
      • หรือ   KE = k T
                       3             2     2 B
                   t       B
   – ดังนั้นพลังงานจลน์รวมของอนุภาคเท่ากับ N KE = 3 Nk T
                       2
                                                   t   2 B
   – พลังงานจานวนนี้เรียกว่า พลังงานภายใน (เนื่องจากอุณหภูมิ)

            3      3
    Eint =U= Nk BT= nRT
            2      2
พลังงานภายในของแก๊ส
• พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลต่าง ๆ เขียนได้เป็น
                   f
               KE = k BT
                   2

• โดย f เป็นค่ายังผลของดีกรีของความอิสระ
  (degree of freedom)
   – f= 3 สาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว
   – f= 5 สาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมคู่
   – F= 6 สาหรับโมเลกุลหลายอะตอม
• สาหรับพลังงานภายในเนื่องจากอุณหภูมิของแก๊สเขียนได้เป็น
                  f      f       f    f
              U=N  k BT  = Nk BT= nRT= PV
                  2      2       2    2
ข้อพิเศษ : A Tank of Helium
• ถังบรรจุก๊าซฮีเลียมมีปริมาตร3.00 m3 และมีก๊าซฮีเลียมจานวน 2 โมล
  ที่อุณหภูมิ 20.0 องศาเซลเซียส สมมติว่าก๊าซฮีเลียมเป็นก๊าซอุดมคติ
   – (A) หาพลังงานจลน์ทั้งหมดของโมเลกุลของก๊าซ
   – (B) พลังงานจลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุล
เฉลย : A Tank of Helium
• Solution
  – (A)




  – (B)
ระบบและสิ่งแวดล้อม
• ระบบ(System) หมายถึงสิ่งที่สนใจศึกษา และมีขอบเขต
• ระบบปิด(Closed system) หมายถึงระบบที่ไม่มีมวลสารผ่านเข้าออก
  ระบบ(อาจมีการแลกเปลี่ยนพลังงานได้)
• ระบบเปิด(Open system) หมายถึงระบบที่มีมวลสารผ่านเข้าหรือ
  ออกจากระบบ(อาจมีการแลกเปลี่ยนพลังงานได้)
• ระบบโดดเดี่ยว(Isolate system) ระบบที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนพลังงาน
  และมวลสาร
• สิ่งแวดล้อม(Environment) หมายถึง สิ่งที่อยู่ภายนอกและมีผล
  เกี่ยวข้องกับระบบ
สภาวะและฟังก์ชันสภาวะ
ตัวแปรสภาวะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรที่ขึ้นอยู่กับปริมาณสาร(extensive variable) เช่นมวล
    ปริมาตร เป็นต้น
2. ตัวแปรที่ไม่ขึ้นกับปริมาณสาร(intensive variable) เช่น ความดัน
    อุณหภูมิ และความหนาแน่น เป็นต้น
อุณหภูมิและความร้อน
                 (Temperature and Heat)
• สมดุลความร้อน(thermal equilibrium)
  – กฎข้อที่ศูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์(The Zeroth Law of
    Thermodynamics)
     • “ ถ้าวัตถุ A และวัตถุ B ต่างก็อยู่ในสมดุลความร้อนกับวัตถุ C แล้ววัตถุ A
       และวัตถุ B จะอยู่ในสมดุลความร้อนซึ่งกันและกันด้วย ”
พลังงานภายใน(Internal energy)
พลังงานภายใน หมายถึง พลังงานที่เก็บสะสมไว้ภายในโมเลกุลของสาร
นั้น ๆ
พลังงานภายในเป็นคุณสมบัติของระบบ ซึ่งใช้สัญลักษณ์ เป็น U เมื่อ
หารด้วยมวลของระบบจะได้พลังงานภายในจ่าเพาะ u = U/m มีหน่วย
เป็น kJ/kg
พลังงานภายใน(Internal energy)
ภายใต้กระบวนการให้ความร้อนที่ปริมาตรคงที่ ปริมาณความร้อนที่ให้กับ
ระบบย่อมเท่ากับพลังงานภายในทีเ่ พิ่มขึ้น
                  Q  DU  U 2  U1
ก๊าซอุดมคติที่มีความจุความร้อนจาเพาะคงที่ในช่วงอุณหภูมิที่พิจารณา
การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบนีสามารถคานวณได้จาก
                                    ้

                U 2  U1  mcv (T2  T1 )
                u2  u1  cv (T2  T1 )
ข้อพิเศษ 0.5 คะแนน
ก๊าซออกซิเจนมวล 3.0 kg ด้รับความร้อนปริมาณหนึ่งจนท่าให้
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 25 C เป็น 100 C ภายใต้สภาวะปริมาตรคงที่
ก่าหนดให้ cv  0.6620kJ / kgk พลังงานภายในของก๊าซออกซิเจน
เพิ่มขึ้นเท่าใด
ข้อพิเศษ 0.5 คะแนน
ก๊าซ co2 มี Cv  0.6529kJ / kgk           พบว่ามีอุณหภูมิสุดท้ายอยู่
ที่ 100 C หลังจากได้รับความร้อนปริมาณหนึ่งซึ่งท่าให้พลังงานภายใน
จ่าเพาะเพิ่มขึน 50 kJ/kg จงค่านวณหาอุณหภูมิเริ่มต้นของก๊าซ
              ้
งานและความร้อนในกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์
                 Work and Heat in Thermodynamic Processes



• ตัวแปรสภาวะ
   – สภาวะของระบบจะอธิบายด้วย ตัวแปรสภาวะ (State variables)
       • Pressure, temperature, volume, internal energy
   – กระบวนการทางเทอร์ไดนามิกส์
       • สภาวะของระบบมีการเปลี่ยนแปลง ( ความดัน , อุณหภูมิ , ปริมาตร
         หรือพลังงานภายใน มีการเปลียนแปลง)
งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์
• งานสามารถเกิดจากระบบที่เคลื่อนที่ได้ เช่น ก๊าซ
• พิจารณาก๊าซที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบทีมีลูกสูบ
                                      ่
  สามารถเคลื่อนที่ได้
• ออกแรงกระทาต่อก๊าซอย่างช้า ๆ
   – การออกแรงกดอย่างช้า ๆ จะทาให้ระบบอยู่ในสมดุล
     ความร้อน
   – กระบวนแบบนี้เรียกว่า quasi-static
งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์
• ถ้าลูกสูบทีพื้นที่หน้าตัด A และความดันก๊าซภายในกระบอกสูบคือ p
  ดังนั้นก๊าซภายในกระบอกสูบจะดันลูกสูบด้วยแรง pA
• ลูกสูบถูกแรงภายนอกกระทาด้วยแรง                 ทาให้เกิดการ
  กระจัด
• งานที่กระทาต่อก๊าซจะเป็น

• ดังนั้นงานที่ทาบนระบบจะเป็น(ปริมาตรลดลง)
• งานที่ทาโดยระบบ(ปริมาตรเพิ่มขึ้น)เป็น dW  PdV
PV Diagrams     (กราฟระหว่างความดันกับปริมาตร)

• เมื่อรู้ความดันและปริมาตรในแต่ละ
  ช่วงของกระบวนการ
• สภาวะของก๊าซแต่ละช่วงถูกพล๊อต
  เป็นกราฟเรียกว่า PV diagram
• เส้นโค้งในกราฟเรียกว่า เส้นทาง
  (path)
PV Diagrams
       (กราฟระหว่างความดันกับปริมาตร) : ต่อ
• พิจารณางานที่กระทาต่อก๊าซในเส้นทางต่าง ๆ กัน
   – ถ้าในแต่ละกระบวนการจะมีสภาวะเริ่มต้นและสภาวะสุดท้ายเหมือนกัน
   – งานที่กระทาต่อก๊าซในแต่ละกระบวนการจะมีค่าแตกต่างกัน
   – นั่นคืองานที่กระทาต่อก๊าซจะขึ้นกับเส้นทาง(Path)
กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์

• กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์เป็นกรณีพิเศษของกฎการอนุรักษ์พลังงาน
   – การถ่ายโอนพลังงานความร้อนจะท่าให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน
      และ งาน
• ถึงแม้ว่า Q และ W จะขึ้นกับเส้นทาง(path) แต่ Q - W จะไม่ขึ้นกับเส้นทาง
• กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์คือ D U = Q - W
   – ทุกปริมาณจะเป็นหน่วยเดียวกัน (พลังงาน)
• ถ้ามีการเปลี่ยนน้อย ๆ ในระบบ จะได้ dU = dQ - dW
กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
•   Q เป็นบวก ส่าหรับปริมาณความร้อนที่ไหลเข้าสู่ระบบ
•   Q เป็นลบ ส่าหรับปริมาณความร้อนที่ไหลออกจากระบบ
•   W เป็นบวก เมื่อท่างานโดยระบบ
•   W เป็นลบ เมื่อท่างานบนระบบหรือโดยสิ่งแวดล้อม
ระบบโดดเดี่ยว(Isolated Systems)
• ระบบโดดเดี่ยว คือระบบที่ไม่มีอันตรกริยากับสิ่งแวดล้อม
   – ไม่มีการถ่ายโอนพลังงานและมวลสารกับสิ่งแวดล้อม
   – งานที่กระทาต่อระบบจะเป็นศูนย์
   – Q = W = 0, ดังนั้น DU= 0
• พลังงานภายในของระบบโดดเดี่ยว จะคงที่
กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์
กระบวนการปริมาตรคงตัว
       (Isochoric Process หรือ Isovolumetric Processes)
• เป็นกระบวนการที่ปริมาตรของระบบคงตัว คือไม่มีการเปลี่ยนแปลง
  ปริมาตร
• เมื่อปริมาตรไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะทาให้ W = 0
• ดังนั้นจากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์ จะได้ DU = Q
  หรือ DU  mcV (T2  T1 )
• นั่นคือถ้าพลังงานความร้อนไหลเข้าระบบที่มีปริมาตรคงที่จะทาให้
  พลังงานภายในเพิ่มขึ้น
กระบวนการความดันคงตัว (Isobaric Processes)
• กระบวนการความดันคงตัวเกิดขึ้นเมื่อความดันของระบบมีค่าคงตัว
• โดยที่ค่าของความร้อนและงานจะไม่เป็นศูนย์
• ค่าของงานคือ W = P (Vf – Vi) เมื่อ P คือความดันที่มีค่าคงที่
กระบวนการความดันคงตัว (Isobaric Processes)
ตัวอย่างของกระบวนการนี้ ได้แก่ การกลายเป็นไอของของเหลวมวล m ณ
ความดันและอุณหภูมิคงที่ ถ้า VL เป็นปริมาตรของของเหลว และ VV
เป็นปริมาตรของไอ งานที่ทาในการขยายตัวจาก VL เป็น VV ณ ความ
ดันคงที่ คือ W = P(VV - VL )
จาก Q = mL จะได้ว่า

       DU  U V  U L  mL  P(VV  VL )
กระบวนการไอโซเทอร์มัล
                    (Isothermal Process)
•   เป็นกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบมีค่าคงตัว
•   เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ นั่นคือ DU= 0
•   ดังนั้น , Q = W
•   นั่นคือพลังงานความร้อนทั้งหมดที่ระบบได้รับจะกลายไปเป็นงานที่
    ระบบทา
กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal Process) , ต่อ

• แผนภาพ PV ด้านขวาก๊าซจะมีการ
  ขยายตัวด้วยอุณหภูมิคงที่
• เส้นโค้งเป็นโค้ง hyperbola
• เส้นโค้งนี้เรียกว่าเส้น isotherm
กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal Process) , ต่อ

• จากเส้นโค้งของแผนภาพ PV ชี้ให้เห็นว่า PV = ค่าคงที่
    – สมการจะเป็นสมการแบบ hyperbola
• พลังงานภายในของก๊าซอุดมคติจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเท่านั้น ดังระบบจะเป็น
  ระบบแบบ quasi-static นั่นคือ PV = nRT จะได้
                  Vf              Vf   nRT             V f dV
        W    P dV                    dV  nRT 
                  Vi              Vi    V             Vi V

                    Vi      
        W  nRT ln          
                    Vf      
                            
กระบวนการแบบวัฏจักร
                     (Cyclic Processes)
• เป็นกระบวนการที่สภาวะตั้งต้นและสภาวะสุดท้ายเป็นสภาวะเดียวกัน
   – กระบวนการนี้จะไม่ได้เป็นระบบโดดเดี่ยว
• พลังงานภายในจะเป็นศูนย์
• DU= 0, Q = W
• ในกระบวนการแบบวัฎจักร งานทั้งหมดที่กระท่าต่อระบบต่อหนึ่งวัฎจักร
   จะเท่ากับพื้นที่ภายในที่ปิดล้อมด้วยเส้นทางของระบบในแผนภาพ PV
กระบวนการแอเดียแบติก
                        (Adiabatic Process)
•   กระบวนการแอเดียแบติกจะไม่มีการส่งผ่าน
    พลังงานความร้อนเข้าหรือออกจากระบบ
    –       Q=0
    –       นั่นคือ :
        •     ป้องกันการไหลของความร้อนโดยการล้อมรอบ
              ผนังของระบบด้วยวัสดุกันความร้อน
        •     หรือทาให้ระบบเปลี่ยนสภาวะอย่างรวดเร็วโดย
              ความร้อนไม่ทันที่จะไหลผ่านเข้าออกระบบได้
กระบวนการแอเดียแบติก(Adiabatic Process),ต่อ

• เมื่อ Q = 0 จะได้ DU= -W
• ในกระบวนแอเดียบาติก ถ้าก๊าซถูกกด W จะเป็นลบ ดังนั้น
  DU จะเป็นบวก ซึ่งจะทาให้อุณหภูมิของก๊าซเพิ่มขึ้น
• ในกระบวนการแอเดียบาติก ถ้าก๊าซขยายตัว ในทานองเดียวกัน
  จะทาให้อุณหภูมิของก๊าซลดลง
pV-diagram และการเปลี่ยนสภาวะ
   ทั้ง 4 แบบของแก๊สอุดมคติ
สอบหลังกลางภาค วันพฤหัสบดี ที่ 16 สิงหาคม 2555
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
  Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• ความจุความร้อนโมลาร์ที่ปริมาตรคงตัว (molar heat
  capacity at constant volume)

• ความจุความร้อนโมลาร์ที่ความดันคงตัว (molar heat
  capacity at constant pressure)

• คาดว่า(สมมติฐาน)
   – Cp มากกว่า Cv
     • เนื่องจากในกระบวนการ ความดัน
       คงตัว ต้องใช้ความร้อนปริมาณหนึ่ง
       ถูกใช้ในการทางานโดยระบบ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
   Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• พิจารณากระบวนการที่ปริมาตรคงตัว
   – จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์

   – ดังนั้น



   – หรือ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
  Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จาก

• และ

   – จะได้
       • สาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมเดี่ยว
                             5
   – ทานองเดียวกัน จะได้ CV  R
                             2
       • สาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมคู่

                             6
   – ทานองเดียวกันจะได้  CV  R
                             2
       • สาหรับก๊าซอุดมคติหลายอะตอม
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
   Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จากนั้นพิจารณากระบวนการที่ความดันคงที่
   – จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์จะได้



   – จาก                และ
   – แทนค่าจะได้
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
   Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• เนื่องจาก       ดังนั้น
• นอกจากนั้นพิจารณาอัตราส่วน

                               (แก๊สอุดมคติอะตอมเดี่ยว)
ตารางความจุความร้อนโมลาร์
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
กระบวนการแอเดียบาติกของก๊าซอุดมคติ
• pV-diagram แสดงการเปลี่ยนสภาวะแบบแดเดียแบติกของก๊าซ
  อุดมคติ
   – จะได้สมการ
Proof That
for an Adiabatic Process
•   จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์
•   เมื่อ
                                                    PdV
•   จะได้                                      dT=-
                                                    nCV
•   จาก               หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการได้

• แทนค่า                     ในสมการข้างต้นและหารตลอดด้วย
  ได้
Proof That
for an Adiabatic Process
• อินทิเกรตสมการ
   – ได้
   – ดังนั้น                   หรือ
   – ใช้ กฎของก๊าซอุดมคติจะได้



   – ซึ่งจะได้งานที่ทาโดยก๊าซอุดมคติในกระบวนการแอเดียบาติก คือ
                CV             1
          W=   (p2 V2 -p1V1 )= (p2V2 -p1V1 )
             R                γ-1
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
               (The Second Law of Thermodynamics)

• ทิศทางของกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ (Directions of
  Thermodynamics Process)
   – กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ทุกกระบวนการที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติเป็น
     แบบผันกลับไม่ได้ เรียกว่าเป็น irreversible process
       • นั่นคือกระบวนการทีเกิดขึ้นจะเป็นไปในทิศทางเดียว
                           ่
            – การไหลของของความร้อนจะไหลจากวัตถุที่ร้อนกว่าไปยังวัตถุที่เย็นกว่า
   – ทิศทางของกระบวนการจะสัมพันธ์กับความไม่เป็นระเบียบ (disorder) ใน
     สภาวะสุดท้าย
       • การส่งผ่านความร้อนจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนของพลังงานของการเคลื่อนทีอย่างไม่เป็น
                                                                             ่
         ระเบียบของโมเลกุล
       • ดังนั้นการเปลี่ยนรูปของพลังงานกลไปเป็นความร้อน จะมีความไม่เป็นระเบียบเข้ามา
         เกี่ยวข้อง
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
            (The Second Law of Thermodynamics)

• เครื่องจักรความร้อน (Heat Engines)

• ประสิทธิภาพ (thermal efficiency)
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
                (The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอย่างที่ 12 ถ้าเครื่องจักรความร้อนมีประสิทธิภาพ 20% และคาย
  พลังงาน 3.00×10ให้แก่น้าที่ใช้หล่อเย็นเครื่องจักร จงหางานที่
                       3
                          J
  เครื่องจักรทา




    สาหรับเครื่องจักรความร้อน
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
           (The Second Law of Thermodynamics)

• เครื่องทาความเย็น (Refrigerators)



• สัมประสิทธิ์ของการทางาน (coefficient of
  performance)
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
                (The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอย่างที่ 13 เครื่องทาความเย็นดึงเอาความร้อนจากที่ที่เย็นกว่าเข้ามาในเครื่อง
  ได้ 3 เท่าของงานที่ทาให้แก่เครื่อง
  (ก) จงหาสัมประสิทธิ์ของการทางานของเครื่องทาความเย็นนี้
  (ข) จงหาอัตราส่วนของความร้อนที่เครื่องระบายออกต่อความร้อนที่เครื่องได้รับ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
              (The Second Law of Thermodynamics)

• ไม่มีเครื่องจักรความร้อนใดที่มีประสิทธิภาพเป็น 100%
   – “ ไม่มีระบบใดที่สามารถเปลี่ยนสภาวะแบบวัฏจักรโดยดึงความร้อน
     จากแหล่งให้ความร้อนที่อุณหภูมิหนึ่งแล้วเปลี่ยนความร้อนทั้งหมด
     ไปเป็นงานกล ”
       • “ engine ” statement
   – “ ไม่มีระบบใดที่สามารถส่งผ่านความร้อนจากที่ที่เย็นกว่าไปยังที่ที่
     ร้อนกว่าด้วยตนเองได้ ”
       • “ refrigerator ” statement
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
            (The Second Law of Thermodynamics)


• วัฎจักรคาร์โนต์            (The
  Carnot Cycle)
   – เครื่องจักรความร้อนในอุดมคติที่
     มีประสิทธิภาพสูงที่สุด
       • โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส Sadi
         Carnot
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
            (The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคาร์โนต์
   – ทุกกระบวนการที่มีการส่งผ่านความร้อน
     จะต้องเป็นกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบ
     คงที่
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
               (The Second Law of Thermodynamics)



• วัฎจักรคาร์โนต์
   – แสดงวัฎจักรคาร์โนต์ที่มีก๊าซอุดมคติเป็น
     working substance ประกอบด้วยขั้นตอน
     ต่อไปนี้
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
              (The Second Law of Thermodynamics)


• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนคาร์โนต์
   – โดยเริ่มจากการหาอัตราส่วน
      • .

      • .

      • อัตราส่วนของความร้อนทั้งสองนี้คือ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
                   (The Second Law of Thermodynamics)


• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนคาร์โนต์
   – สาหรับกระบวนการแอเดียแบติกทั้งสองในวัฎจักรคาร์โนต์
       • จาก
       • และ
   – จับสองสมการนี้มาหารกัน จะได้
       • จะได้                  หรือ

       • ดังนั้น


   – ประสิทธิภาพ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
            (The Second Law of Thermodynamics)


• เอนโทรปี (Entropy)
  – กฎข้อที่สองก็สามารถเขียนออกมาให้อยู่ในรูปของความสัมพันธ์
    ของปริมาณที่เรียกว่า เอนโทรปี (entropy) ได้
  – เอนโทรปีเป็นปริมาณที่ใช้วัดความไม่เป็นระเบียบ (disorder)
• พิจารณา
  – ก๊าซอุดมคติ เมื่อเราให้ความร้อน แก่ก๊าซแล้วปล่อยให้ก๊าซ
    ขยายตัวโดยที่อุณหภูมิคงตัว
  – จากกฎข้อที่ 1 ได้                          หรือ
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
            (The Second Law of Thermodynamics)


• เอนโทรปี (Entropy)
  – ใช้สัดส่วนการเปลี่ยนของปริมาตร เป็นตัววัดการเพิ่มขึ้นของ
    ความไม่เป็นระเบียบ
  – จาก                นั้น    แปรผันกับปริมาณ
  – ใช้สัญลักษณ์ S แทนเอนโทรปีของระบบ

  – ถ้ามีความร้อนปริมาณ Q ใส่เข้าไปในช่วงกระบวนการไอโซเทอร์มัล
   แบบผันกลับได้ เอนโทรปีของระบบจะเปลี่ยนไปทั้งสิ้น
กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์
             (The Second Law of Thermodynamics)


• เอนโทรปีกับกฎข้อที่สอง (Entropy and The Second Law)
   – “ กระบวนการที่เกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติจะเกิดขึ้นในทิศทางที่ทา
     ให้เอนโทรปีรวมของระบบมีค่าคงตัวหรือไม่ก็เพิ่มขึ้นเท่านั้น ”
แบบฝึกหัด
• พิสูจน์ว่า   สาหรับก๊าซอุดมคติ
แบบฝึกหัด
ทดสอบ
• จงเติมเครื่องหมายในช่องว่าง
• เฉลย
ทดสอบ
• ในแต่ละเส้นทางเป็นกระบวนการแบบใด Q = 0 สาหรับเส้นทาง B
ทดสอบ
1. ก๊าซอุดมคติจานวน 1 โมลถูกทาให้ขยายตัวจากปริมาตร 3.0 ลิตรไป
      เป็น 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิคงที่ 0.0 องศาเซลเซียส
   1.1 จงหางานที่กระทาต่อระบบ
   1.2 จงหาความร้อนที่ไหลเข้าไปในระบบ
   1.3 ถ้าก๊าซถูกอัดจนมีปริมาตรเท่าเดิมจงหางานที่กระทาต่อก๊าซนี้ในกระบวนการ
         ความดันคงที่
เฉลยข้อ 1.1
1.1
เฉลยข้อ 1.2
1.2
เฉลยข้อ 1.3
1.3

More Related Content

What's hot

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
kaoijai
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
Apinya Phuadsing
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 

Similar to ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ

ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Nanmoer Tunteng
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
Apinya Phuadsing
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
nipatboonkong2
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
พัน พัน
 

Similar to ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (20)

แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
heat
heatheat
heat
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
ฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdfฟิสิกส์.pdf
ฟิสิกส์.pdf
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ

  • 1. อุณหพลศาสตร์  สมบัติของแก๊สอุดมคติ  ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส  พลังงานภายในระบบ  กฎข้อที่ศูนย์และข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
  • 2. สมบัติทางความร้อนของสสาร (Thermal Properties of Matter) • ศัพท์ทางเทอร์โมไดนามิกส์ – สภาวะ (state) – ระบบ (system) – สิ่งแวดล้อม (surrounding) – ขอบเขต (boundary)
  • 3. สมบัติทางความร้อนของสสาร (Thermal Properties of Matter) • เทอร์โมไดนามิกส์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะ (state) ของระบบ (system) • พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบ บรรยายโดยใช้ปริมาณ – ปริมาณเชิงมหทรรศน์(macroscopic quantities) • ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิและมวลของระบบ – ปริมาณเชิงจุลทรรศน์(microscopic quantities) • มวล อัตราเร็ว พลังงานจลน์ และ โมเมนตัม ของแต่ละโมเลกุล
  • 4. ก๊าซอุดมคติ (Ideal Gas) • สาหรับก๊าซ แรงที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมจะน้อยมาก ๆ – สามารถจินตนาการได้ว่าไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม • แต่ละโมเลกุลเคลื่อนที่อย่างอิสระ • การชนของโมเลกุลเป็นการชนแบบยืดหยุ่น • สาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ
  • 5. ก๊าซอุดมคติ • สาหรับก๊าซจะมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ • สมการของก๊าซจะมีปริมาตร , V, เป็นตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสมการ – โดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากจุดเริ่มด้น (DV)
  • 6. สมการสภาวะของก๊าซ • โดยทั่วไปสมการสภาวะของก๊าซมวล m(หรืออาจจะใช้จานวน โมล) จะเกี่ยวข้องกับ ปริมาตร ความดัน และ อุณหภูมิ (ตัว แปรสภาวะ : state variables) • สมการที่เกี่ยวข้องกับปริมาณเหล่านี้เรียกว่าสมการสภาวะ (equation of state) – ถ้าก๊าซมีความดันต่่าสมการจะอยู่ในรูปแบบที่ง่าย – นั่นคือถ้าก๊าซมีความดันต่่า(ความหนาแน่นน้อย)จะเป็นก๊าซอุดมคติ (ideal gas)
  • 7. โมล(Mole) • เพื่อความสะดวกจะบอกจ่านวนของก๊าซในเทอมของจ่านวนโมล • หนึ่ง mole ของสสารบอกด้วยเลขอะโวกาโด (Avogadro’s number) ซึ่งก็คือจ่านวนอนุภาคของสสาร(atoms or molecules) – Avogadro’s number NA = 6.022 x 1023
  • 8. โมล(Moles) • จ่านวนโมลหาได้จากมวลของสสาร: n = m /M –M คือมวลโมเลกุล –m คือมวลของสสาร –n คือจ่านวนโมล
  • 9. กฎของก๊าซ(Gas Laws) 1 • เมื่อก๊าซมี อุณหภูมิคงที่ ความดันจะ แปรผกผันกับปริมาตร (Boyle’s law) V P • เมื่อก๊าซมี ความดันคงที่ ปริมาตรจะ V T แปรผันตรงกับอุณหภูมิ (Charles ’s law) PV • นากฎของบอยส์และชาร์ล มา k พิจารณาร่วมกันจะได้ว่า T
  • 10. กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) • การหาค่านิจของแก๊ส – ที่ STP • อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส(ประมาณ 273K) ณ ความดัน 1 บรรยากาศ(1.013x105 N/m2) ก๊าซทุกชนิด 1 โมล จะมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร (22.4x10-3 m3) – จะได้ค่า R = 8.314 J/mol ∙ K –นั่นคือสมการของก๊าซอุดมคติ • PV = nRT
  • 11. กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ • R คือค่าคงที่ เรียกว่าค่าคงตัวสากลของก๊าซ – R = 8.314 J/mol ∙ K = 0.08214 (L ∙ atm)/mol ∙ K • จากค่า R สามารถหาได้ว่าก๊าซ 1 mole ที่ความ ดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ 0o C มีปริมาตร 22.4 L
  • 12. กฎของก๊าซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ต่อ • กฎของก๊าซอุดมคติสามารถแสดงอยู่ในเทอม ของจานวนโมเลกุลทั้งหมด(N ) • PV = nRT = (N/NA) RT = NkBT – kB is Boltzmann’s constant – kB = 1.38 x 10-23 J/K • โดยทั่วไปเรียก P, V, และ T ว่า ตัวแปรทาง เทอร์โมไดนามิกส์ (thermodynamic variables) ของก๊าซอุดมคติ
  • 13. ข้อพิเศษ หาจานวนโมลของก๊าซที่บรรจุในภาชนะ • ก๊าซอุดมคติมีปริมาตร 100 cm ที่ 200 C และ100 3 Pa หาจานวนโมลของก๊าซในภาชนะ – Solution จากสมการ
  • 14. ข้อพิเศษ การให้ความร้อนต่อกระป๋องสเปรย์ 3 0 • กระป๋องสเปรย์มีความดัน202 kPa และมีปริมาตร 125 cm ที่ 22 C โยนเข้าไปในกองไฟ เมื่ออุณหภูมิของก๊าซขึ้นถึง 1950 C ความดัน ของในกระป๋องมีค่าเท่าใด – Solution
  • 15. ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (The Kinetic Theory of Gases) • แบบจาลองของก๊าซอุดมคติ – มีโมเลกุลของก๊าซเป็นจานวนมากโดยกาหนดให้เท่ากับ N โดยแต่ละโมเลกุล มีมวลเท่ากับ m – โมเลกุลของก๊าซอยู่ห่างกันมาก ซึ่งแสดงว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนตัดทิ้งได้ – การชนกันของโมเลกุลทั้งหลายของก๊าซในอุดมคติเป็นการชนแบบยืดหยุ่น – ความเร็วของแต่ละโมเลกุลไม่จาเป็นต้องเท่ากัน แต่ถือว่ามีค่าคงตัวเมื่อเวลา ผ่านไป
  • 16. ความดัน และ พลังงานจลน์ (1) • พิจารณาภาชนะรูปลูกบาศก์ที่ทุก ด้านยาว d ภายในบรรจุก๊าซ • โมเลกุลมีองค์ประกอบของความเร็ว ในแนวแกน x • ชนแบบยืดหยุ่นด้วยความเร็ว v x i • ผนังออกแรงกระทาต่อโมเลกุลของ ก๊าซ(กฎข้อที่สองของนิวตัน) – ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
  • 17. ความดัน และ พลังงานจลน์ (2) • พิจารณาการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของโมเลกุล • ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมก็คือ การดล • ช่วงเวลาที่โมเลกุลวิ่งเข้าชนผนังเดิมอีกครั้ง • นั่นคือ
  • 18. ความดัน และ พลังงานจลน์ (3) • แรงเฉลี่ยที่ผนังกระทาต่อโมเลกุล • นั่นคือจะได้แรงเฉลี่ยที่โมเลกุลกระทาต่อผนัง(กฎข้อที่สามของนิวตัน) • แรงเฉลี่ยของก๊าซทั้งหมด(Nโมเลกุล)ที่กระทาต่อผนังภาชนะ • แรงที่กระทาต่อผนังภาชนะจะกระทาในช่วงเวลาทีสั้นมากจนถือได้ว่า ่ แรงจะมีค่าคงที่นั่นคือ
  • 19. ความดัน และ พลังงานจลน์ (4) • พิจารณาค่าเฉลี่ยของ ( ) • นั่นคือ • ความเร็วลัพธ์ของแต่ละโมเลกุลสามารถเขียนในรูปของผลรวมของ ความเร็วในส่วนประกอบย่อย และ นั่นคือ
  • 20. ความดัน และ พลังงานจลน์ (5) • ในทานองเดียวกัน ความเร็วกาลังสองเฉลี่ย เขียนได้เป็น • เนื่องจากโมเลกุลมีโอกาสวิ่งชนผนังทั้ง 3 ทิศทาง (x,y,z) ได้เท่า ๆ กัน 2 2 2 ดังนั้น v x = v y = v z • ดังนั้นจากสมการ – จะได้
  • 21. ความดัน และ พลังงานจลน์ (6) • จัดรูปสมการจะได้ • ดังนั้นความดันที่ผนังเขียนได้เป็น
  • 22. ความดัน และ พลังงานจลน์ (8) • การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ – จากสมการ และ – จะได้ – หรือ นี่คือพลังงานจลน์เฉลี่ยต่อหนี่งโมเลกุล
  • 23. ความดัน และ พลังงานจลน์ (9) • การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ – เนื่องจาก – จะได้ – ทานองเดียวกันจะได้ และ (ทฤษฎีการแบ่งเท่าของพลังงาน (theorem of equipartition of energy) – ดังนั้นพลังงานจลน์ทั้งหมด(N โมเลกุล) พลังงานภายในของก๊าซอุดมคติขึ้นกับ อุณหภูมิ
  • 24. ความดัน และ พลังงานจลน์ (10) • รากที่สองของ เรียกว่า ความเร็วรากที่สองของกาลังสอง เฉลี่ย (root-mean-square velocity): • ซึ่งก็คือความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุล  
  • 26. พลังงานภายในของแก๊ส • ในทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 1 2 3 – พลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่เฉลี่ย mv = k T • หรือ KE = k T 3 2 2 B t B – ดังนั้นพลังงานจลน์รวมของอนุภาคเท่ากับ N KE = 3 Nk T 2 t 2 B – พลังงานจานวนนี้เรียกว่า พลังงานภายใน (เนื่องจากอุณหภูมิ) 3 3 Eint =U= Nk BT= nRT 2 2
  • 27. พลังงานภายในของแก๊ส • พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลต่าง ๆ เขียนได้เป็น f KE = k BT 2 • โดย f เป็นค่ายังผลของดีกรีของความอิสระ (degree of freedom) – f= 3 สาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยว – f= 5 สาหรับแก๊สโมเลกุลอะตอมคู่ – F= 6 สาหรับโมเลกุลหลายอะตอม • สาหรับพลังงานภายในเนื่องจากอุณหภูมิของแก๊สเขียนได้เป็น f  f f f U=N  k BT  = Nk BT= nRT= PV 2  2 2 2
  • 28. ข้อพิเศษ : A Tank of Helium • ถังบรรจุก๊าซฮีเลียมมีปริมาตร3.00 m3 และมีก๊าซฮีเลียมจานวน 2 โมล ที่อุณหภูมิ 20.0 องศาเซลเซียส สมมติว่าก๊าซฮีเลียมเป็นก๊าซอุดมคติ – (A) หาพลังงานจลน์ทั้งหมดของโมเลกุลของก๊าซ – (B) พลังงานจลน์เฉลี่ยต่อโมเลกุล
  • 29. เฉลย : A Tank of Helium • Solution – (A) – (B)
  • 30. ระบบและสิ่งแวดล้อม • ระบบ(System) หมายถึงสิ่งที่สนใจศึกษา และมีขอบเขต • ระบบปิด(Closed system) หมายถึงระบบที่ไม่มีมวลสารผ่านเข้าออก ระบบ(อาจมีการแลกเปลี่ยนพลังงานได้) • ระบบเปิด(Open system) หมายถึงระบบที่มีมวลสารผ่านเข้าหรือ ออกจากระบบ(อาจมีการแลกเปลี่ยนพลังงานได้) • ระบบโดดเดี่ยว(Isolate system) ระบบที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนพลังงาน และมวลสาร • สิ่งแวดล้อม(Environment) หมายถึง สิ่งที่อยู่ภายนอกและมีผล เกี่ยวข้องกับระบบ
  • 31. สภาวะและฟังก์ชันสภาวะ ตัวแปรสภาวะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวแปรที่ขึ้นอยู่กับปริมาณสาร(extensive variable) เช่นมวล ปริมาตร เป็นต้น 2. ตัวแปรที่ไม่ขึ้นกับปริมาณสาร(intensive variable) เช่น ความดัน อุณหภูมิ และความหนาแน่น เป็นต้น
  • 32. อุณหภูมิและความร้อน (Temperature and Heat) • สมดุลความร้อน(thermal equilibrium) – กฎข้อที่ศูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์(The Zeroth Law of Thermodynamics) • “ ถ้าวัตถุ A และวัตถุ B ต่างก็อยู่ในสมดุลความร้อนกับวัตถุ C แล้ววัตถุ A และวัตถุ B จะอยู่ในสมดุลความร้อนซึ่งกันและกันด้วย ”
  • 33. พลังงานภายใน(Internal energy) พลังงานภายใน หมายถึง พลังงานที่เก็บสะสมไว้ภายในโมเลกุลของสาร นั้น ๆ พลังงานภายในเป็นคุณสมบัติของระบบ ซึ่งใช้สัญลักษณ์ เป็น U เมื่อ หารด้วยมวลของระบบจะได้พลังงานภายในจ่าเพาะ u = U/m มีหน่วย เป็น kJ/kg
  • 34. พลังงานภายใน(Internal energy) ภายใต้กระบวนการให้ความร้อนที่ปริมาตรคงที่ ปริมาณความร้อนที่ให้กับ ระบบย่อมเท่ากับพลังงานภายในทีเ่ พิ่มขึ้น Q  DU  U 2  U1 ก๊าซอุดมคติที่มีความจุความร้อนจาเพาะคงที่ในช่วงอุณหภูมิที่พิจารณา การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบนีสามารถคานวณได้จาก ้ U 2  U1  mcv (T2  T1 ) u2  u1  cv (T2  T1 )
  • 35. ข้อพิเศษ 0.5 คะแนน ก๊าซออกซิเจนมวล 3.0 kg ด้รับความร้อนปริมาณหนึ่งจนท่าให้ อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 25 C เป็น 100 C ภายใต้สภาวะปริมาตรคงที่ ก่าหนดให้ cv  0.6620kJ / kgk พลังงานภายในของก๊าซออกซิเจน เพิ่มขึ้นเท่าใด
  • 36. ข้อพิเศษ 0.5 คะแนน ก๊าซ co2 มี Cv  0.6529kJ / kgk พบว่ามีอุณหภูมิสุดท้ายอยู่ ที่ 100 C หลังจากได้รับความร้อนปริมาณหนึ่งซึ่งท่าให้พลังงานภายใน จ่าเพาะเพิ่มขึน 50 kJ/kg จงค่านวณหาอุณหภูมิเริ่มต้นของก๊าซ ้
  • 37. งานและความร้อนในกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ Work and Heat in Thermodynamic Processes • ตัวแปรสภาวะ – สภาวะของระบบจะอธิบายด้วย ตัวแปรสภาวะ (State variables) • Pressure, temperature, volume, internal energy – กระบวนการทางเทอร์ไดนามิกส์ • สภาวะของระบบมีการเปลี่ยนแปลง ( ความดัน , อุณหภูมิ , ปริมาตร หรือพลังงานภายใน มีการเปลียนแปลง)
  • 38. งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์ • งานสามารถเกิดจากระบบที่เคลื่อนที่ได้ เช่น ก๊าซ • พิจารณาก๊าซที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบทีมีลูกสูบ ่ สามารถเคลื่อนที่ได้ • ออกแรงกระทาต่อก๊าซอย่างช้า ๆ – การออกแรงกดอย่างช้า ๆ จะทาให้ระบบอยู่ในสมดุล ความร้อน – กระบวนแบบนี้เรียกว่า quasi-static
  • 39. งาน ทางเทอร์โมไดนามิกส์ • ถ้าลูกสูบทีพื้นที่หน้าตัด A และความดันก๊าซภายในกระบอกสูบคือ p ดังนั้นก๊าซภายในกระบอกสูบจะดันลูกสูบด้วยแรง pA • ลูกสูบถูกแรงภายนอกกระทาด้วยแรง ทาให้เกิดการ กระจัด • งานที่กระทาต่อก๊าซจะเป็น • ดังนั้นงานที่ทาบนระบบจะเป็น(ปริมาตรลดลง) • งานที่ทาโดยระบบ(ปริมาตรเพิ่มขึ้น)เป็น dW  PdV
  • 40. PV Diagrams (กราฟระหว่างความดันกับปริมาตร) • เมื่อรู้ความดันและปริมาตรในแต่ละ ช่วงของกระบวนการ • สภาวะของก๊าซแต่ละช่วงถูกพล๊อต เป็นกราฟเรียกว่า PV diagram • เส้นโค้งในกราฟเรียกว่า เส้นทาง (path)
  • 41. PV Diagrams (กราฟระหว่างความดันกับปริมาตร) : ต่อ • พิจารณางานที่กระทาต่อก๊าซในเส้นทางต่าง ๆ กัน – ถ้าในแต่ละกระบวนการจะมีสภาวะเริ่มต้นและสภาวะสุดท้ายเหมือนกัน – งานที่กระทาต่อก๊าซในแต่ละกระบวนการจะมีค่าแตกต่างกัน – นั่นคืองานที่กระทาต่อก๊าซจะขึ้นกับเส้นทาง(Path)
  • 42. กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ • กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์เป็นกรณีพิเศษของกฎการอนุรักษ์พลังงาน – การถ่ายโอนพลังงานความร้อนจะท่าให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน และ งาน • ถึงแม้ว่า Q และ W จะขึ้นกับเส้นทาง(path) แต่ Q - W จะไม่ขึ้นกับเส้นทาง • กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์คือ D U = Q - W – ทุกปริมาณจะเป็นหน่วยเดียวกัน (พลังงาน) • ถ้ามีการเปลี่ยนน้อย ๆ ในระบบ จะได้ dU = dQ - dW
  • 43. กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์ • Q เป็นบวก ส่าหรับปริมาณความร้อนที่ไหลเข้าสู่ระบบ • Q เป็นลบ ส่าหรับปริมาณความร้อนที่ไหลออกจากระบบ • W เป็นบวก เมื่อท่างานโดยระบบ • W เป็นลบ เมื่อท่างานบนระบบหรือโดยสิ่งแวดล้อม
  • 44. ระบบโดดเดี่ยว(Isolated Systems) • ระบบโดดเดี่ยว คือระบบที่ไม่มีอันตรกริยากับสิ่งแวดล้อม – ไม่มีการถ่ายโอนพลังงานและมวลสารกับสิ่งแวดล้อม – งานที่กระทาต่อระบบจะเป็นศูนย์ – Q = W = 0, ดังนั้น DU= 0 • พลังงานภายในของระบบโดดเดี่ยว จะคงที่
  • 46. กระบวนการปริมาตรคงตัว (Isochoric Process หรือ Isovolumetric Processes) • เป็นกระบวนการที่ปริมาตรของระบบคงตัว คือไม่มีการเปลี่ยนแปลง ปริมาตร • เมื่อปริมาตรไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะทาให้ W = 0 • ดังนั้นจากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์ จะได้ DU = Q หรือ DU  mcV (T2  T1 ) • นั่นคือถ้าพลังงานความร้อนไหลเข้าระบบที่มีปริมาตรคงที่จะทาให้ พลังงานภายในเพิ่มขึ้น
  • 47. กระบวนการความดันคงตัว (Isobaric Processes) • กระบวนการความดันคงตัวเกิดขึ้นเมื่อความดันของระบบมีค่าคงตัว • โดยที่ค่าของความร้อนและงานจะไม่เป็นศูนย์ • ค่าของงานคือ W = P (Vf – Vi) เมื่อ P คือความดันที่มีค่าคงที่
  • 48. กระบวนการความดันคงตัว (Isobaric Processes) ตัวอย่างของกระบวนการนี้ ได้แก่ การกลายเป็นไอของของเหลวมวล m ณ ความดันและอุณหภูมิคงที่ ถ้า VL เป็นปริมาตรของของเหลว และ VV เป็นปริมาตรของไอ งานที่ทาในการขยายตัวจาก VL เป็น VV ณ ความ ดันคงที่ คือ W = P(VV - VL ) จาก Q = mL จะได้ว่า DU  U V  U L  mL  P(VV  VL )
  • 49. กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal Process) • เป็นกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบมีค่าคงตัว • เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ นั่นคือ DU= 0 • ดังนั้น , Q = W • นั่นคือพลังงานความร้อนทั้งหมดที่ระบบได้รับจะกลายไปเป็นงานที่ ระบบทา
  • 50. กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal Process) , ต่อ • แผนภาพ PV ด้านขวาก๊าซจะมีการ ขยายตัวด้วยอุณหภูมิคงที่ • เส้นโค้งเป็นโค้ง hyperbola • เส้นโค้งนี้เรียกว่าเส้น isotherm
  • 51. กระบวนการไอโซเทอร์มัล (Isothermal Process) , ต่อ • จากเส้นโค้งของแผนภาพ PV ชี้ให้เห็นว่า PV = ค่าคงที่ – สมการจะเป็นสมการแบบ hyperbola • พลังงานภายในของก๊าซอุดมคติจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเท่านั้น ดังระบบจะเป็น ระบบแบบ quasi-static นั่นคือ PV = nRT จะได้ Vf Vf nRT V f dV W    P dV    dV  nRT  Vi Vi V Vi V  Vi  W  nRT ln    Vf   
  • 52. กระบวนการแบบวัฏจักร (Cyclic Processes) • เป็นกระบวนการที่สภาวะตั้งต้นและสภาวะสุดท้ายเป็นสภาวะเดียวกัน – กระบวนการนี้จะไม่ได้เป็นระบบโดดเดี่ยว • พลังงานภายในจะเป็นศูนย์ • DU= 0, Q = W • ในกระบวนการแบบวัฎจักร งานทั้งหมดที่กระท่าต่อระบบต่อหนึ่งวัฎจักร จะเท่ากับพื้นที่ภายในที่ปิดล้อมด้วยเส้นทางของระบบในแผนภาพ PV
  • 53. กระบวนการแอเดียแบติก (Adiabatic Process) • กระบวนการแอเดียแบติกจะไม่มีการส่งผ่าน พลังงานความร้อนเข้าหรือออกจากระบบ – Q=0 – นั่นคือ : • ป้องกันการไหลของความร้อนโดยการล้อมรอบ ผนังของระบบด้วยวัสดุกันความร้อน • หรือทาให้ระบบเปลี่ยนสภาวะอย่างรวดเร็วโดย ความร้อนไม่ทันที่จะไหลผ่านเข้าออกระบบได้
  • 54. กระบวนการแอเดียแบติก(Adiabatic Process),ต่อ • เมื่อ Q = 0 จะได้ DU= -W • ในกระบวนแอเดียบาติก ถ้าก๊าซถูกกด W จะเป็นลบ ดังนั้น DU จะเป็นบวก ซึ่งจะทาให้อุณหภูมิของก๊าซเพิ่มขึ้น • ในกระบวนการแอเดียบาติก ถ้าก๊าซขยายตัว ในทานองเดียวกัน จะทาให้อุณหภูมิของก๊าซลดลง
  • 55. pV-diagram และการเปลี่ยนสภาวะ ทั้ง 4 แบบของแก๊สอุดมคติ
  • 57. ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ Molar Specific Heat of an Ideal Gas • ความจุความร้อนโมลาร์ที่ปริมาตรคงตัว (molar heat capacity at constant volume) • ความจุความร้อนโมลาร์ที่ความดันคงตัว (molar heat capacity at constant pressure) • คาดว่า(สมมติฐาน) – Cp มากกว่า Cv • เนื่องจากในกระบวนการ ความดัน คงตัว ต้องใช้ความร้อนปริมาณหนึ่ง ถูกใช้ในการทางานโดยระบบ
  • 58. ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ Molar Specific Heat of an Ideal Gas • พิจารณากระบวนการที่ปริมาตรคงตัว – จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์ – ดังนั้น – หรือ
  • 59. ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ) Molar Specific Heat of an Ideal Gas • จาก • และ – จะได้ • สาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมเดี่ยว 5 – ทานองเดียวกัน จะได้ CV  R 2 • สาหรับก๊าซอุดมคติอะตอมคู่ 6 – ทานองเดียวกันจะได้ CV  R 2 • สาหรับก๊าซอุดมคติหลายอะตอม
  • 60. ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ) Molar Specific Heat of an Ideal Gas • จากนั้นพิจารณากระบวนการที่ความดันคงที่ – จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์จะได้ – จาก และ – แทนค่าจะได้
  • 61. ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ) Molar Specific Heat of an Ideal Gas • เนื่องจาก ดังนั้น • นอกจากนั้นพิจารณาอัตราส่วน (แก๊สอุดมคติอะตอมเดี่ยว)
  • 67. Proof That for an Adiabatic Process • จากกฎข้อที่หนึ่งทางเทอร์โมไดนามิกส์ • เมื่อ PdV • จะได้ dT=- nCV • จาก หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการได้ • แทนค่า ในสมการข้างต้นและหารตลอดด้วย ได้
  • 68. Proof That for an Adiabatic Process • อินทิเกรตสมการ – ได้ – ดังนั้น หรือ – ใช้ กฎของก๊าซอุดมคติจะได้ – ซึ่งจะได้งานที่ทาโดยก๊าซอุดมคติในกระบวนการแอเดียบาติก คือ CV 1 W= (p2 V2 -p1V1 )= (p2V2 -p1V1 ) R γ-1
  • 69. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ทิศทางของกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ (Directions of Thermodynamics Process) – กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ทุกกระบวนการที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติเป็น แบบผันกลับไม่ได้ เรียกว่าเป็น irreversible process • นั่นคือกระบวนการทีเกิดขึ้นจะเป็นไปในทิศทางเดียว ่ – การไหลของของความร้อนจะไหลจากวัตถุที่ร้อนกว่าไปยังวัตถุที่เย็นกว่า – ทิศทางของกระบวนการจะสัมพันธ์กับความไม่เป็นระเบียบ (disorder) ใน สภาวะสุดท้าย • การส่งผ่านความร้อนจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนของพลังงานของการเคลื่อนทีอย่างไม่เป็น ่ ระเบียบของโมเลกุล • ดังนั้นการเปลี่ยนรูปของพลังงานกลไปเป็นความร้อน จะมีความไม่เป็นระเบียบเข้ามา เกี่ยวข้อง
  • 70. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • เครื่องจักรความร้อน (Heat Engines) • ประสิทธิภาพ (thermal efficiency)
  • 71. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ตัวอย่างที่ 12 ถ้าเครื่องจักรความร้อนมีประสิทธิภาพ 20% และคาย พลังงาน 3.00×10ให้แก่น้าที่ใช้หล่อเย็นเครื่องจักร จงหางานที่ 3 J เครื่องจักรทา สาหรับเครื่องจักรความร้อน
  • 72. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • เครื่องทาความเย็น (Refrigerators) • สัมประสิทธิ์ของการทางาน (coefficient of performance)
  • 73. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ตัวอย่างที่ 13 เครื่องทาความเย็นดึงเอาความร้อนจากที่ที่เย็นกว่าเข้ามาในเครื่อง ได้ 3 เท่าของงานที่ทาให้แก่เครื่อง (ก) จงหาสัมประสิทธิ์ของการทางานของเครื่องทาความเย็นนี้ (ข) จงหาอัตราส่วนของความร้อนที่เครื่องระบายออกต่อความร้อนที่เครื่องได้รับ
  • 74. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ไม่มีเครื่องจักรความร้อนใดที่มีประสิทธิภาพเป็น 100% – “ ไม่มีระบบใดที่สามารถเปลี่ยนสภาวะแบบวัฏจักรโดยดึงความร้อน จากแหล่งให้ความร้อนที่อุณหภูมิหนึ่งแล้วเปลี่ยนความร้อนทั้งหมด ไปเป็นงานกล ” • “ engine ” statement – “ ไม่มีระบบใดที่สามารถส่งผ่านความร้อนจากที่ที่เย็นกว่าไปยังที่ที่ ร้อนกว่าด้วยตนเองได้ ” • “ refrigerator ” statement
  • 75. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • วัฎจักรคาร์โนต์ (The Carnot Cycle) – เครื่องจักรความร้อนในอุดมคติที่ มีประสิทธิภาพสูงที่สุด • โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส Sadi Carnot
  • 76. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • วัฎจักรคาร์โนต์ – ทุกกระบวนการที่มีการส่งผ่านความร้อน จะต้องเป็นกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบ คงที่
  • 77. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • วัฎจักรคาร์โนต์ – แสดงวัฎจักรคาร์โนต์ที่มีก๊าซอุดมคติเป็น working substance ประกอบด้วยขั้นตอน ต่อไปนี้
  • 78. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนคาร์โนต์ – โดยเริ่มจากการหาอัตราส่วน • . • . • อัตราส่วนของความร้อนทั้งสองนี้คือ
  • 79. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนคาร์โนต์ – สาหรับกระบวนการแอเดียแบติกทั้งสองในวัฎจักรคาร์โนต์ • จาก • และ – จับสองสมการนี้มาหารกัน จะได้ • จะได้ หรือ • ดังนั้น – ประสิทธิภาพ
  • 80. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • เอนโทรปี (Entropy) – กฎข้อที่สองก็สามารถเขียนออกมาให้อยู่ในรูปของความสัมพันธ์ ของปริมาณที่เรียกว่า เอนโทรปี (entropy) ได้ – เอนโทรปีเป็นปริมาณที่ใช้วัดความไม่เป็นระเบียบ (disorder) • พิจารณา – ก๊าซอุดมคติ เมื่อเราให้ความร้อน แก่ก๊าซแล้วปล่อยให้ก๊าซ ขยายตัวโดยที่อุณหภูมิคงตัว – จากกฎข้อที่ 1 ได้ หรือ
  • 81. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • เอนโทรปี (Entropy) – ใช้สัดส่วนการเปลี่ยนของปริมาตร เป็นตัววัดการเพิ่มขึ้นของ ความไม่เป็นระเบียบ – จาก นั้น แปรผันกับปริมาณ – ใช้สัญลักษณ์ S แทนเอนโทรปีของระบบ – ถ้ามีความร้อนปริมาณ Q ใส่เข้าไปในช่วงกระบวนการไอโซเทอร์มัล แบบผันกลับได้ เอนโทรปีของระบบจะเปลี่ยนไปทั้งสิ้น
  • 82. กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) • เอนโทรปีกับกฎข้อที่สอง (Entropy and The Second Law) – “ กระบวนการที่เกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติจะเกิดขึ้นในทิศทางที่ทา ให้เอนโทรปีรวมของระบบมีค่าคงตัวหรือไม่ก็เพิ่มขึ้นเท่านั้น ”
  • 83. แบบฝึกหัด • พิสูจน์ว่า สาหรับก๊าซอุดมคติ
  • 88. ทดสอบ 1. ก๊าซอุดมคติจานวน 1 โมลถูกทาให้ขยายตัวจากปริมาตร 3.0 ลิตรไป เป็น 10.0 ลิตร ที่อุณหภูมิคงที่ 0.0 องศาเซลเซียส 1.1 จงหางานที่กระทาต่อระบบ 1.2 จงหาความร้อนที่ไหลเข้าไปในระบบ 1.3 ถ้าก๊าซถูกอัดจนมีปริมาตรเท่าเดิมจงหางานที่กระทาต่อก๊าซนี้ในกระบวนการ ความดันคงที่