SlideShare a Scribd company logo
บทที่  13  ฟิสิกส์ยุคใหม่ 1.  ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 2.  อะตอมและนิวเคลียส 3.  กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น 4.  นิวเคลียร์ฟิสิกส์ 5.  จักรวาลวิทยา
13.1  ทฤษฎีสัมพัทธภาพ  (Relativity)   1 . หลักสัมพัทธภาพของนิวตัน 2 . ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ 3 . ผลของสัมพัทธภาพพิเศษ 4 . การแปลงสมการแบบลอเรนซ์ 5 . โมเมนตัมสัมพัทธภาพและสัมพัทธภาพในรูปกฏของนิวตัน 6 . พลังงานสัมพัทธภาพ 7 . 8. ปรากฏการณ์คอมพ์ตัน การผลิตคู่และการประลัยคู่
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สรุป ทฤษฎีสัมพันธภาพ กรอบอ้างอิงเฉื่อย  เป็นกรอบที่ไม่มีความเร่ง  สัมพัทธภาพพิเศษ     กรอบอ้างอิงไม่เฉื่อย  เป็นกรอบที่มีความเร่ง  สัมพัทธภาพทั่วไป   ,[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การหดของความยาว  กล่าวได้ดังนี้    “ ความยาวของวัตถุท่อนหนึ่ง ซึ่งวัดในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่เคลื่อนที่กรอบหนึ่ง  (L obs )    จะสั้นกว่าความยาวของวัตถุท่อนเดียวกัน เมื่อวัดในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่อยู่นิ่ง   อีกกรอบหนึ่ง  (L prop ) ”   โดยมีความสัมพันธ์ดังนี้ 1.  การยืดของเวลา  มีใจความดังนี้   “ ช่วงเวลาของเหตุการณ์  2   ครั้ง ซึ่งวัดในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่เคลื่อนที่กรอบหนึ่ง  (t obs )  จะนานกว่าช่วงเวลาของเหตุการณ์  2   ครั้งเดียวกันนี้ ซึ่งวัดในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่อยู่นิ่งอีกกรอบหนึ่ง  (t prop ) ”   กล่าวคือ ,[object Object],โดยที่
[object Object],การแปลงแบบกาลิเลโอ ( จะใช้ได้กับวัตถุที่เคลื่อนที่ช้ากว่าแสงมากๆ เท่านั้น ) การแปลงแบบลอเรนซ์ ,[object Object]
[object Object],ถ้า โดยที่ เมื่อ  u  = (u x , u y , u z )   เป็นอัตราเร็วของวัตถุซึ่งวัดในกรอบ  S   และ  u   = (u  x , u  y , u  z )  เป็นอัตราเร็วของวัตถุวัดในกรอบ  S 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],E k  =   m 0 c 2   +  m 0 c 2 p   =   m 0 u E =   m 0 c 2  = mc 2 E   =  E R  + E k ,[object Object],E 2   = m 0 2 c 4  + (pc) 2  = E R 2  +   (pc) 2 E 2  = ( m 0 c 2  ) 2   +   ( pc) 2 E k  =  (  -1) m 0 c 2   โดยที่  E   =   m 0 c 2   = mc 2   แทนพลังงานสัมพันธภาพรวมของอนุภาคตัวหนึ่ง E R  = m 0 c 2   แทนพลังงานนิ่ง   (rest energy)  ของอนุภาคตัวเดียวกัน E k  = (  -1) m 0 c 2   แทนพลังงานจลน์สัมพันธภาพของอนุภาคตัวนี้
[object Object],[object Object],ความยาวคลื่นที่เลื่อนไปของคอมพ์ตัน เมื่อ  เป็นความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์ก่อนกระทบแท่งกราไฟต์  และ  เป็นความยาวคลื่นของรังสีเอ็กซ์หลังการกระเจิงจากแท่งกราไฟต์แล้ว การผลิตคู่จะเกิดขึ้นเมื่อพลังงานของโฟตอนจะต้องไม่น้อยกว่าผลบวกของพลังงานของมวลสารขณะอยู่นิ่งของอนุภาคทั้งสอง เมื่อ  m 0 c 2   คือพลังงานมวลหยุดนิ่งของอิเลคตรอนหรือโพสิตรอน  = 0.511  MeV  min   คือความถี่น้อยที่สุดของโฟตอนที่เกิดการผลิตคู่ได้  ,[object Object],[object Object],จากการผลิตคู่ พลังงานที่เหลือจะกลายเป็นพลังงานจลน์ของอิเลคตรอนและโพสิตรอน  เมื่อโพสิตรอน พบอิเลคตรอนจะ รวมกั น เกิดเป็นโฟตอนทันที  2-3  ตัวเรียก ว่า   การประลัย   (Annihilation)   โพสิตรอนอาจรวมกับอิเลคตรอนทั้งๆ ที่ยังมีความเร็วอยู่ แต่ส่วนใหญ่จะรวมเมื่อหยุดนิ่งหรือหมดความเร็วแล้ว
13.2  อะตอมและนิวเคลียส  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  อิเลกตรอนจะรับหรือคายพลังงานเมื่อมีการเปลี่ยนวงโคจรโดยที่                                     =  ความถี่โฟตอนที่อะตอมดูดหรือแผ่ออกมา   มีความยาวคลื่น       =  พลังงานอิเลกตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร       =  พลังงานอิเลกตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร   ถ้า          เป็น   +   หมายถึง   คายพลังงาน -  หมายถึง   ดูดพลังงาน   แบบจำลองอะตอมของบอร์ ประสบความสำเร็จในการอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน บอร์สันนิษฐานว่าวงโคจรแต่ละวงเป็นวงกลม และมีแรงดึงดูดระหว่างอิเลกตรอนกับโปรตอน 1.  อิเลกตรอนสามารถอยู่ได้ในวงโคจร ที่ไม่ต่อเนื่องโดยมีโมเมนตัมเชิงมุม      m  =  มวลของอิเลกตรอน   = 9.1x10 -31  kg  v  =  อัตราเร็วเชิงเส้นของอิเลกตรอน   r  =  รัศมีวงโคจรของอิเลกตรอน   n  =  เลขจำนวนเท่า   (1, 2, 3, ...)         h  =  ค่าคงที่ของแพลงค์  =  6.6261x10 -34   J.s         สรุป พลังงานในแต่ละวง รัศมีแต่ละวงโคจร   ( หน่วยเป็น  m) =  ค่าคงที่ของริดเบอร์ก
[object Object],n  =  เลขควอนตัมที่กำหนดวงโคจรหลักของอิเลกตรอน  =  1,  2,  3, 4, 5, 6, …  ชื่อ  K, L, M, N, O, P, … มีจำนวนอิเลกตรอนได้สูงสุด  = 2n 2   l   =  เลขควอนตัมที่กำหนดวงโคจรย่อยของอิเลกตรอน   =  0, 1, 2, 3 , 4, 5, … , (n-1) ชื่อ  s, p, d, f, g, h, …  มีจำนวนอิเลกตรอนที่เข้าไปอยู่ในวงโคจรย่อยๆ นี้ได้  = 2 ( 2 l  +1)  s  =  เลขควอนตัมเนื่องจากอิเลกตรอนมีขนาดแล้วหมุนรอบตัวเอง   ทำ ให้มีโมเมนตัมของตัวมันเอง มีค่าเท่ากับ  ½
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หมายเหตุ   เมซอน และ บารีออน เรียกรวมว่าเป็น  ฮาดรอน   ( hadrons) ,[object Object]
13.3  กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สรุป   กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น ,[object Object],เมื่อ  I  เป็นพลังงานที่แผ่ออกมาจากวัตถุดำพื้นที่  1 m 2   ใน  1   วินาที     คือ ค่าคงที่สเตฟาน - โบลซ์มานน์  = 5.67x10 -8  W.m -2  K -4 … .. Stefan-Boltzmann Law ..... Wein’s displacement law E  =  nh    เมื่อ  E   เป็นพลังงานของออสซิลเลเตอร์ ,  n   เป็นเลขควอนตัมมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม ,  h   เป็นค่าคงที่ของ แ พลงค์  =  6.625x10 -34  J.s   และ     คือค่าความถี่ของการสั่น  ข้อสมมติฐานของแพลงค์   :  ออสซิลเลเตอร์ที่สั่นจะมีพลังงานเป็นค่าใดๆ ไม่ได้ โดยจะมีค่าจำกัดเป็นช่วงๆ   ออสซิลเลเตอร์ที่มีความถี่     จะมีพลังงานเป็น .....  กฏการแผ่รังสีของแพลงค์
[object Object],โดยที่  (E k ) max =  พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเลกตรอน  =  ½ mv 2 max   = eV 0 e =  ค่าประจุไฟฟ้าของอิเลกตรอน  = 1.6x10 -19  C V 0  =  ค่าศักย์หยุดยั้ง  ( V )  = h  /e – W/e W  =  ค่าฟังก์ชันงานของโลหะ มีค่าต่างกันแล้วแต่ชนิดของโลหะ … . สมการโฟโตอิเลกตริกของไอน์สไตน์ เป็นขบวนการที่อิเลกตรอนหลุดออกจากผิวโลหะเมื่อแสงตกกระทบบนผิวโลหะ ไอน์สไตน์ประสบความสำเร็จในการอธิบายปรากฏการณ์นี้โดยการขยายสมมติฐานทางควอนตัมของแพลงค์กับสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในแบบจำลองนี้แสงถูกมองว่าเป็นลำของโฟตอน ซึ่งมีพลังงาน  E = h    เมื่อ    เป็นความถี่ และ  h   เป็นค่าคงที่ของแพลงค์  ถ้าพลังงานจลน์เป็นศูนย์   จะได้ค่าความถี่เป็นค่าความถี่ขีดเริ่ม   0  = W/h
[object Object],แบบจำลองอะตอมของบอร์ประสบความสำเร็จในการอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ข้อสมมติฐานหนึ่งคือ อิเลกตรอนสามารถอยู่ได้ในวงโคจรที่ไม่ต่อเนื่อง โดยมีโมเมนตัมเชิงมุม  mvr   เท่ากับผลคูณของลำดับชั้นของวงโคจรกับ  h/2    บอร์สันนิษฐานค่าวงโคจรแต่ละวงเป็นวงกลมและมีแรงดึงดูดระหว่างอิเลกตรอนกับโปรตอน  พลังงานของแต่ละสถานะควอนตัมหาได้จาก แทนค่า  m, e,   0 , h  ลงในสมการนี้ แล้วหารด้วย  e  เพื่อทำให้เป็นหน่วย  eV  จะได้ n = 1, 2, 3, … ถ้าอิเลกตรอนในอะตอมไฮโดรเจนย้ายจากวงโคจรซึ่งมีเลขควอนตัม  n i   ไปยังวงโคจรที่มีเลขควอนตัม  n f   และถ้า  n f  < n i   อะตอมจะแผ่โฟตอนซึ่งมีความถี่เป็น โดย ค่าคงที่ของริดเบอร์ก
[object Object],[object Object],เกิดจากการขยายแสงโดยกระตุ้นให้ปล่อยรังสีออกมา แสงเลเซอร์เป็นแสงที่มีความเข้มและพลังงานสูงมาก มีความกว้างของลำแสงแคบมาก สามารถจะรวมลำแสงส่องมายังจุดเดียวกันได้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้มากมาย รังสีเอกซ์เกิดจากการที่อิเลคตรอนวิ่งไปชนเป้าที่เป็นโลหะ   ทำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า   ( เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นคลื่น )
p =  โมเมนตัมของโฟตอน   m =  มวลอนุภาค   v =  ความเร็วอนุภาค     =  ความยาวคลื่น   ทวิภาพของเดอบรอยล์   &quot; คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคได้   และอนุภาคก็แสดงสมบัติของคลื่นได้ &quot;  วัตถุมวล  m   มีความเร็ว  v   จะมีความยาวคลื่น แสงความยาวคลื่น     จะมีโมเมนตัม ,[object Object], x   =  ความไม่แน่นอนของการวัดตำแหน่ง    p   =  ความไม่แน่นอนของการวัดโมเมนตัม   ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],แก้สมการนี้จะได้สมการทั่วไปเป็น
13.4  นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สรุป นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ,[object Object],[object Object],สัญญลักษณ์ของธาตุเขียนได้เป็น   โดยที่   A  =  atomic mass no. ( จำนวน   p + n)   Z  =  atomic no.  ( จำนวน   p)  ,[object Object],[object Object],N   เป็นจำนวนนิวเคลียสที่เวลา  t  ใดๆ  N 0   เป็นจำนวนนิวเคลียสตอนเริ่มต้น  t = 0  λ   เป็นค่าคงตัวการสลายตัว  (s -1 )
กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีใดๆ อาจเขียนได้ว่า ,[object Object],มีหน่วยเป็น   Bq (Bequerel)  แต่เดิมใช้หน่วยเป็น   Ci (Curie)  โดยที่ 1 Ci  =  3.7 X 10 10  dps  =  3.7 X 10 10  Bq เมื่อ   A 0  =  กัมมันตภาพเมื่อเวลาเริ่มต้น   (t = 0)   A  =  กัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป   t ,[object Object]
[object Object],สมการนี้เรียกว่า สมการสมดุลกัมมันตรังสีแบบถาวร (Secular Equilibrium) ,[object Object],นิวเคลียสเหมือนหยดของเหลว คือมีความตึงผิวสูง และพื้นผิวเคลื่อนไหวได้  นิวคลีออนอยู่ในนิวเคลียสได้ด้วยแรงยึดที่เรียกว่า  แรงนิวเคลียร์  สามารถนำไปสร้างสูตรหาพลังงานยึดเหนี่ยวที่ให้ผลถูกต้องที่สุด และใช้อธิบายกระบวนการแบ่งแยกตัว  ( ฟิชชัน )  ของนิวเคลียสได้ดีที่สุด
[object Object],นิวคลีออนจะต้องมีสถานะควอนตัม  (quantum  states)   ที่แน่นอน การเรียงตัวของนิวคลีออนจะจัดอยู่เป็นชั้นๆ และปฏิบัติไปตาม หลักการไม่ซ้อนกันของพอลลี   (Paulo’s exclusion principle)  โดยที่แต่ละสถานะพลังงานนิวคลีออนจะถูกกำหนดด้วย  เลขควอนตัม   ( quantum number)   n   และ   l   แบบจำลองนิวเคลียสดังกล่าวนี้เรียกว่า  แบบจำลองชั้น  (shell  model) เมื่อคิดถึง อันตรกิริยาสปิน - ออร์บิต   (spin-orbit  interaction)  ด้วยแล้วจะมีผลทำให้ระดับพลังงานตามค่าของ  n   และ  l   แยกออกเป็นหลังงานย่อยตามค่าของ  j   ซึ่งเป็นเลขควอนตัมเนื่องจากอันตรกิริยาสปิน - ออร์บิต  โดยที่ค่าของ  j   =  (   l     ½  ) n  =  เลขควอนตัมที่กำหนดวงโคจรหลักของอิเลกตรอน  =  1,  2,  3, 4, 5, 6, …  ชื่อ  K, L, M, N, O, P, … มีจำนวนอิเลกตรอนได้สูงสุด  = 2n 2   l   =  เลขควอนตัมที่กำหนดวงโคจรย่อยของอิเลกตรอน   =  0, 1, 2, 3 , 4, 5, … , (n-1) ชื่อ  s, p, d, f, g, h, …  มีจำนวนอิเลกตรอนที่เข้าไปอยู่ในวงโคจรย่อยๆ นี้ได้  = 2 ( 2 l  +1)
[object Object],ในการยิงนิวเคลียสด้วยอนุภาค   a  เข้าชนนิวเคลียส   x  ได้นิวเคลียส   y  และ   อนุภาค   b  a + x ----> y + b พลังงานจากการสลายตัว   C =  ความเร็วแสง   = 3x10 8  m/s  ถ้า   Q  เป็น   +  หมายถึง   คายพลังงาน   Q  เป็น   -  หมายถึง   ดูดพลังงาน   ,[object Object],[object Object],[object Object],หรือ   x (a , b) y
ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์   ยิงนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียส   นิวเคลียส   แตกออกเป็น   2  ส่วนและได้นิวตรอน   2-3   ตัว   วิ่งเข้าไปชนนิวเคลียสอื่น   เป็น   chain reaction  2.  ฟิชชัน   (fission) 1.  ฟิวชัน   (fusion) เป็นปฏิกิริยารวมตัวของนิวเคลียส ธาตุเบาเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า
[object Object],ปฏิกิริยาการรวมตัว ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
13.5  จักรวาลวิทยา  (Cosmology) 1.  เอกภพ 2.  ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์เชิงสัมพัทธภาพ 3.  กฏของฮับเบิล 4.  ทฤษฎีบิกแบง
[object Object],[object Object],[object Object],สรุป จักรวาลวิทยา
V = Hr ,[object Object],[object Object],[object Object],เมื่อ  H  =  ค่าคงที่ฮับเบิล     1.7 x 10 -2   เมตรต่อ ( วินาที – ปีแสง )     1.8 x 10 -18   ต่อวินาที
เอกสารอ้างอิง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

What's hot

Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏiBài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
Manh Cong
 
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhienDien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
Nguyen Thanh Tu Collection
 
Ước lượng.pdf
Ước lượng.pdfƯớc lượng.pdf
Ước lượng.pdf
oLng4
 
Bài giảng nhiệt động lực học thống kê
Bài giảng nhiệt động lực học thống kêBài giảng nhiệt động lực học thống kê
Bài giảng nhiệt động lực học thống kêTuyen PHAM
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
kroopipat
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
Chanthawan Suwanhitathorn
 
Lý thuyết và bài tập vật lý 10 2
Lý thuyết và bài tập vật lý 10   2Lý thuyết và bài tập vật lý 10   2
Lý thuyết và bài tập vật lý 10 2
phamchidac
 
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
Nguyễn Hải
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)Jiraporn Taweechaikarn
 
Chuong 3 dong luc hoc he chat diem
Chuong 3 dong luc hoc he chat diemChuong 3 dong luc hoc he chat diem
Chuong 3 dong luc hoc he chat diem
Thu Thao
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2aatjima
 
Teori kinetik gas
Teori kinetik gasTeori kinetik gas
Teori kinetik gas
jajakustija
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
Saranyu Srisrontong
 
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
Phú Hoàng Bá
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
Satit Originator
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 

What's hot (20)

Electricidad general-conceptos-fisicos-tecnicos-20801
Electricidad general-conceptos-fisicos-tecnicos-20801Electricidad general-conceptos-fisicos-tecnicos-20801
Electricidad general-conceptos-fisicos-tecnicos-20801
 
Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏiBài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
Bài toán cực trị điện xoay chiều khó dành cho học sinh giỏi
 
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhienDien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
Dien truong tinh trong chan khong dai hoc khoa hoc tu nhien
 
Ước lượng.pdf
Ước lượng.pdfƯớc lượng.pdf
Ước lượng.pdf
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
Bài giảng nhiệt động lực học thống kê
Bài giảng nhiệt động lực học thống kêBài giảng nhiệt động lực học thống kê
Bài giảng nhiệt động lực học thống kê
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
Lý thuyết và bài tập vật lý 10 2
Lý thuyết và bài tập vật lý 10   2Lý thuyết và bài tập vật lý 10   2
Lý thuyết và bài tập vật lý 10 2
 
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
TỔNG HỢP NHỮNG BÀI TẬP VẬT LÝ KHÓ LUYỆN THI ĐẠI HỌC(CÓ LỜI GIẢI)
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
Chuong 3 dong luc hoc he chat diem
Chuong 3 dong luc hoc he chat diemChuong 3 dong luc hoc he chat diem
Chuong 3 dong luc hoc he chat diem
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2
 
Teori kinetik gas
Teori kinetik gasTeori kinetik gas
Teori kinetik gas
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
 
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
Vat Ly Ban Dan (Bai tap on thi gk )
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 

Similar to มิ่ง111

แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
เอเอ็นโอเอ็นซีเอดี ซีทีอาร์แอลเอแอลทีดีอีแอล
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
Atomic model ruth &amp; bohr
Atomic model ruth &amp; bohrAtomic model ruth &amp; bohr
Atomic model ruth &amp; bohr
Saipanya school
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
Chakkrawut Mueangkhon
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
CUPress
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
Somporn Laothongsarn
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 

Similar to มิ่ง111 (20)

แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
Atomic model ruth &amp; bohr
Atomic model ruth &amp; bohrAtomic model ruth &amp; bohr
Atomic model ruth &amp; bohr
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Atom 3
Atom 3Atom 3
Atom 3
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Electrostatic
ElectrostaticElectrostatic
Electrostatic
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

มิ่ง111

  • 1. บทที่ 13 ฟิสิกส์ยุคใหม่ 1. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 2. อะตอมและนิวเคลียส 3. กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น 4. นิวเคลียร์ฟิสิกส์ 5. จักรวาลวิทยา
  • 2. 13.1 ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Relativity) 1 . หลักสัมพัทธภาพของนิวตัน 2 . ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ 3 . ผลของสัมพัทธภาพพิเศษ 4 . การแปลงสมการแบบลอเรนซ์ 5 . โมเมนตัมสัมพัทธภาพและสัมพัทธภาพในรูปกฏของนิวตัน 6 . พลังงานสัมพัทธภาพ 7 . 8. ปรากฏการณ์คอมพ์ตัน การผลิตคู่และการประลัยคู่
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. 2. อิเลกตรอนจะรับหรือคายพลังงานเมื่อมีการเปลี่ยนวงโคจรโดยที่                                   = ความถี่โฟตอนที่อะตอมดูดหรือแผ่ออกมา มีความยาวคลื่น     = พลังงานอิเลกตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร    = พลังงานอิเลกตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร ถ้า       เป็น + หมายถึง คายพลังงาน - หมายถึง ดูดพลังงาน แบบจำลองอะตอมของบอร์ ประสบความสำเร็จในการอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน บอร์สันนิษฐานว่าวงโคจรแต่ละวงเป็นวงกลม และมีแรงดึงดูดระหว่างอิเลกตรอนกับโปรตอน 1. อิเลกตรอนสามารถอยู่ได้ในวงโคจร ที่ไม่ต่อเนื่องโดยมีโมเมนตัมเชิงมุม     m = มวลของอิเลกตรอน = 9.1x10 -31 kg v = อัตราเร็วเชิงเส้นของอิเลกตรอน r = รัศมีวงโคจรของอิเลกตรอน n = เลขจำนวนเท่า (1, 2, 3, ...)         h = ค่าคงที่ของแพลงค์ = 6.6261x10 -34  J.s         สรุป พลังงานในแต่ละวง รัศมีแต่ละวงโคจร ( หน่วยเป็น m) = ค่าคงที่ของริดเบอร์ก
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์ ยิงนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียส นิวเคลียส แตกออกเป็น 2 ส่วนและได้นิวตรอน 2-3 ตัว วิ่งเข้าไปชนนิวเคลียสอื่น เป็น chain reaction 2. ฟิชชัน (fission) 1. ฟิวชัน (fusion) เป็นปฏิกิริยารวมตัวของนิวเคลียส ธาตุเบาเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า
  • 27.
  • 28. 13.5 จักรวาลวิทยา (Cosmology) 1. เอกภพ 2. ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์เชิงสัมพัทธภาพ 3. กฏของฮับเบิล 4. ทฤษฎีบิกแบง
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.