SlideShare a Scribd company logo
ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
3.1 โรคทางพันธุกรรม
1.1 โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีน
1.2 โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม
3.2 การป้ องกันการเกิดโรคทางพันธุกรรม
3.1 โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีน
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมเมื่อยีนผิดปกติจะทาให้เกิดโรคพันธุกรรมหรือ
ลักษณะที่ผิดปกติ ซึ่งจะถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกหลานต่อไป โดยสาเหตุสาคัญเกิดจาก
จาก “การกลายหรือมิวเทชัน(Mutation)”
มิวเทชัน คือ ความผิดปกติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงยีนไปจากเดิม ส่งผลให้
ลักษณะทางพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
สาเหตุการเกิดมิวเทชันมาจากการได้รับรังสีบางชนิด เช่น รังสีเอกซ์
รังสีอัลตราไวโอเลตและสารเคมีบางอย่าง เช่น อะฟลาทอกซินจากเชื้อรา กรด
ไนตรัส สาเหตุเหล่านี้เรียกว่า “สิ่งก่อกลายพันธุ์หรือมิวทาเจน (Mutagen)”
สามารถกระตุ้นให้เกิดมิวเทชันได้
ความผิดปกติของยีนแบ่งได้ 2 แบบคือ
1. ความผิดปกติของยีนบนออโตโซม ทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรม
หรือความผิดปกติร่างกาย
• โรคธาลัสซีเมีย มีอาการโลหิตจาง เนื่องจากฮีโมโกบินในเซลล์
เม็ดเลือดแดงน้อย มีอาการซีด ตาเหลือง ตับ ม้ามโต โหนกแก้ม
สูง ดั้งจมูกแบน คางและกระดูกขากรรไกรกว้าง กะโหลกหนา
แต่ศีรษะบาง ผิวหนังคล้า เติบโตช้าและติดเชื้อง่าย มักได้รับยีน
ผิดปกติจากพ่อแม่
• ลักษณะผิวเผือก เกิดจากการขาดเอนไซม์ที่ใช้
สังเคราะห์เม็ดสีเมลานินในเซลล์ ผิวหนัง ทาให้
เส้นผม นัยน์ตา และเซลล์ผิวหนังมีสีขาว
• โรคซิกเคิลเซลล์ เกิดจากความผิดปกติของยีน
เพียงยีนเดียว ทาเม็ดเลือดสร้างฮีโมโกบินผิดปกติ
ผิดปกติ รูปร่างเม็ดเลือดแดงจะคล้ายเคียว โดย
ร่างกายจะทาลายเซลล์นี้อย่างรวดเร็ว ทาให้
ปริมาณเลือดต่าลง ทาให้มีอาการต่างๆ เช่น
ร่างกายอ่อนแอ เม็ดเลือดไหลไม่สะดวก มีไข้และ
และเจ็บปวดรุนแรง
ยีนที่ทาให้เกิดความบกพร่องทางร่างกายหรือเกิดโรคพันธุกรรม ส่วนมาก
ส่วนมากเป็นยีนด้อยอยู่บนโครโมโซมเพศแท่ง X เช่น
• ตาบอดสี : ความบกพร่องทางการมองเห็น ทาให้มองเห็นสีบางชนิดผิดไป
เช่น สีแดง น้าเงิน เขียวและเหลือง ได้รับการถ่ายทอดพันธุกรรมจากพ่อแม่
แม่ ส่วนใหญ่พบในเพศชาย คนปกติอาจเป็นได้ถ้าเซลล์รับสีได้รับการ
กระทบกระเทือน
ตาปกติจะอ่านได้หมายเลข 29
ตาบอดสีแดง-เขียวจะอ่านได้หมายเลข70
ตาบอดสีจะไม่สามารถอ่านได้
ตาปกติจะอ่านได้หมายเลข 45
ตาบอดสีจะไม่สามารถอ่านได้
• โรคภาวะบกพร่องทางเอนไซม์ G – 6 – PD :
เกิดจากการขาดเอนไซม์ G – 6 – PD ผู้ป่วยจะไม่แสดง
อาการ แต่จะแสดงเมื่อได้รับสารบางอย่าง เช่น อาการแพ้ยา
ยา และแพ้อาหารบางชนิด
• โรคฮีโมฟิเลีย : ผู้ป่วยขาดโปรตีนที่ช่วยให้เลือด
แข็งตัว เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและ
แข็งตัวช้า
เอนไซม์กลูโคส-6-ฟอสเฟต ดีไฮโดรจีเนส
(G-6-PD)
1.2 โรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของของโครโมโซม
ในกระบวนการแบ่งเซลล์ หากเกิดความผิดพลาดขึ้นกับโครโมโซมในลักษณะ
ชิ้นส่วนโครโมโซมขาดหายหรือเกินมา หรือจานวนโครโมโซมเปลี่ยน ซึ่งส่งผลต่อลักษณะ
ลักษณะทางพันธุกรรมเพราะโครโมโซมเป็นที่อยู่ของยีนจานวนมาก
ความผิดปกติก่อให้เกิดโรคพันธุกรรมซึ่งแบ่งได้ 2 แบบ คือ
1. ความผิดปกติที่เกิดกับออโตโซม มี 2 ชนิด คือ
1.1 ความผิดปกติที่จานวนออโตโซม : บางคู่อาจเกินมา 1 โครโมโซม, ทาให้
โครโมโซมเซลล์ร่างกายเป็น 47 แท่ง คือ มีออโตโซม 45 แท่ง + โครโมโซมเพศ 2 แท่ง
∴ เพศหญิงจะมีโครโมโซม = 45 + XX
เพศชายจะมีโครโมโซม = 45 + XY
ความผิดปกติของออโตโซม
• การเพิ่มจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการดาวน์ (Down’s syndrome)
สาเหตุ: เกิดจากโครโมโซมร่างกายคู่ที่ 21
เกินมา 1 โครโมโซม
โรคทางพันธุกรรม
อาการ: ระยะแรกเกิดตัวจะอ่อนปวกเปียก
ศีรษะและดั้งจมูก แบน ตาห่าง
หางตาชี้ ปากปิดไม่สนิท ลิ้นจุกปาก
นิ้วมือสั้นและป้ อม หัวใจพิการ
ปัญญาอ่อน อายุสั้น
พ่อแม่ที่มีอายุมากมีโอกาสเสี่ยงที่ลูกจะเป็นกลุ่มอาการ
ดาวน์
ความผิดปกติของออโตโซม
• การเพิ่มจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
( Edward’s Syndrome )
สาเหตุ: เกิดจากโครโมโซมร่างกายคู่ที่ 18
เกินมา 1 โครโมโซม
อาการ: หัวเล็ก หน้าผากแบน คางเว้า หูผิดปกติ
ตาเล็ก นิ้วมือบิดงอ และกาเข้าหากันแน่น หัวใจ
พิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลักษณะ
ปัญญาอ่อนร่วมอยู่ด้วย ผู้ที่ป่ วยเป็นโรคนี้ 90%
มักจะเสียชีวิตก่อนอายุ 1 ปี
ความผิดปกติของออโตโซม
• การเพิ่มจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการพาเทา
(Patau's syndrome)
สาเหตุ: เกิดจากโครโมโซมร่างกายคู่ที่ 13
เกินมา 1 โครโมโซม
อาการ: มีอาการปัญญาอ่อน ปากแหว่ง
เพดานโหว่ หูหนวก นิ้วเกิน ตาอาจพิการ หรือตา
บอด ส่วนใหญ่อายุสั้นมาก
• การขาดหายของโครโมโซม
กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat syndrome)
หรือ Cat-cry-syndrome
สาเหตุ: เกิดจากส่วนของแขนข้างสั้นของ
โครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป
1 โครโมโซม
อาการ: ศีรษะเล็กกว่าปกติ หน้ากลม
ใบหูต่า ตาห่าง ปัญญาอ่อน
เสียงร้องแหลมเล็ก คล้าย
แมวร้อง พบเพศหญิงมากกว่าชาย
ลูกที่เกิดจากมารดาที่มีอายุมากจะมีความเสี่ยงเป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์มาก
ดาวน์มาก เนื่องจากเซลล์ไข่ของแม่มักผิดปกติ โดยมีโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1
โครโมโซม (โครโมโซมคู่ที่ 21 มี 3 แท่ง) เมื่อผสมกับเซลล์อสุจิของพ่อที่มีจานวน
โครโมโซมปกติ จึงทาให้ลูกรับโครโมโซมเกินมา 1 โครโมโซม
อายุมารดา
จานวนทารกที่เป็นโรคต่อ
1,000คน
2. ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซมเพศ
ก่อให้เกิดความผิดปกติแก่ร่างกาย โดยส่วนใหญ่จะเกิดจาก
จากจานวนโครโมโซมเพศขาดหายไปหรือเกินมา (โครโมโซม X และ
และ Y ขาดหายไป/เกินมา) และสามารถถ่ายทอดความผิดปกตินี้ไปยัง
ไปยังลูกหลานได้
• การขาดหายไปของจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการเทอร์เนอร์
สาเหตุ: เกิดจากโครโมโซม X
หายไป 1 โครโมโซม ซึ่งพบในเพศหญิง
อาการ: รูปร่างเตี้ย คอสั้นและมีพังผืด
เป็นแผ่นกว้าง หัวนมเล็กและ
อยู่ห่างกัน รังไข่ไม่เจริญและเป็นหมัน
หน้าอกกว้าง
หัวนมเล็ก
คอสั้นและ
มีพังผืด
รังไข่
ไม่เจริญ
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
• การเพิ่มจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
สาเหตุ: เกิดจากการมีโครโมโซม X
เกินมา จากปกติ ซึ่งพบใน
เพศชาย
อาการ: อัณฑะเล็ก เป็นหมัน รูปร่างคล้าย
เพศหญิง (สะโพกผาย หน้าอกโต)
เสียงแหลม แขนขายาว ปัญญาอ่อน
สะโพกพาย
หน้าอกโต
แขนขายาว
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
• การเพิ่มจานวนโครโมโซม
กลุ่มอาการทริปเปิลเอ็กซ์ซินโดรม
สาเหตุ: เกิดจากการมีโครโมโซม X
เกินมา จากปกติ ซึ่งพบใน
เพศหญิง
อาการ: ลักษณะภายนอกเป็นหญิง อวัยวะเพศ
เจริญไม่เต็มที่ รังไข่ฝ่อ ไม่มีประจาเดือน เป็น
หมัน ระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ
กลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรม
สาเหตุ: เกิดจากการมีโครโมโซม Y เพิ่มมา
1 โครโมโซม ซึ่งพบในเพศชาย
อาการ: รูปร่างสูงกว่าปกติ มีอารมณ์รุนแรง
โมโหง่าย อวัยวะเพศเจริญดี ไม่เป็น
หมัน
• จัดตั้งศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนาทางพันธุศาสตร์ : ให้ความรู้แก่คู่สมรส
ถ้าหากเมื่อแต่งงานและมีความเสี่ยงบุตรเป็นโรคพันธุกรรมจะเสี่ยงมีบุตรหรือไม่
หรือไม่
• การตรวจความผิดปกติบางประการที่เกิดขึ้นกับตัวอ่อนในท้องแม่ ว่ามี
โครโมโซมผิดปกติหรือไม่ : โดยการใช้วิธีการ แอมนิโอเซนทิซีส
(Amniocentesis) ซึ่งจะตรวจดูโครโมโซมจากน้าคร่าเพราะมีเซลล์ของตัวอ่อน
อ่อนหลุดปะปนมาเพื่อนามาวินิจฉัยโรคพันธุกรรมบางโรคในทารกก่อนคลอด
THE END

More Related Content

What's hot

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Similar to โรคทางพันธุกรรม ม.3

สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อินsupphawan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkruyaippk
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
บทที่ 8 โรคผัก
บทที่ 8 โรคผักบทที่ 8 โรคผัก
บทที่ 8 โรคผักUmaporn Mamark
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)draipannita
 
โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ draipannita
 
โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ draipannita
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)Pannita2541
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)draipannita
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)draipannita
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดาsupphawan
 

Similar to โรคทางพันธุกรรม ม.3 (20)

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
Is 2 3 9
Is 2 3 9Is 2 3 9
Is 2 3 9
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
1129
11291129
1129
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
บทที่ 8 โรคผัก
บทที่ 8 โรคผักบทที่ 8 โรคผัก
บทที่ 8 โรคผัก
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
 
โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ
 
โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ โรคขาดวิตามิน เอ
โรคขาดวิตามิน เอ
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
 
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
โรคขาดวิตามิน เอ Real (1)
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
วนิดา
วนิดาวนิดา
วนิดา
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 

More from Wuttipong Tubkrathok

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตWuttipong Tubkrathok
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงWuttipong Tubkrathok
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์Wuttipong Tubkrathok
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ PisaWuttipong Tubkrathok
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดWuttipong Tubkrathok
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์Wuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาWuttipong Tubkrathok
 

More from Wuttipong Tubkrathok (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
 

โรคทางพันธุกรรม ม.3