SlideShare a Scribd company logo
pp-01/2-571
พันธะโคเวเลนต์
( Covalent Bond )
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา เคมีพื้นฐาน ( ว 30221)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
OO
O2 โมเลกุล
I
I2 โมเลกุล
I
N2 โมเลกุล
N N
pp-01/2-57
2
pp-01/2-57
3
นิยาม
พันธะโคเวเลนต์ ( Covalent bond ) หมายถึง
พันธะที่เกิดจากอะตอมคู่หนึ่งใช้อิเล็กตรอน
ร่วมกัน โดยเกิดแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับ
โปรตอนในนิวเคลียสของอะตอมทั้งสอง
IE สูง กับ IE สูง หรือ อโลหะ กับ อโลหะ
pp-01/2-57
4
I 1 อะตอม
I
O 1 อะตอม
O O
O 1 อะตอม
OO
O2 โมเลกุล
N 1 อะตอม
N
N 1 อะตอม
N
N2 โมเลกุล
N N
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
I 1 อะตอม
I I
I2 โมเลกุล
I
pp-01/2-57
5
OO
O2 โมเลกุล
N2 โมเลกุล
N N
I I
O O
N N
พันธะเดี่ยว
(Single bond)
พันธะคู่
(Double bond)
พันธะสาม
(Triple bond)
eคู่ร่วมพันธะ 1 คู่
eคู่ร่วมพันธะ 2 คู่
eคู่ร่วมพันธะ 3 คู่
I
I2 โมเลกุล
I
ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
pp-01/2-57
6
พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
(Coordinate Covalent bond หรือ Dative Covalent bond)
O OO
พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ พันธะโคเวเลนต์
O O O
O O O O3
pp-01/2-57
7
การเขียนสูตรแบบเส้นและแบบจุด
1. หาอะตอมกลาง
2. วางตาแหน่งของอะตอมของธาตุทั้งหมด
3. เขียนสูตรแบบเส้นและแบบจุด ตามลาดับ
pp-01/2-57
8
โครงสร้างแบบจุดอิเล็กตรอน
การเขียนโครงสร้างลิวอิสหรือโครงสร้างแบบจุดอิเล็กตรอน (Lewis’s dot
structure) เป็นวิธีการเขียนเพื่อแสดงวาเลนซ์อิเล็กตรอนและการสร้างพันธะโควา
เลนต์ระหว่างอะตอมในโมเลกุล
โครงสร้างลิวอิสของอะตอม
ใช้จุดแทนวาเลนซ์อิเล็กตรอน
pp-01/2-57
9
โครงสร้างลิวอิสของโมเลกุล
 โครงสร้างลิวอิสของโมเลกุล
 พันธะโควาเลนต์คือการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันของสองอะตอม
 หนึ่งพันธะประกอบด้วยสองอิเล็กตรอน (2 shared electrons)
 แต่ละพันธะแทนด้วยจุด 2 จุด (:) หรือ หนึ่งเส้น ()
อิเล็กตรอนที่ใช้ในการสร้างพันธะ เรียกว่า bonding electron
อิเล็กตรอนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสร้างพันธะเรียกว่า non-bondingelectron
H
H C H
H
H
HCH
H
N N NNpp-01/2-57
10
การเขียนโครงสร้างลิวอิส
1. กำหนดอะตอมกลำง(ต้องกำร valence electron หลำยตัว) และกำรจัดเรียงอะตอมใน
โมเลกุล
2. นับจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของทุกอะตอมในโมเลกุล
• ไอออนลบ: เพิ่มจำนวนอิเล็กตรอนเท่ำกับจำนวนประจุลบของไอออน
• ไอออนบวก: ลบจำนวนอิเล็กตรอนเท่ำกับจำนวนประจุบวกของไอออน
3. เชื่อมอะตอมด้วยพันธะเดี่ยว(ระหว่ำงอะตอมกลำงกับอะตอมปลำย) โดยใช้ 2
อิเล็กตรอนในกำรสร้ำงพันธะเดี่ยวแต่ละพันธะ
4. เติมวำเลนซ์อิเล็กตรอนให้กับอะตอมปลำยให้ครบ8 (ยกเว้น H เท่ำกับ 2)
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้กับอะตอมกลำง (อำจมำกกว่ำ 8)
6. ถ้ำจำนวนวำเลนซ์อิเล็กตรอนที่อะตอมกลำงไม่ครบ 8 ให้นำอิเล็กตรอนที่ไม่ร่วมพันธะ
ของอะตอมรอบๆ มำสร้ำงพันธะคู่หรือพันธะสำม
7. จำนวนวำเลนซ์อิเล็กตรอนรวมต้องเท่ำกับที่ได้จำกข้อ 1.
pp-01/2-57
11
ตัวอย่าง โครงสร้างลิวอิสของ NF3
1. อะตอมกลางคือ N
2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 5 + (7x3) = 26 อิเล็กตรอน
(จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ N = 5 F = 7)
3. เขียนพันธะเดี่ยวระหว่างอะตอมกลางกับอะตอมปลาย
4. เขียนอิเล็กตรอนของอะตอมปลายให้ครบ 8
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้กับอะตอมกลาง (26-24 = 2 อิเล็กตรอน)
F N F
F
F N F
F
F N F
F
หรือ
F N F
F
F N F
F
F N F
F
หรือ หรือ pp-01/2-57
12
ตัวอย่าง โครงสร้างลิวอิสของ HCN
1. อะตอมกลางคือ C
2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ HCN 1 + 4 + 5 =10 อิเล็กตรอน
3. เขียนพันธะเดี่ยวระหว่างอะตอมกลางกับอะตอมที่มีพันธะ
4. เขียนอิเล็กตรอนของอะตอมปลาย ให้ครบ 8 (หรือ 2)
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้กับอะตอมกลาง (10-10 = 0)
ยังไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
6. นาอิเล็กตรอนที่ไม่ร่วมพันธะของอะตอมรอบๆ (N) มาสร้างพันธะคู่หรือพันธะสาม จนอะตอมกลางมี
อิเล็กตรอนครบแปด
H C N
H C N
H C NH C N HCN
pp-01/2-57
13
ตัวอย่าง โครงสร้างลิวอิสของ NF3
1. อะตอมกลางคือ N
2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 5 + (7x3) = 26 อิเล็กตรอน
(จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ N = 5 F = 7)
3. เขียนพันธะเดี่ยวระหว่างอะตอมกลางกับอะตอมปลาย
4. เขียนอิเล็กตรอนของอะตอมปลายให้ครบ 8
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้กับอะตอมกลาง (26-24 = 2 อิเล็กตรอน)
F N F
F
F N F
F
F N F
F
หรือ
F N F
F
F N F
F
F N F
F
หรือ หรือ pp-01/2-57
14
ตัวอย่าง โครงสร้างลิวอิสของ HCN
1. อะตอมกลางคือ C
2. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ HCN 1 + 4 + 5 =10 อิเล็กตรอน
3. เขียนพันธะเดี่ยวระหว่างอะตอมกลางกับอะตอมที่มีพันธะ
4. เขียนอิเล็กตรอนของอะตอมปลาย ให้ครบ 8 (หรือ 2)
5. เติมอิเล็กตรอนที่เหลือให้กับอะตอมกลาง (10-10 = 0)
ยังไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
6. นาอิเล็กตรอนที่ไม่ร่วมพันธะของอะตอมรอบๆ (N) มาสร้างพันธะคู่หรือพันธะสาม จนอะตอมกลางมี
อิเล็กตรอนครบแปด
H C N
H C N
H C NH C N HCN
pp-01/2-57
15
1. อะตอมของธาตุในโมเลกุลที่มีเวเลนต์อิเล็กตรอนน้อยกว่า 8 ได้แก่
สารประกอบธาตุคู่ของ Be B และ Al เช่น
BeCl2
AlF3
โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
Be ClCl
Al FF
F pp-01/2-57
16
2. อะตอมของธาตุในโมเลกุลที่มีเวเลนต์อิเล็กตรอนมากกว่า 8 ได้แก่
สารประกอบธาตุคู่ที่มีอะตอมกลางของธาตุตั้งแต่หมู่ 4 ขึ้นไป เช่น
PF5
SCl6
P
F F
F F
F
S
Cl Cl
Cl Cl
Cl
Cl pp-01/2-57
17
3. ออกไซด์ของธาตุบางชนิด เช่น
NO2
ClO2
N OO
Cl OO
pp-01/2-57
18
ข้อยกเว้นของกฎออกเตด
1. โมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนเป็นเลขคี่ เช่น
ClO2 มีอิเล็กตรอนรวม เท่ากับ 19
NO มีอิเล็กตรอนรวม เท่ากับ 11
NO2 มีอิเล็กตรอนรวม เท่ากับ 17
2. โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนน้อยกว่า 8
BF3 B มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 6
BeH2 Be มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 6
3. โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนมากกว่า 8
PCl5 มีอิเล็กตรอน เท่ากับ 10
XeF4 มีอิเล็กตรอน เท่ากับ 12
SF4 มีอิเล็กตรอน เท่ากับ 10
F
F S F
F pp-01/2-57
19
ประจุฟอร์มาล :
มักใช้กับการพิจารณาสารโคเวเลนต์ซึ่งถือว่าพันธะที่ยึด
อะตอมเข้าด้วยกันเป็นผลจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน
แม้ว่าบางกรณีสารโคเวเลนต์นั้นจะมีประจุรวมเป็นศูนย์ แต่
เมื่อพิจารณาเป็นอะตอม อะตอมแต่ละตัวอาจมีประจุเป็นศูนย์
ในขณะที่บางอะตอมเสมือนว่ามีอิเล็กตรอนเกินมา ก็จะมีประจุเป็นลบ
และขณะที่บางอะตอมอาจเสมือนว่าเสียอิเล็กตรอนไป ก็จะมีประจุ
เป็นบวก ซึ่งเรียกประจุเหล่านี้ว่า ประจุฟอร์มาล (formal charge)
pp-01/2-57
20
ประจุฟอร์มาล (Formal charge)
ประจุฟอร์มาล เป็นความแตกต่างระหว่างจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมเดี่ยวกับ
ของอะตอมในโครงสร้างลิวอิส เป็นการทานายการสภาพขั้วของโมเลกุลอย่างคร่าว ๆ
การคานวณประจุฟอร์มาลของอะตอม
 V จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมเดี่ยว(อะตอมที่สนใจ)
 N จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ไม่ได้สร้างพันธะ
 B จานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดที่สร้างพันธะรอบอะตอมนั้น
eee BNV 2
1
chargeformal 
pp-01/2-57
21
ตัวอย่าง จงหาประจุฟอร์มาลของแต่ละอะตอม
[IO3]–
I = 7 – 2 – ½ (6) = +2
O = 6 – 6 – ½ (2) = -1
ประจุรวม = +2 – 1 – 1 – 1 = -1
 [NH3CH2COO]–
OIO
O
OIO
O
+21 1
1
H H O
HNCC
H H O
+
-
วิธีลัด ดูจำนวนพันธะเปรียบเทียบกับ
จำนวนพันธะที่ควรจะมีของแต่ละอะตอม
เช่น N มีวำเลนซ์ 5 ควรมีพันธะ 3 พันธะ
ถ้ำมีเกินจะเป็นบวก ถ้ำมีไม่ครบจะเป็นลบ
pp-01/2-57
22
- คานวณประจุฟอร์มาลของ O3
O OO ......
.. ..
.. O = 6 – 4 – ½(4) = 0
O = 6 – 2 – ½(6) = +1
O = 6 – 6 – ½(2) = -1
O OO ......
.. ..
..
0 +1 -1
pp-01/2-57
23
หมายถึง การใช้โครงสร้างลิวอิสตั้งแต่ 2 โครงสร้างขึ้นไปแทน
โมเลกุลใดโมเลกุลหนึ่ง
ข้อควรระวัง คือ การจะเป็นโครงสร้างเรโซแนนซ์ได้สารต้องมีการ
จัดเรียงตัวของอะตอมเหมือนกัน ต่างเพียงการกระจาย
อิเล็กตรอนในพันธะเท่านั้น เช่น SO2
S
O
O.. ..
..
S
O
O.. ..
..
เรโซแนนซ์ (Resonance) :
pp-01/2-57
24
เรโซแนนซ์ (Resonance)
ในบางโมเลกุลหรือไอออน สามารถเขียนแบบจาลองของลิวอิสได้มากกว่า 1 แบบ เช่น CO2 และ
SO2
เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ โดยต้องมีการจัดเรียงลาดับของอะตอม
เหมือนกันเสมอ ต่างกันแต่เพียงการกระจายอิเล็กตรอนในพันธะ
OCO O = C = O O  C  O
-1 +1-1+1
S
O O
S
O O
+1
-1
+1
-1
pp-01/2-57
25
เรโซแนนซ์ (Resonance)
โครงสร้างลิวอิสของ O3
จากการทดลองพบว่า ความยาวพันธะระหว่าง O ทั้งสองเท่ากันแสดงว่าโมเลกุล O3 ไม่
เกิดพันธะทั้ง 2 แบบ แต่เกิดโครงสร้างที่เรียกว่า โครงสร้างเรโซแนนซ์ (Resonance
structure)
O
O O
+1
-1
O
O O
+1
-1
O
O O
1.278 Å1.278 Å
pp-01/2-57
26
โครงสร้าง Lewis ที่เป็นไปได้
หลักในการตัดสินว่าโครงสร้างเรโซแนนซ์แบบใด ควรเป็นไปได้มากที่สุดมี
หลักการพิจารณาว่าโครงสร้างใดเป็นโครงสร้างที่เป็นไปได้ มากที่สุด มีดังนี้
1. เป็นไปตามกฎออกเตดมากที่สุด
2. โครงสร้างที่มีประจุฟอร์มาลต่าที่สุด
3. อะตอมที่มีค่า EN สูงควรมีประจุฟอร์มาลเป็นลบ
4. อะตอมชนิดเดียวกันไม่ควรมีประจุฟอร์มาลตรงข้ามกัน
N N N N N N N N N
-2 +1 0 -1 +1 -1 0 +1 -2
N3

+1 0 -1 0 0 0 -1 0 +1
CO2
OCO O = C = O O  C  O
pp-01/2-57
27
การเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์
1. เขียนสัญลักษณ์ของธาตุเรียงตามลาดับดังนี้
B Si C Sb As P N H Te Se S At I Br Cl O F
2. ระบุจานวนอะตอมของธาตุในสารประกอบ โดยเขียนตัวเลข
ไว้มุมล่างขวา
3. ใช้จานวนอิเล็กตรอนที่แต่ละอะตอมต้องการคูณไขว้กัน
และทาให้เป็นอัตราส่วนอย่างต่า เช่น C S C2S4 CS2
4 2
pp-01/2-57
28
ตัวอย่างสูตรสารประกอบโคเวเลนต์
NCl3 CO2 NH3
C2H4 HF CH4
H2S PH3 Cl2O
ClO3
+ PO4
3- H2O
pp-01/2-57
29
การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
1. สารประกอบธาตุคู่ ให้อ่านธาตุตัวหน้าก่อนและตามด้วย
ธาตุตัวหลังโดยเปลี่ยนท้ายพยางค์เป็นไอด์ (-ide)
2. ระบุจานวนอะตอมของแต่ละธาตุด้วยจานวนในภาษากรีก
ดังนี้ mono- (1), di-(2), tri-(3), tetra-(4), penta-(5), hexa-(6),
hepta-(7), octa-(8), nona-(9), deca-(10)
3. ถ้าธาตุตัวหน้ามีอะตอมเดียวไม่ต้องระบุจานวนอะตอม แต่
ธาตุตัวหลังต้องระบุจานวนอะตอมแม้มีเพียงอะตอมเดียวpp-01/2-57
30
ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
AsF5 อ่านว่า อาร์ซีนิกเพนตะฟลูออไรด์
AlI3 อ่านว่า อะลูมิเนียมไตรไอโอไดด์
N2O อ่านว่า ไดไนโตรเจนโมโนออกไซด์
Cl2O7 อ่านว่า ไดคลอรีนเฮปตะออกไซด์
CO อ่านว่า คาร์บอนโมโนออกไซด์
pp-01/2-57
31
ความยาวพันธะ
หมายถึง ระยะทางระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสอง
อะตอมที่สร้างพันธะกันในโมเลกุล
อะตอมแต่ละชนิดอาจเกิดพันธะมากกว่า 1 ชนิด เช่น C
กับ C , N กับ N และพันธะแต่ละชนิดจะมีพลังงานพันธะ
และความยาวพันธะแตกต่างกัน
พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม pp-01/2-57
32
พลังงานพันธะ
หมายถึง พลังงานที่ใช้ไปเพื่อสลายพันธะระหว่าง
อะตอมภายในโมเลกุลซึ่งอยู่ในสถานะแก๊สให้แยก
ออกเป็นอะตอมในสถานะแก๊ส
พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
พลังงานพันธะใช้บอกความแข็งแรงของพันธะ
pp-01/2-57
33
CH4 (g) + 423 kJ CH3(g) + H (g)
CH3 (g) + 368 kJ CH2(g) + H (g)
CH2 (g) + 519 kJ CH (g) + H (g)
CH (g) + 335 kJ C (g) + H (g)
การสลายพันธะชนิดเดียวกันในโมเลกุลที่มีหลายพันธะ ต้องมีการ
สลายพันธะหลายขั้นตอน แต่ละขั้นตอนใช้พลังงานไม่เท่ากัน ดังนั้น
พลังงานพันธะจึงใช้ค่าเฉลี่ยแทน เรียกว่า พลังงานพันธะเฉลี่ยpp-01/2-57
34
พลังงานพันธะเฉลี่ย (Average Bond Energy)
พลังงานพันธะเฉลี่ย เป็นค่าเฉลี่ยของพลังงานสลายพันธะสาหรับพันธะแต่ละชนิดในโมเลกุลต่าง
ๆ (เป็นค่าโดยประมาณ)
pp-01/2-57
35
ความร้อนของปฏิกิริยา (Heat of Reaction)
การเกิดปฏิกิริยาเคมี คือกระบวนการที่มีการทาลายพันธะเดิม(สารตั้งต้น) และสร้างพันธะใหม่(สาร
ผลิตภัณฑ์)
ความร้อนของปฏิกิริยา ( Hrxn) คือพลังงานเอนทาลปีของระบบที่ เปลี่ยนแปลงไปในรูปความร้อน
เมื่อเกิดปฏิกิริยา สามารถหาได้จาก
 DHrxn เป็นลบ ปฏิกิริยาคายพลังงาน
 DHrxn เป็นบวก ต้องใช้พลังงานเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา (ดูดพลังงาน)
 
productsreactants
DDHrxn
พลังงานพันธะรวม
ของผลิตภัณฑ์
พลังงานพันธะรวม
ของสารตั้งต้น
pp-01/2-57
36
การคานวณหาค่าความร้อนของปฏิกิริยา
ตัวอย่าง จงหาพลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาต่อไปนี้
CH4(g) + Cl2(g)  CH3Cl(g) + HCl(g)
 (พลังงานพันธะสารตั้งต้น) = 4D(C-H) + D(Cl-Cl)
 (พลังงานพันธะผลิตภัณฑ์ ) = D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H)
 Hrxn = 4D(C-H) + D(Cl-Cl)– [D(C-Cl) + 3D(C-H) + D(Cl-H)]
= (4414 + 243) – (339 + 3414 + 431) kJ/mol =–113 kJ/mol
ปฏิกิริยานี้จะคายความร้อนออกมา 113 kJ/mol
products
D
reactants
D
pp-01/2-57
37
การคานวณ
ตัวอย่างที่ 1
กาหนดพลังงานให้ดังนี้ H – H = 436 kJ/mol
N N = 945 kJ/mol และ N – H = 391 kJ/mol
ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ดูดหรือคายพลังงานเท่าใด
2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g)
pp-01/2-57
38
H
2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g)
2H – N – H N N + 3(H – H)
6(N – H) N N + 3(H – H)
6 x 391 945 + 3 x 436
2346 kJ 2253 kJ
ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 2346 – 2253 = 93 kJpp-01/2-57
39
รูปร่างโมเลกุล
ทาไมต้องศึกษารูปร่างโมเลกุล
เพราะสารต่างๆ แม้ว่าจะมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันหรือไม่ก็ตาม
ถ้ามีรูปร่างโมเลกุลต่างกัน สมบัติของสารก็แตกต่างกันด้วย
รูปร่างของโมเลกุล (รูปทรงทางเรขาคณิต) เกิดจากการจัดตัว
ของอะตอมภายในโมเลกุลมีผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพ
(m.p., b.p., density) และเคมี pp-01/2-57
40
ตัวอย่างเช่น
เอทานอล และ เมทอกซีมีเทน
H
C C
O
H
H
H
H
H
CH3CH2OH
O
CC
H
H H
H
H
H
CH3OCH3
สมบัติ : ของเหลวไม่มีสี ละลาย
น้าได้ดี mp.-1170C bp. 78.5 0C
สมบัติ : แก๊ส ไม่มีสี ไม่ละลายน้า
mp. -138.50C bp. -23 0C
pp-01/2-57
41
ปัจจัยที่มีผลต่อรูปร่างโมเลกุล
จานวนอะตอมในโมเลกุล
จานวนอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
จานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
มุมระหว่างพันธะและความยาวพันธะ
pp-01/2-57
42
มุมพันธะ
มุมพันธะ คือมุมที่เกิดขึ้น เมื่อลาก
เส้นผ่านพันธะ 2 พันธะมาตัดที่
นิวเคลียสของอะตอมกลาง
 โมเลกุลที่มีสูตรเคมีคล้ายกัน มุมพันธะอาจไม่เท่ากัน
H2O = 104.5  H2S = 92
 การทานายโครงสร้างของโมเลกุลเช่น มุมพันธะ จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับอิเล็กตรอนใน
โมเลกุล
106.0
104.0
pp-01/2-57
43
มุมระหว่างพันธะ (Bond angle)
คือ มุมที่เกิดจากอะตอมสองอะตอมทากับอะตอมกลางหรือ
มุมที่เกิดระหว่างพันธะสองพันธะ
A
BB
O
Oมุม เป็นมุมระหว่างพันธะของโมเลกุล AB2 ซึ่งจะแคบหรือกว้าง
ขึ้นอยู่กับแรงผลักระหว่าง Bond Pair Electron และ Lone Pair Electronpp-01/2-57
44
การทานายรูปร่างโมเลกุล
พิจารณารูปร่างโมเลกุลจาก Valence Shell Electron
Pair Repulsion Model (VSEPR) โดยยึดหลักที่ว่า
valence electron pair รอบอะตอมจะมีการผลักกันทาให้
อิเล็กตรอนแต่ละคู่อยู่ห่างกัน
pp-01/2-57
45
1. โมเลกุลเป็นเส้นตรง (Linear) : AX2
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ แต่ละคู่ผลักกัน
เพื่อให้ห่างกันมากที่สุด เป็นมุมระหว่างพันธะเท่ากับ 180 oC
เช่น BeCl2 HCN CO2 C2H2
โมเลกุลที่อะตอมกลางไม่มี อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
pp-01/2-57
46
2. โมเลกุลเป็นรูปสามเหลี่ยมแบนราบ(Trigonal planar) : AX3
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 3 คู่ แต่ละคู่ผลักกันห่าง
กันมากที่สุด เป็นมุมระหว่างพันธะเท่ากับ 120 oC
เช่น BF3 SO3 NO3
-
pp-01/2-57
47
3. โมเลกุลเป็นรูปทรงเหลี่ยมสี่หน้า (Tetrahedral) : AX4
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 4 คู่ แต่ละคู่ผลักกันห่าง
มากที่สุด เป็นมุมระหว่างพันธะเท่ากับ 109.5 oC
เช่น CH4 SiCl4 SO4
2- NH4
+
pp-01/2-57
48
4. โมเลกุลเป็นรูปพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
(Trigonal bipyramidal) : AX5
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 5 คู่ แต่ละคู่ผลักกันห่าง
มากที่สุด เป็นมุมระหว่างพันธะเท่ากับ 90 oC และ 120 oC
เช่น PCl5 SbI5 pp-01/2-57
49
5. โมเลกุลเป็นรูปทรงแปดหน้า (Octahedral) : AX6
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 6 คู่ แต่ละคู่ผลักกันห่าง
มากที่สุด เป็นมุมระหว่างพันธะเท่ากับ 90 o และ 180 o
เช่น SF6 SiF6
2-
pp-01/2-57
50
ถ้าโมเลกุลมี lone pairs  1 ที่อะตอมกลางการทานายรูปร่างของ
โมเลกุลจะซับซ้อน เพราะมีแรงผลักของ electron pairs เข้ามาเกี่ยวข้อง
1. แรงผลักระหว่าง lone pair กับ lone pair
2. แรงผลักระหว่าง lone pair กับ bonding pair
3. แรงผลักระหว่าง bonding pair กับ bonding pair
โดยที่ แรง 1 > แรง 2 > แรง 3
โมเลกุลที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
pp-01/2-57
51
1. โมเลกุลเป็นรูปตัววีหรือมุมงอ (V-Shape or Bent) : AX2E
และ AX2E2
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว 1 หรือ 2 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด ยิ่งอิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยวมาก มุมระหว่างพันธะยิ่งน้อย
เช่น SO2 SnCl2 H2O Cl2O SH2
SO2
H2O
119.50
มุมงอ(V-shape)
มุมงอ(bent)
pp-01/2-57
52
2. โมเลกุลเป็นรูปพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
(Trigonal pyramidal) : AX3E
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 3 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว 1 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะ
น้อยกว่า 109.5 0 เช่น NH3 NCl3 SO3
2- PH3
pp-01/2-57
53
3. โมเลกุลเป็นรูปทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว
(Distorted tetrahedral หรือ seesaw) : AX4E
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 4 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว 1 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะ
น้อยกว่า 180 0 เช่น SF4 TeCl4 XeO2F2 SeF4 pp-01/2-57
54
4. โมเลกุลเป็นรูปตัวที (T - Shaped) : AX3E2
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 3 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดด
เดี่ยว 2 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะน้อย
กว่า 90 0 และ 180 0 เช่น ClF3 BrF3 pp-01/2-57
55
5. โมเลกุลเป็นเส้นตรง (Linear) : AX2E3
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 2 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
3 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะเป็น 180 0
เช่น XeF2 I3
- ICl2
- pp-01/2-57
56
6. โมเลกุลเป็นรูปทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
(Square pyramidal) : AX5E
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 5 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
1 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะน้อยกว่า 90 0
และ 180 0 เช่น BrF5 IF5 XeOF4
pp-01/2-57
57
7. โมเลกุลเป็นรูปสี่เหลี่ยมแบนราบ (Square planar) : AX4E2
อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ 4 คู่ และอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
2 คู่ แต่ละคู่จะผลักกันให้ห่างมากที่สุด มุมระหว่างพันธะ 90 0 และ
180 0 เช่น XeF4 BrF4
- pp-01/2-57
58
หลักการพิจารณามุมระหว่างพันธะ
1. กรณีอะตอมกลางไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมุมระหว่างพันธะขึ้นกับ
จานวนพันธะรอบอะตอมกลาง ยิ่งมีมากมุมยิ่งเล็กลง
2. กรณีอะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวไม่เท่ากัน โมเลกุลใดมี
อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากมุมยิ่งเล็กลง
3. กรณีอะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเท่ากัน
- ถ้าอะตอมกลางชนิดเดียวกัน พิจารณาจากอะตอมที่มาจับ ถ้าค่า EN
มาก มุมจะเล็กลง
- ถ้าอะตอมกลางต่างชนิดกัน พิจารณาอะตอมกลาง ถ้าค่า EN มาก มุม
จะห่างมาก
pp-01/2-57
59
สภาพขั้วของพันธะ (Bond Polarity)
สภาพขั้วของพันธะ คือ การอธิบายการกระจายตัวของอิเล็กตรอนที่ใช้ในการสร้าง
พันธะระหว่างอะตอม
สภาพขั้วของพันธะโควาเลนต์ขึ้นอยู่กับ ค่า EN ของอะตอมทั้งสอง ถ้าค่า EN ของ
อะตอมทั้งสองต่างกัน การกระจายตัวของอิเล็กตรอนในบริเวณระหว่างอะตอมทั้ง
สองจะไม่สม่าเสมอ ซึ่งจะเรียกว่า พันธะโควาเลนต์แบบมีขั้ว
 X+Y- เมื่อ EN ของ Y  X
+ -
H F+ H F
pp-01/2-57
60
สภาพขั้วของโมเลกุล (Polarity of Molecule)
สภาพขั้วของโมเลกุลคือสภาพขั้วสุทธิ(net dipole)ของพันธะทุกพันธะในโมเลกุล
สภาพขั้วของโมเลกุลหาได้โดยการรวมสภาพขั้วของพันธะทุกพันธะแบบเวคเตอร์
pp-01/2-57
61
ตัวอย่างสภาพขั้วของโมเลกุล
BCl3
NH3
CHCl3
SF5
HCN pp-01/2-57
62
H F
H F

+

-
โมเมนต์ขั้วคู่ (Dipole Moments)
ภายในโมเลกุลของสารประกอบ ถ้าอะตอมมีค่า EN ต่างกัน มีการดึง
อิเล็กตรอนทาให้เกิดขั้วขึ้น
ตัวอย่าง แสดงทิศทางการดึงของ e-
แสดงขั้ว (polar bond) 2.1 4.0
H F
pp-01/2-57
63
pp-01/2-57
64
HH
O....
OO C
HH
CC
Cl Cl
H
H
CC
Cl
Cl
dipole moment สุทธิ  = 1. 87
(เป็น polar molecule)
Cis (polar)
 = 1. 89 Trans  = 0
โมเลกุล H2O
โมเลกุล CO2
โมเลกุล C2H2Cl2
ขั้วของโมเลกุล คานวณจากผลรวมแบบ vector ของขั้วของพันธะ
เป็น non-polar molecule
 = 0
pp-01/2-5765
สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
หมายถึง โมเลกุลโคเวเลนต์ที่เกิดจากพันธะโคเวเลนต์
ที่มีอะตอมของธาตุทั้งสองมีผลต่างของค่า EN มาก ขั้ว
นั้นมีอานาจไฟฟ้ามาก สภาพขั้วแรง แต่ถ้า EN ต่างกัน
น้อย ขั้วนั้นมีอานาจไฟฟ้าน้อย สภาพขั้วต่า
pp-01/2-57
66
พันธะมีขั้วและพันธะไม่มีขั้ว
พันธะมีขั้ว
คือ พันธะที่เกิดจากอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน มีค่า EN ไม่เท่ากัน
มายึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เป็นโมเลกุลมีขั้วหรือไม่มีขั้วก็ได้
ขึ้นกับรูปร่างโมเลกุล
พันธะไม่มีขั้ว
คือ พันธะที่เกิดจากอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีค่า EN
เท่ากัน มายึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วpp-01/2-57
67
โมเลกุลมีขั้วและโมเลกุลไม่มีขั้ว
โมเลกุลไม่มีขั้ว
1. โมเลกุลของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น H2 Cl2 P4
2. โมเลกุลของสารประกอบที่เกิดจากธาตุ 2 ชนิด โดยมี
อะตอมหนึ่งเป็นอะตอมกลาง และอะตอมอีกธาตุหนึ่งอยู่
โดยรอบ โดยมีรูปร่างโมเลกุลที่สมมาตร ทาให้สภาพขั้วของ
พันธะหักล้างกันหมด เช่น BeCl2 BF3 CH4 PCl5 SF6
3. โมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้งหมดpp-01/2-57
68
โมเลกุลมีขั้ว
1. โมเลกุลที่มี 2 อะตอม ของธาตุต่างชนิดกัน เช่น HCl NO
CO HF
2. โมเลกุลที่อะตอมกลางเกิดพันธะโคเวเลนต์กับอะตอม
ข้างเคียงชนิดเดียวกัน และมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวเหลืออยู่
เช่น NH3 H2O PCl3
3. โมเลกุลที่อะตอมกลางเกิดพันธะโคเวเลนต์กับอะตอม
ข้างเคียงต่างชนิดกัน เช่น HCN CHCl3 HCHO
pp-01/2-57
69
ตัวอย่างการพิจารณาสภาพขั้วของโมเลกุล
H C N
O
HH
pp-01/2-57
70
pp-01/2-57
71
ความแรงของสภาพขั้วของพันธะและโมเลกุลโคเวเลนต์
พิจารณาจากผลต่างของค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) ถ้า
ผลต่างมากกว่า สภาพขั้วจะแรงกว่า เช่น
H F H Cl
ผลต่างค่า EN = 1.78 ผลต่างค่า EN = 0.96
HF มีสภาพขั้วแรงกว่า HCl ทาให้มีจุดเดือดสูงกว่าด้วยpp-01/2-57
72

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
Pat Jitta
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
Katewaree Yosyingyong
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
pitsanu duangkartok
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

Similar to โควาเลนต์

covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1She's Bee
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
sensei48
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
monchai chaiprakarn
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
Thunva Kankhat
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
Katewaree Yosyingyong
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
Gawewat Dechaapinun
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 

Similar to โควาเลนต์ (20)

covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bondingChap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bonding
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

โควาเลนต์