SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 1 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบความรู้ 8 
ผลการเรียนรู้ที่ 8 
ระดับชั้น ม. 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 
พลังงานภายในระบบ 
พลังงานภายในระบบ ( Internal energy of system ) 
พลังงานภายในระบบ คือ ผลรวมของพลังงานจลน์เฉลี่ยทั้งหมดของแก๊สในระบบปิด เขียนแทนด้วย 
สัญญลักษณ์ “ U ” 
เมื่อ kE = 
2 
3 
kBT คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส 1 โมเลกุล 
และ N k E = 
2 
3 
NkBT คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทั้งหมดในระบบปิด 
จะได้ U = N k E 
U = 
2 
3 
NkBT 
U = 
2 
3 
nRT 
U = 
2 
3 
PV 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ คือ ผลต่างของพลังงานภายในระบบหลังเปลี่ยนแปลง ( U2 ) กับ 
พลังงานภายในระบบก่อนเปลี่ยนแปลง ( U1 ) เขียนแทนด้วย “U” เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 
U = U2 - U1 
U = 
2 
3 
P2 V2 - 
2 
3 
P1 V1 = 
2 
3 
(PV) 
U = 
2 
3 
nRT2 - 
2 
3 
nRT1 = 
2 
3 
nRT 
U = 
2 
3 
NkBT2 - 
2 
3 
NkBT1 = 
2 
3 
NkBT 
นั่นคือ U ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (T) , การเปลี่ยนแปลงความดันและปริมาตร(PV) 
งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตร 
เมื่อความดันคงตัว ผลจะทาให้แก๊สมีการขยายตัวและหดตัว โดยให้ W คือ งานที่เกิดจากแก๊สกระทาหรือ 
งานที่เกิดจากแรงภายนอกกระทาต่อแก๊ส นั่นคือ ค่า W เป็นบวก ( + ) เมื่อ เกิดงานที่แก๊สกระทา จะมีผลให้แก๊ส 
ขยายตัว ถ้าค่า W เป็นลบ ( - ) เมื่อ งานนั้นเกิดจากแรงภายนอกกระทาต่อแก๊ส จะมีผลให้แก๊สหดตัว
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 2 
จาก W = Fs 
W = PAs 
W = P(As) 
จะได้ W = PV 
W = P(V2 – V1 ) 
W = P(V2 – V1 ) เป็น บวก ( + ) เมื่อ แก๊สขยายตัว จะได้ V2  V1 
W = P(V2 – V1 ) เป็น ลบ ( - ) เมื่อ แก๊สหดตัว จะได้ V1  V2 
กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ เป็นกฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า “พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบจะต้อง 
มีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ทาโดยระบบนั้น” สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 
Q = U + W 
เมื่อ Q แทนพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ 
U แทนพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น 
W แทนงานที่ระบบทา 
แต่ความเป็นจริง ระบบของแก๊สใดๆ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบในกรณีอื่นๆได้ด้วย และเป็นไปตาม 
กฎการอนุรักษ์พลังงาน และกาหนดค่าเครื่องหมายได้ดังนี้ 
ปริมาณ ลักษณะ เครื่องหมาย 
Q พลังงานความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ + 
พลังงานความร้อนไหลออกจากระบบ - 
ไม่มีพลังงานความร้อนไหลเข้าหรือออกจากระบบ 0 
U พลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น ( อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ) + 
พลังงานภายในระบบลดลง ( อุณหภูมิลดลง ) - 
พลังงานภายในระบบคงตัว ( อุณหภูมิคงที่ ) 0 
W งานที่ทาโดยระบบ ( ปริมาตรเพิ่มขึ้น ) + 
งานที่สิ่งแวดล้อมทาให้ระบบ ( ปริมาตรลดลง ) - 
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร 0 
ตัวอย่าง ออกซิเจนมวล 32 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิด ถ้าอุณหภูมิในขวดเพิ่มขึ้น 40 องศาเซลเซียส 
พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นกี่จูล 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
nRT 
U = 
2 
3 
( 
32 
32 
)( 8.31 )( 40 ) 
U = 498.6 J ตอบ 
s 
F 
A = พื้นที่ลูกสูบ 
ก่อนออกแรง F หลังออกแรง F
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 3 
ตัวอย่าง ในการอัดแก๊สฮีเลียมในระบบปิดจานวน 05 กิโลโมล จากปริมาตร 0.6 m3 ให้เหลือ 0.2 m3 ด้วย ความดันคงที่ 1.5 x 105 N/m2 จงหา 
ก. งานในการอัดแก๊สนี้เป็นกี่จูล 
ข. พลังงานภายในระบบของแก๊สเปลี่ยนไปกี่จูล 
วิธีทา ก. จาก W = PV 
W = P(V2 – V1 ) 
W = ( 1.5 x 105) (0.2 – 0.6 ) 
W = - 6 x 104 J ตอบ 
ข. จาก Q = U + W 
0 = U + - 6 x 104 J 
U = 6 x 104 J ตอบ 
*************** 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า การระเบิดของกระป๋องสเปรย์ยากันยุง หรือ กระป๋องสเปรย์อื่นๆ ที่ใช้แล้ว เมื่อนาไปเผาไฟ เป็นผลมาจากสิ่งใด และควรนาไปเผาไฟหรือไม่ เพราะเหตุใด 
1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล ลงในสมุดบันทึก 
1. พลังงานภายในระบบ 
2. การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ 
3. งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส เมื่อความดันคงตัว 
4. กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 8.1 
ผลการเรียนรู้ที่ 8 
Physics 6 
ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
5 คะแนน ( A ) 
เวลา 10 นาที 
เรื่อง พลังงานภายในระบบ 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 8.2 
ผลการเรียนรู้ที่8 
Physics 6 
ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
5 คะแนน ( P ) 
เวลา 40 นาที 
เรื่อง พลังงานภายในระบบ
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 4 
2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 
1. พลังงานภายในระบบ คือ ผลรวมของ…………………………ทั้งหมดของแก๊สในระบบปิด เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 
………………… 
2. พลังงานภายในระบบ ขึ้นกับอุณหภูมิของแก๊ส เขียนเป็นสมการด้วย ……………………………………หรือ 
……….……………………………………… 
3. พลังงานภายในระบบ ขึ้นกับความดันคูณกับปริมาตรของแก๊ส เขียนเป็นสมการด้วย ……………………… 
4. จากสมการ W = P(V2 – V1 ) เป็น บวก ( + ) เมื่อ แก๊ส………………………….. จะได้ V2  V1 
5. จากสมการ W = P(V2 – V1 ) เป็น ลบ ( - ) เมื่อ แก๊ส………………..………….. จะได้ V1  V2 
6. กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ กล่าวว่า “พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบจะต้องมีค่าเท่ากับผลรวม 
ของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ทาโดยระบบนั้น” เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ คือ 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………. 
7. เมื่อ Q แทนพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ ถ้า Q เป็น ศูนย์ ( 0 ) แสดงว่า ………………….………………….. 
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………………… 
8. ถ้า Q เป็น ลบ ( - ) แสดงว่า ……………………………………………………………………………………………………….……. 
9. เมื่อ U แทนพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น ถ้า U เป็น บวก ( + ) แสดงว่า ……………….…………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… 
10. เมื่อ W แทนงานที่ระบบทา ถ้า W เป็น ลบ ( - ) แสดงว่า …………………………….………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….. 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 8.3 ผลการเรียนรู้ที่8 
Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที 
เรื่อง พลังงานภายในระบบ 
1. แก๊สไนโตรเจนมวล 14 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิดมีอุณหภูมิ 293 เคลวิน ถ้าอุณหภูมิของไนโตรเจนในขวด 
เพิ่มขึ้น 60 เคลวิน พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นเท่าใด ให้ R = 8.3 J / mole.K , N – 14 
( ตอบ 373.5 J ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
nRT และ n = 
M 
m 
จะได้ U = 
2 
3 
M 
m 
RT
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 5 
2. เมื่ออุณหภูมิของก๊าซอุดมคติแบบอะตอมเดียว อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก T เคลวิน เป็น 
5 
7 
T เคลวิน แล้ว ค่าพลังงาน 
ภายในระบบของแก๊สเป็นเท่าใดของพลังงานภายในระบบเดิม( U ) 
( ตอบ 
5 
7 
U ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
NkBT 
3. แก๊สฮีเลียม 4 โมล ที่อุณหภูมิ 350 เคลวิน ผสมกับแก๊สอาร์กอน 1 โมล ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน แก๊สผสมจะมี 
อุณหภูมิเท่าไรในหน่วย เคลวิน 
( ตอบ 340 เคลวิน ) 
วิธีทิ จาก U = UHe + UAr 
2 
3 
nผสม RTผสม = 
2 
3 
nHeRTHe + 
2 
3 
nArRT Ar 
4. จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตร ระบบซึ่งประกอบด้วยแก๊สนีออน 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 
สถานะจาก a ไป b จงหาค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ 
( ตอบ เพิ่มขึ้น , 3 x 103 จูล ) 
วิธีทา U = 
2 
3 
(PV) = 
2 
3 
P2 V2 - 
2 
3 
P1 V1 
P ( x 105 N/m2 ) 
V ( x 10- 2 m3 ) 
0 1 3 5 7 
3 
5 
7 
1 
a 
b
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 6 
5. ในการอัดแก๊สอาร์กอนปริมาตร 15 ลูกบาศก์เมตร ความดัน 2 x 105 นิวตันต่อตารางเมตร ให้ปริมาตรลดเหลือ 10 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันคงที่ งานในการอัดแก๊สเท่ากับกี่จูล 
( ตอบ 1.0 x 106 จูล ) 
วิธีทา จาก W = PV 
6. จะต้องให้ความร้อนเท่าใดแก่แก๊สฮีเลียมจานวน 2 โมล ที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบ แล้วทาให้แก๊สนั้นดันให้ลูกสูบ ทางาน 4 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 40 เคลวิน ให้ R = 8.3 J / mole.K 
( ตอบ 1,000 จูล ) 
วิธีทา จาก Q = U + W 
7. ระบบทางเทอร์โมไดนามิกส์ระบบหนึ่งแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป การเพิ่มความดันจาก A  B ต้องใช้ปริมาณความ ร้อนเท่ากับ 500 จูล ใส่เข้าในระบบและในการขยายตัวของระบบจาก B C ต้องการปริมาณความร้อนเพิ่มอีก 150 จูล จงหาว่าพลังงานภายในของระบบที่เปลี่ยนแปลงในขบวนการจาก A  B  C มีค่ากี่จูล 
( ตอบ 440 จูล ) 
วิธีทา จาก Q = U + W 
ความดัน(x 104 N/m2 ) 
ปริมาตร(x 10- 3 m3 ) 
1 
3 
4 
5 
7 
7 
5 
3 
1 
A 
B 
C 
D
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 7 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 แบบฝึกทักษะ 8 ผลการเรียนรู้ที่ 8 
Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 20 นาที 
เรื่อง พลังงานภายในระบบ 
1. แก๊สออกซิเจนมวล 32 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิดมีอุณหภูมิ 293 เคลวิน ถ้าอุณหภูมิของออกซิเจนในขวด 
เพิ่มขึ้น 20 เคลวิน พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นเท่าใด ให้ R = 8.31 J / mole.K , O – 16 ( ตอบ 249.3 J ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
nRT 
2. เมื่ออุณหภูมิของก๊าซอุดมคติแบบอะตอมเดียว ลดลงจากอุณหภูมิ 273 องศาเซลเซียส เป็นศูนย์องศาเซลเซียสแล้ว 
ค่าพลังงานภายในระบบของแก๊สเป็นเท่าใดของพลังงานภายในระบบเดิม ( ตอบ ½ ของเดิม ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
nRT 
3. แก๊สฮีเลียม 1 โมล ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน ผสมกับแก๊สอาร์กอน 3 โมล ที่อุณหภูมิ 400 เคลวิน แก๊สผสมจะมี 
อุณหภูมิเท่าไรในหน่วย เคลวิน ( ตอบ 375 เคลวิน ) 
วิธีทา จาก Uผสม = U1 + U2 
2 
3 
nผสมRTผสม = 
2 
3 
n1RT1 + 
2 
3 
n2RT2 
4. ออกแรงกดลูกสูบของกระบอกสูบ ซึ่งบรรจุแก๊สชนิดหนึ่งทาให้ปริมาตรลดลงเป็น 3 / 4 ของปริมาตรเดิม โดย 
อุณหภูมิคงที่และแก๊สไม่รั่วออก พลังงานภายในระบบจะเป็นเท่าใดของเดิม ( ตอบ 1เท่าของเดิม ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
nRT 
5. จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตร ระบบซึ่งประกอบด้วยแก๊สฮีเลียม 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 
สถานะจาก a ไป b จงหาค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ ( ตอบ เพิ่มขึ้น 7.5 x 103 จูล ) 
วิธีทา จาก U = 
2 
3 
(PV) 
= 
2 
3 
P2 V2 - 
2 
3 
P1 V1 
P ( x 105 N/m2 ) 
V ( x 10- 2 m3 ) 
0 1 2 3 4 
2 
3 
4 
1 
a 
b
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 8 
6. ในการอัดแก๊สอาร์กอนปริมาตร 20 ลูกบาศก์ ความดัน 105 นิวตันต่อตารางเมตร ให้ปริมาตรลดเหลือ 10 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันคงที่ งานในการอัดแก๊สเท่ากับกี่จูล ( ตอบ 1 x 106 จูล ) 
วิธีทา จาก W = P(V2 – V1 ) 
7. จะต้องให้ความร้อนเท่าใดแก่แก๊สฮีเลียมจานวน 1 โมล ที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบ แล้วทาให้แก๊สนั้นดันให้ลูกสูบ ทางาน 20 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน ให้ R = 8.3 J / mole.K ( ตอบ 144.5 จูล ) 
วิธีทา จาก Q = U + W 
8. แก๊สในกระบอกสูบรับความร้อนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทางานบนระบบภายนอก 160 จูล ถามว่าพลังงานภายในของแก๊สเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด และอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้นหรือลดลง 
( ตอบ ลดลง 18 จูล , อุณหภูมิลดลง ) 
วิธีทา จาก Q = U + W 
9. แก๊สในกระบอกสูบคายความร้อน 240 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 50 จูล ถามว่าแก๊สหดตัวหรือขยายตัว ( มีการทางานให้แก่ระบบ 290 จูล แก๊สหดตัว ) 
วิธีทา จาก Q = U + W

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
BELL N JOYE
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
Sukanya Nak-on
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
Preeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 

Viewers also liked

บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
พัน พัน
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Physciences Physciences
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
Thepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (6)

บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 

Similar to 8พลังงานภายในระบบ

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Banyat Niyomvas
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
Chanthawan Suwanhitathorn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
Saranyu Pilai
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6jitima
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
บทที่6.pdf
บทที่6.pdfบทที่6.pdf
บทที่6.pdf
sewahec743
 

Similar to 8พลังงานภายในระบบ (13)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
heat
heatheat
heat
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
เคมีม.6
เคมีม.6เคมีม.6
เคมีม.6
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
บทที่6.pdf
บทที่6.pdfบทที่6.pdf
บทที่6.pdf
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
Wijitta DevilTeacher
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
Wijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
Wijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
Wijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
Wijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 

8พลังงานภายในระบบ

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 1 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 8 ผลการเรียนรู้ที่ 8 ระดับชั้น ม. 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 พลังงานภายในระบบ พลังงานภายในระบบ ( Internal energy of system ) พลังงานภายในระบบ คือ ผลรวมของพลังงานจลน์เฉลี่ยทั้งหมดของแก๊สในระบบปิด เขียนแทนด้วย สัญญลักษณ์ “ U ” เมื่อ kE = 2 3 kBT คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส 1 โมเลกุล และ N k E = 2 3 NkBT คือ พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สทั้งหมดในระบบปิด จะได้ U = N k E U = 2 3 NkBT U = 2 3 nRT U = 2 3 PV การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ คือ ผลต่างของพลังงานภายในระบบหลังเปลี่ยนแปลง ( U2 ) กับ พลังงานภายในระบบก่อนเปลี่ยนแปลง ( U1 ) เขียนแทนด้วย “U” เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ U = U2 - U1 U = 2 3 P2 V2 - 2 3 P1 V1 = 2 3 (PV) U = 2 3 nRT2 - 2 3 nRT1 = 2 3 nRT U = 2 3 NkBT2 - 2 3 NkBT1 = 2 3 NkBT นั่นคือ U ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (T) , การเปลี่ยนแปลงความดันและปริมาตร(PV) งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตร เมื่อความดันคงตัว ผลจะทาให้แก๊สมีการขยายตัวและหดตัว โดยให้ W คือ งานที่เกิดจากแก๊สกระทาหรือ งานที่เกิดจากแรงภายนอกกระทาต่อแก๊ส นั่นคือ ค่า W เป็นบวก ( + ) เมื่อ เกิดงานที่แก๊สกระทา จะมีผลให้แก๊ส ขยายตัว ถ้าค่า W เป็นลบ ( - ) เมื่อ งานนั้นเกิดจากแรงภายนอกกระทาต่อแก๊ส จะมีผลให้แก๊สหดตัว
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 2 จาก W = Fs W = PAs W = P(As) จะได้ W = PV W = P(V2 – V1 ) W = P(V2 – V1 ) เป็น บวก ( + ) เมื่อ แก๊สขยายตัว จะได้ V2  V1 W = P(V2 – V1 ) เป็น ลบ ( - ) เมื่อ แก๊สหดตัว จะได้ V1  V2 กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ เป็นกฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า “พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบจะต้อง มีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ทาโดยระบบนั้น” สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ Q = U + W เมื่อ Q แทนพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ U แทนพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น W แทนงานที่ระบบทา แต่ความเป็นจริง ระบบของแก๊สใดๆ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบในกรณีอื่นๆได้ด้วย และเป็นไปตาม กฎการอนุรักษ์พลังงาน และกาหนดค่าเครื่องหมายได้ดังนี้ ปริมาณ ลักษณะ เครื่องหมาย Q พลังงานความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ + พลังงานความร้อนไหลออกจากระบบ - ไม่มีพลังงานความร้อนไหลเข้าหรือออกจากระบบ 0 U พลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น ( อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ) + พลังงานภายในระบบลดลง ( อุณหภูมิลดลง ) - พลังงานภายในระบบคงตัว ( อุณหภูมิคงที่ ) 0 W งานที่ทาโดยระบบ ( ปริมาตรเพิ่มขึ้น ) + งานที่สิ่งแวดล้อมทาให้ระบบ ( ปริมาตรลดลง ) - ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร 0 ตัวอย่าง ออกซิเจนมวล 32 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิด ถ้าอุณหภูมิในขวดเพิ่มขึ้น 40 องศาเซลเซียส พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นกี่จูล วิธีทา จาก U = 2 3 nRT U = 2 3 ( 32 32 )( 8.31 )( 40 ) U = 498.6 J ตอบ s F A = พื้นที่ลูกสูบ ก่อนออกแรง F หลังออกแรง F
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 3 ตัวอย่าง ในการอัดแก๊สฮีเลียมในระบบปิดจานวน 05 กิโลโมล จากปริมาตร 0.6 m3 ให้เหลือ 0.2 m3 ด้วย ความดันคงที่ 1.5 x 105 N/m2 จงหา ก. งานในการอัดแก๊สนี้เป็นกี่จูล ข. พลังงานภายในระบบของแก๊สเปลี่ยนไปกี่จูล วิธีทา ก. จาก W = PV W = P(V2 – V1 ) W = ( 1.5 x 105) (0.2 – 0.6 ) W = - 6 x 104 J ตอบ ข. จาก Q = U + W 0 = U + - 6 x 104 J U = 6 x 104 J ตอบ *************** 1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า การระเบิดของกระป๋องสเปรย์ยากันยุง หรือ กระป๋องสเปรย์อื่นๆ ที่ใช้แล้ว เมื่อนาไปเผาไฟ เป็นผลมาจากสิ่งใด และควรนาไปเผาไฟหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล ลงในสมุดบันทึก 1. พลังงานภายในระบบ 2. การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ 3. งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส เมื่อความดันคงตัว 4. กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 8.1 ผลการเรียนรู้ที่ 8 Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง พลังงานภายในระบบ รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 8.2 ผลการเรียนรู้ที่8 Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง พลังงานภายในระบบ
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 4 2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. พลังงานภายในระบบ คือ ผลรวมของ…………………………ทั้งหมดของแก๊สในระบบปิด เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ………………… 2. พลังงานภายในระบบ ขึ้นกับอุณหภูมิของแก๊ส เขียนเป็นสมการด้วย ……………………………………หรือ ……….……………………………………… 3. พลังงานภายในระบบ ขึ้นกับความดันคูณกับปริมาตรของแก๊ส เขียนเป็นสมการด้วย ……………………… 4. จากสมการ W = P(V2 – V1 ) เป็น บวก ( + ) เมื่อ แก๊ส………………………….. จะได้ V2  V1 5. จากสมการ W = P(V2 – V1 ) เป็น ลบ ( - ) เมื่อ แก๊ส………………..………….. จะได้ V1  V2 6. กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ กล่าวว่า “พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบจะต้องมีค่าเท่ากับผลรวม ของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ทาโดยระบบนั้น” เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………. 7. เมื่อ Q แทนพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ ถ้า Q เป็น ศูนย์ ( 0 ) แสดงว่า ………………….………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………...…………………… 8. ถ้า Q เป็น ลบ ( - ) แสดงว่า ……………………………………………………………………………………………………….……. 9. เมื่อ U แทนพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น ถ้า U เป็น บวก ( + ) แสดงว่า ……………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… 10. เมื่อ W แทนงานที่ระบบทา ถ้า W เป็น ลบ ( - ) แสดงว่า …………………………….………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….. รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 8.3 ผลการเรียนรู้ที่8 Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง พลังงานภายในระบบ 1. แก๊สไนโตรเจนมวล 14 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิดมีอุณหภูมิ 293 เคลวิน ถ้าอุณหภูมิของไนโตรเจนในขวด เพิ่มขึ้น 60 เคลวิน พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นเท่าใด ให้ R = 8.3 J / mole.K , N – 14 ( ตอบ 373.5 J ) วิธีทา จาก U = 2 3 nRT และ n = M m จะได้ U = 2 3 M m RT
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 5 2. เมื่ออุณหภูมิของก๊าซอุดมคติแบบอะตอมเดียว อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก T เคลวิน เป็น 5 7 T เคลวิน แล้ว ค่าพลังงาน ภายในระบบของแก๊สเป็นเท่าใดของพลังงานภายในระบบเดิม( U ) ( ตอบ 5 7 U ) วิธีทา จาก U = 2 3 NkBT 3. แก๊สฮีเลียม 4 โมล ที่อุณหภูมิ 350 เคลวิน ผสมกับแก๊สอาร์กอน 1 โมล ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน แก๊สผสมจะมี อุณหภูมิเท่าไรในหน่วย เคลวิน ( ตอบ 340 เคลวิน ) วิธีทิ จาก U = UHe + UAr 2 3 nผสม RTผสม = 2 3 nHeRTHe + 2 3 nArRT Ar 4. จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตร ระบบซึ่งประกอบด้วยแก๊สนีออน 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง สถานะจาก a ไป b จงหาค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ ( ตอบ เพิ่มขึ้น , 3 x 103 จูล ) วิธีทา U = 2 3 (PV) = 2 3 P2 V2 - 2 3 P1 V1 P ( x 105 N/m2 ) V ( x 10- 2 m3 ) 0 1 3 5 7 3 5 7 1 a b
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 6 5. ในการอัดแก๊สอาร์กอนปริมาตร 15 ลูกบาศก์เมตร ความดัน 2 x 105 นิวตันต่อตารางเมตร ให้ปริมาตรลดเหลือ 10 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันคงที่ งานในการอัดแก๊สเท่ากับกี่จูล ( ตอบ 1.0 x 106 จูล ) วิธีทา จาก W = PV 6. จะต้องให้ความร้อนเท่าใดแก่แก๊สฮีเลียมจานวน 2 โมล ที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบ แล้วทาให้แก๊สนั้นดันให้ลูกสูบ ทางาน 4 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 40 เคลวิน ให้ R = 8.3 J / mole.K ( ตอบ 1,000 จูล ) วิธีทา จาก Q = U + W 7. ระบบทางเทอร์โมไดนามิกส์ระบบหนึ่งแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป การเพิ่มความดันจาก A  B ต้องใช้ปริมาณความ ร้อนเท่ากับ 500 จูล ใส่เข้าในระบบและในการขยายตัวของระบบจาก B C ต้องการปริมาณความร้อนเพิ่มอีก 150 จูล จงหาว่าพลังงานภายในของระบบที่เปลี่ยนแปลงในขบวนการจาก A  B  C มีค่ากี่จูล ( ตอบ 440 จูล ) วิธีทา จาก Q = U + W ความดัน(x 104 N/m2 ) ปริมาตร(x 10- 3 m3 ) 1 3 4 5 7 7 5 3 1 A B C D
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 7 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 แบบฝึกทักษะ 8 ผลการเรียนรู้ที่ 8 Physics 6 ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 12 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 20 นาที เรื่อง พลังงานภายในระบบ 1. แก๊สออกซิเจนมวล 32 กรัม ถูกบรรจุในขวดที่ปิดมิดชิดมีอุณหภูมิ 293 เคลวิน ถ้าอุณหภูมิของออกซิเจนในขวด เพิ่มขึ้น 20 เคลวิน พลังงานภายในจะเพิ่มขึ้นเท่าใด ให้ R = 8.31 J / mole.K , O – 16 ( ตอบ 249.3 J ) วิธีทา จาก U = 2 3 nRT 2. เมื่ออุณหภูมิของก๊าซอุดมคติแบบอะตอมเดียว ลดลงจากอุณหภูมิ 273 องศาเซลเซียส เป็นศูนย์องศาเซลเซียสแล้ว ค่าพลังงานภายในระบบของแก๊สเป็นเท่าใดของพลังงานภายในระบบเดิม ( ตอบ ½ ของเดิม ) วิธีทา จาก U = 2 3 nRT 3. แก๊สฮีเลียม 1 โมล ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน ผสมกับแก๊สอาร์กอน 3 โมล ที่อุณหภูมิ 400 เคลวิน แก๊สผสมจะมี อุณหภูมิเท่าไรในหน่วย เคลวิน ( ตอบ 375 เคลวิน ) วิธีทา จาก Uผสม = U1 + U2 2 3 nผสมRTผสม = 2 3 n1RT1 + 2 3 n2RT2 4. ออกแรงกดลูกสูบของกระบอกสูบ ซึ่งบรรจุแก๊สชนิดหนึ่งทาให้ปริมาตรลดลงเป็น 3 / 4 ของปริมาตรเดิม โดย อุณหภูมิคงที่และแก๊สไม่รั่วออก พลังงานภายในระบบจะเป็นเท่าใดของเดิม ( ตอบ 1เท่าของเดิม ) วิธีทา จาก U = 2 3 nRT 5. จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตร ระบบซึ่งประกอบด้วยแก๊สฮีเลียม 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง สถานะจาก a ไป b จงหาค่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ ( ตอบ เพิ่มขึ้น 7.5 x 103 จูล ) วิธีทา จาก U = 2 3 (PV) = 2 3 P2 V2 - 2 3 P1 V1 P ( x 105 N/m2 ) V ( x 10- 2 m3 ) 0 1 2 3 4 2 3 4 1 a b
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เรื่อง พลังงานภายในระบบ หน้า 8 6. ในการอัดแก๊สอาร์กอนปริมาตร 20 ลูกบาศก์ ความดัน 105 นิวตันต่อตารางเมตร ให้ปริมาตรลดเหลือ 10 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันคงที่ งานในการอัดแก๊สเท่ากับกี่จูล ( ตอบ 1 x 106 จูล ) วิธีทา จาก W = P(V2 – V1 ) 7. จะต้องให้ความร้อนเท่าใดแก่แก๊สฮีเลียมจานวน 1 โมล ที่บรรจุอยู่ในกระบอกสูบ แล้วทาให้แก๊สนั้นดันให้ลูกสูบ ทางาน 20 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน ให้ R = 8.3 J / mole.K ( ตอบ 144.5 จูล ) วิธีทา จาก Q = U + W 8. แก๊สในกระบอกสูบรับความร้อนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทางานบนระบบภายนอก 160 จูล ถามว่าพลังงานภายในของแก๊สเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด และอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้นหรือลดลง ( ตอบ ลดลง 18 จูล , อุณหภูมิลดลง ) วิธีทา จาก Q = U + W 9. แก๊สในกระบอกสูบคายความร้อน 240 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 50 จูล ถามว่าแก๊สหดตัวหรือขยายตัว ( มีการทางานให้แก่ระบบ 290 จูล แก๊สหดตัว ) วิธีทา จาก Q = U + W