SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ จำนวน 25 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ 5 เรื่อง แบบจำลองอะตอม จำนวน 2 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนนธาตุ สมบัติธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร
ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูลสมมุติฐานการทดลองหรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจำลอง
อะตอมของนักวิทยาศาสตร์และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
สาระสำคัญ
ดอลตันได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมว่า ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค
อนุภาคเหล่านี้ เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยก และทำให้สูญหายไม่ได้ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติ
เหมือนกัน แต่มีสมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิดทำ
ปฏิกิริยาเคมีในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ ต่อมาทอมสันได้มีการพัฒนาแบบจำลองอะตอมขึ้นมาใหม่โดย
การใช้หลอดรังสีแคโทดทำให้ค้นพบอิเล็กตรอน และโปรตอนที่ค้นพบโดยโกลด์สไตน์ ในยุคสมัยเดียวกันมิลลิ
แกนได้ทำการทดลองหาค่าประจุ และมวลของอิเล็กตรอน โดยการหยดน้ำมัน สามารถคำนวณหาประจุของ
อิเล็กตรอนได้เท่ากับ 1.60X10-19 คูลอมบ์ และมีมวลเท่ากับ 9.11X10-28 กรัม
สาระการเรียนรู้
1. แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
3. การทดลองหาค่าประจุ และมวลของอิเล็กตรอนของมิลลิแกน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้
1.1 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้
1.2 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้
1.3 นักเรียนสามารถอธิบายถึงการทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาประจุ และมวลของ
อิเล็กตรอนได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
2.1 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้
2.2 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้
2.3 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับการทดลองเพื่อหาค่าประจุ และมวลของ
อิเล็กตรอนของมิลลิแกนได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.1 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.1 ความสามารถในการคิด
- กระบวนการคิดวิเคราะห์
- กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
- กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล
- กระบวนการคิดสร้างสรรค์
1.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
- การสืบค้นข้อมูล
- การทดลอง
- การอธิบาย
1.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- กระบวนการทำงานกลุ่ม
ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. สรุปวิวัฒนาการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสันในสมุด
กิจกรรมการเรียนรู้
รูปแบบการสอนที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน และนำชิ่อผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชา
1.2 ครูเช็คชื่อนักเรียนก่อนเรียน และให้จัดกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน คละเพศ
1.3 ครูทำการสร้างข้อตกลงกับนักเรียนในการเข้าชั้นเรียน และชี้แจงการเก็บคะแนน
1.4 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้พื้นฐาน เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ เพื่อกระตุ้น
การคิดของผู้เรียน โดยใช้คำถามดังนี้
1.4.1 ถ้าหากเราแบ่งสารออกเป็นชิ้นเล็กลงเรื่อย ๆ นักเรียนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสาร
ดังกล่าวนั้นจะมีลักษณะ และคุณสมบัติเป็นอย่างไร
(แนวคำตอบ เนื่องจากสสารมีตัวตน เมื่อเราแบ่งให้เล็กลงเรื่อย ๆ ก็จะไม่สูญหายไป หาก
ต้องการแบ่งเล็กลงจนไม่สามารถแบ่งแยกอีกไม่ได้ สารก็จึงมีหน่วยเล็กที่สุด เรียกหน่วยเล็ก
นั้นว่า อะตอม และอะตอมจะมีขนาดที่เล็กมาก ไม่สามารถแบ่งย่อยลงไปได้อีก)
1.4.2 นักเรียนคิดว่าภายในอะตอมยังมีองค์ประกอบอะไรอีกบ้าง
(แนวคำตอบ โปรตอน (ประจุบวก) นิวตรอน (กลาง) และอิเล็กตรอน (ประจุลบ))
2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (15 นาที)
2.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้อภิปรายถึงลักษณะอะตอมว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร และให้แต่ละ
กลุ่มแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะอะตอมที่กลุ่มตนเองได้อภิปรายร่วมกัน
2.2 ครูนำนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง เหตุผลในการศึกษาแบบจำลอง
อะตอมว่า อะตอมมีขนาดเล็กมาก และมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า จึงต้องศึกษาโดยการมโนภาพหรือ
การสร้างแบบจำลองอะตอม ซึ่งแบบจำลองสามารถสร้างขึ้นจากข้อมูลที่เป็นผลการทดลอง ซึ่ง
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามผลการทดลองที่พบใหม่
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
3.1 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
(ดอลตันเสนอว่า อะตอมเป็นรูปทรงกลมตัน เป็นอนุภาคขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ อะตอมของ
ธาตุชนิดเดียวกันจะเหมือนกันทุกประการ แต่จะแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่นๆ เมื่อ
อะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันเป็นสารประกอบมีสัดส่วนการรวมตัวเป็น
เลขลงตัวอย่างง่าย และอะตอมไม่สามารถถูกทำลายหรือสร้างขึ้นใหม่ได้)
3.2 ครู และนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงสาเหตุที่ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับอะตอมของดอลตัน
บางอย่างเปลี่ยนไป
(3.2.1 อะตอมเป็นอนุภาคขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ แต่ในปัจจุบันค้นพบอนุภาคมูลฐานใน
อะตอม ได้แก่ อิเล็กตรอน, โปรตอน และนิวตรอน
3.2.2 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะเหมือนกันทุกประการ แต่จะแตกต่างจากอะตอมของ
ธาตุอื่นๆ หลังจากการค้นพบไอโซโทปของธาตุ หลักการนี้จึงไม่สามารถใช้ได้
3.2.3 อะตอมไม่สามารถถูกทำลายหรือสร้างขึ้นใหม่ได้ จากทฤษฎีสัมพันธภาพ อะตอม
สามารถถูกทำลายได้)
3.3 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของทอมสัน โดยเริ่มจากการอธิบายเกี่ยวกับ
การพัฒนาหลอดรังสีแคโทดในการทดลองที่ทำให้โกลด์ชไตน์ค้นพบโปรตอน และทอมสันค้นพบ
อิเล็กตรอน และผลการทดลองของทอมสันที่ได้เสนอแบบจำลองอะตอมว่า อะตอมเป็นรูปทรง
กลมประกอบด้วยเนื้ออะตอมที่มีประจุเป็นบวก และมีอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไป อะตอมใน
สภาพที่เป็นทางไฟฟ้าจะมีประจุบวกเท่ากับประจุลบเสมอ
3.4 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ การทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาค่าประจุของ
อิเล็กตรอน
3.4.1 ครูอธิบายถึงผลการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน ดังนี้ ละอองน้ำมันจะเคลื่อนที่ผ่าน
ช่องเล็กๆ ระหว่างแผ่นโลหะประจุบวก และประจุลบ แล้วตกลงมาระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง
ที่มีฉายรังสีอยู่ หยดที่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก หยดที่ได้รับ
อิเล็กตรอนจะมีประไฟฟ้าเป็นลบ ส่วนหยดที่ไม่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นกลางทาง
ไฟฟ้า โดยหยดน้ำมันทั้งหมดเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งที่เท่ากันตามแรงโน้มถ่วงโลก ผ่าน
กระแสไฟฟ้าจะมีสนามไฟฟ้าเกิดขึ้น ทำให้หยดน้ำมันเคลื่อนที่ต่างกัน
3.4.2 ครูอธิบายให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่ของหยดน้ำมันจากการ
ทดลองของมิลลิแกนได้ว่า หยดน้ำมันที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าเดิม
หยดน้ำมันที่เป็นประจุบวกจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเพิ่มขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าเข้า
หาแผ่นโลหะที่เป็นขั้วลบ หยดน้ำมันที่เป็นประจุลบมีความเร่งน้อยกว่าเดิม หยดน้ำมัน
บางส่วนหยุดนิ่ง เนื่องจากเกิดสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วง และแรงจากสนามไฟฟ้า
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที)
4.1 ครูสรุปเนื้อหาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และเพิ่มเติมในบางส่วนที่นักเรียนยังไม่
เข้าใจ
4.2 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสัน
5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) (5 นาที)
5.1 การสรุปเนื้อหา เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสันลงในสมุด
5.2 การให้ความร่วมมือในตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท)
2. งานนำเสนอ เรื่อง อะตอม และสมบัติธาตุ
3. ใบความรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอม
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การผ่านจุดประสงค์
ด้านความรู้ (K)
1. สามารถอธิบายลักษณะแบบ
จำลองอะตอมของดอลตันได้
2. สามารถอธิบายลักษณะ
แบบจำลองอะตอมของทอมสันได้
3. สามารถอธิบายถึงการทดลอง
การหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหา
ประจุ และมวลของอิเล็กตรอนได้
ตรวจสมุด
แบบประเมิน
ความรู้ความเข้าใจ
เรื่อง แบบจำลอง
อะตอมของดอลตัน
และทอมสัน
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. สามารถตีความหมาย และสรุป
เกี่ยวกับแบบจำลองอะตอม
ของดอลตันได้
2. สามารถตีความหมาย และสรุป
เกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของ
ทอมสันได้
ตรวจสมุด
แบบประเมินทักษะ
การตีความหมาย
ข้อมูล และการลง
ข้อสรุป
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A)
1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมี
ความรับผิดชอบ
การสังเกต
พฤติกรรมในชั้น
เรียนตั้งใจใฝ่
เรียนรู้ มีความ
รับผิดชอบ
แบบประเมิน
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ด้านการใฝ่
เรียนรู้ และมีความ
รับผิดชอบ
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
การสังเกต
พฤติกรรมในชั้น
เรียน และ
ตรวจสมุด
แบบประเมิน
สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ 3 หรือ
ระดับดีขึ้นไป
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K)
1. สามารถอธิบายลักษณะแบบ จำลองอะตอมของดอลตันได้
2. สามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้
3. สามารถอธิบายถึงการทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาประจุ และมวลของอิเล็กตรอนได้
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. สามารถอธิบายลักษณะ
แบบ จำลองอะตอมขอ
งดอลตันได้
2. สามารถอธิบายลักษณะ
แบบจำลองอะตอมของ
ทอมสันได้
3. สามารถอธิบายถึงการ
ทดลองการหยดน้ำมันของ
มิลลิแกนเพื่อหาประจุ
และมวลของอิเล็กตรอนได้
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
เขียนถูกต้อง
ตามหลักภาษา
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาบางส่วน
ไม่สมบูรณ์ตามที่
กำหนด ลำดับ
หัวข้อเนื้อหา
ชัดเจน
เนื้อหาไม่
สมบูรณ์
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาไม่
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้
2. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. สามารถตีความหมาย
และสรุปเกี่ยวกับ
แบบจำลองอะตอมขอ
งดอลตันได้
2. สามารถตีความหมาย
และสรุปเกี่ยวกับ
แบบจำลองอะตอมของ
ทอมสันได้
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
เขียนถูกต้อง
ตามหลักภาษา
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาครบถ้วน
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาชัดเจน
และมีการอธิบาย
ได้อย่างมีเหตุผล
เนื้อหาบางส่วน
ไม่สมบูรณ์ตามที่
กำหนด ลำดับ
หัวข้อเนื้อหา
ชัดเจน
เนื้อหาไม่
สมบูรณ์
ตามที่กำหนด
ลำดับหัวข้อ
เนื้อหาไม่
ชัดเจน
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม
และมีความรับผิดชอบ
ตั้งใจและรับผิดชอบ
ใน การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนาการทำงานให้
ดีขึ้นด้วยตนเองและ
เป็นแบบอย่างที่ดี
ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนา
การทำงานให้ดีขึ้น
ด้วยตนเอง
ตั้งใจและ
รับผิดชอบใน
การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับ
มอบหมายให้
สำเร็จ มีการ
ปรับปรุงและ
พัฒนา
การทำงานดีขึ้น
รับผิดชอบใน
การปฏิบัติหน้าที่
ที่ได้รับ
มอบหมายให้
สำเร็จ
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
ลงชื่อ นางสาวเกตุวรี ยศยิ่งยง ผู้สอน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
ssuser2feafc1
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
อัจฉรา นาคอ้าย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน

Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]Nank Vang
 
Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]Nank Vang
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
Katewaree Yosyingyong
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
Chuanchen Malila
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน (20)

Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]
 
Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdfแผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
แผนที่ 27 สารกัมมันตรังสี 1 ชม..pdf
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 

More from Katewaree Yosyingyong

บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
Katewaree Yosyingyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
Katewaree Yosyingyong
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
Katewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
Katewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
Katewaree Yosyingyong
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
Katewaree Yosyingyong
 

More from Katewaree Yosyingyong (6)

บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 1 รหัสวิชา ว30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ จำนวน 25 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ 5 เรื่อง แบบจำลองอะตอม จำนวน 2 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนนธาตุ สมบัติธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูลสมมุติฐานการทดลองหรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจำลอง อะตอมของนักวิทยาศาสตร์และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม สาระสำคัญ ดอลตันได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมว่า ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ หลายอนุภาค อนุภาคเหล่านี้ เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยก และทำให้สูญหายไม่ได้ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติ เหมือนกัน แต่มีสมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิดทำ ปฏิกิริยาเคมีในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ ต่อมาทอมสันได้มีการพัฒนาแบบจำลองอะตอมขึ้นมาใหม่โดย การใช้หลอดรังสีแคโทดทำให้ค้นพบอิเล็กตรอน และโปรตอนที่ค้นพบโดยโกลด์สไตน์ ในยุคสมัยเดียวกันมิลลิ แกนได้ทำการทดลองหาค่าประจุ และมวลของอิเล็กตรอน โดยการหยดน้ำมัน สามารถคำนวณหาประจุของ อิเล็กตรอนได้เท่ากับ 1.60X10-19 คูลอมบ์ และมีมวลเท่ากับ 9.11X10-28 กรัม สาระการเรียนรู้ 1. แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 3. การทดลองหาค่าประจุ และมวลของอิเล็กตรอนของมิลลิแกน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้ 1.2 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้ 1.3 นักเรียนสามารถอธิบายถึงการทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาประจุ และมวลของ อิเล็กตรอนได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้ 2.2 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้ 2.3 นักเรียนสามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับการทดลองเพื่อหาค่าประจุ และมวลของ อิเล็กตรอนของมิลลิแกนได้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 2. 3.1 นักเรียนใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1.1 ความสามารถในการคิด - กระบวนการคิดวิเคราะห์ - กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ - กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล - กระบวนการคิดสร้างสรรค์ 1.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา - การสืบค้นข้อมูล - การทดลอง - การอธิบาย 1.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการทำงานกลุ่ม ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. สรุปวิวัฒนาการเกี่ยวกับการพัฒนาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสันในสมุด กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน และนำชิ่อผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชา 1.2 ครูเช็คชื่อนักเรียนก่อนเรียน และให้จัดกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน คละเพศ 1.3 ครูทำการสร้างข้อตกลงกับนักเรียนในการเข้าชั้นเรียน และชี้แจงการเก็บคะแนน 1.4 ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการทบทวนความรู้พื้นฐาน เรื่อง อะตอม และตารางธาตุ เพื่อกระตุ้น การคิดของผู้เรียน โดยใช้คำถามดังนี้ 1.4.1 ถ้าหากเราแบ่งสารออกเป็นชิ้นเล็กลงเรื่อย ๆ นักเรียนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสาร ดังกล่าวนั้นจะมีลักษณะ และคุณสมบัติเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ เนื่องจากสสารมีตัวตน เมื่อเราแบ่งให้เล็กลงเรื่อย ๆ ก็จะไม่สูญหายไป หาก ต้องการแบ่งเล็กลงจนไม่สามารถแบ่งแยกอีกไม่ได้ สารก็จึงมีหน่วยเล็กที่สุด เรียกหน่วยเล็ก นั้นว่า อะตอม และอะตอมจะมีขนาดที่เล็กมาก ไม่สามารถแบ่งย่อยลงไปได้อีก) 1.4.2 นักเรียนคิดว่าภายในอะตอมยังมีองค์ประกอบอะไรอีกบ้าง (แนวคำตอบ โปรตอน (ประจุบวก) นิวตรอน (กลาง) และอิเล็กตรอน (ประจุลบ)) 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (15 นาที) 2.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้อภิปรายถึงลักษณะอะตอมว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร และให้แต่ละ กลุ่มแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะอะตอมที่กลุ่มตนเองได้อภิปรายร่วมกัน 2.2 ครูนำนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง เหตุผลในการศึกษาแบบจำลอง อะตอมว่า อะตอมมีขนาดเล็กมาก และมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า จึงต้องศึกษาโดยการมโนภาพหรือ
  • 3. การสร้างแบบจำลองอะตอม ซึ่งแบบจำลองสามารถสร้างขึ้นจากข้อมูลที่เป็นผลการทดลอง ซึ่ง สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามผลการทดลองที่พบใหม่ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของดอลตัน (ดอลตันเสนอว่า อะตอมเป็นรูปทรงกลมตัน เป็นอนุภาคขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ อะตอมของ ธาตุชนิดเดียวกันจะเหมือนกันทุกประการ แต่จะแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่นๆ เมื่อ อะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันเป็นสารประกอบมีสัดส่วนการรวมตัวเป็น เลขลงตัวอย่างง่าย และอะตอมไม่สามารถถูกทำลายหรือสร้างขึ้นใหม่ได้) 3.2 ครู และนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงสาเหตุที่ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับอะตอมของดอลตัน บางอย่างเปลี่ยนไป (3.2.1 อะตอมเป็นอนุภาคขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ แต่ในปัจจุบันค้นพบอนุภาคมูลฐานใน อะตอม ได้แก่ อิเล็กตรอน, โปรตอน และนิวตรอน 3.2.2 อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะเหมือนกันทุกประการ แต่จะแตกต่างจากอะตอมของ ธาตุอื่นๆ หลังจากการค้นพบไอโซโทปของธาตุ หลักการนี้จึงไม่สามารถใช้ได้ 3.2.3 อะตอมไม่สามารถถูกทำลายหรือสร้างขึ้นใหม่ได้ จากทฤษฎีสัมพันธภาพ อะตอม สามารถถูกทำลายได้) 3.3 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของทอมสัน โดยเริ่มจากการอธิบายเกี่ยวกับ การพัฒนาหลอดรังสีแคโทดในการทดลองที่ทำให้โกลด์ชไตน์ค้นพบโปรตอน และทอมสันค้นพบ อิเล็กตรอน และผลการทดลองของทอมสันที่ได้เสนอแบบจำลองอะตอมว่า อะตอมเป็นรูปทรง กลมประกอบด้วยเนื้ออะตอมที่มีประจุเป็นบวก และมีอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไป อะตอมใน สภาพที่เป็นทางไฟฟ้าจะมีประจุบวกเท่ากับประจุลบเสมอ 3.4 ครูอธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับ การทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาค่าประจุของ อิเล็กตรอน 3.4.1 ครูอธิบายถึงผลการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน ดังนี้ ละอองน้ำมันจะเคลื่อนที่ผ่าน ช่องเล็กๆ ระหว่างแผ่นโลหะประจุบวก และประจุลบ แล้วตกลงมาระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง ที่มีฉายรังสีอยู่ หยดที่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก หยดที่ได้รับ อิเล็กตรอนจะมีประไฟฟ้าเป็นลบ ส่วนหยดที่ไม่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นกลางทาง ไฟฟ้า โดยหยดน้ำมันทั้งหมดเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งที่เท่ากันตามแรงโน้มถ่วงโลก ผ่าน กระแสไฟฟ้าจะมีสนามไฟฟ้าเกิดขึ้น ทำให้หยดน้ำมันเคลื่อนที่ต่างกัน 3.4.2 ครูอธิบายให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่ของหยดน้ำมันจากการ ทดลองของมิลลิแกนได้ว่า หยดน้ำมันที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าเดิม หยดน้ำมันที่เป็นประจุบวกจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเพิ่มขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าเข้า หาแผ่นโลหะที่เป็นขั้วลบ หยดน้ำมันที่เป็นประจุลบมีความเร่งน้อยกว่าเดิม หยดน้ำมัน บางส่วนหยุดนิ่ง เนื่องจากเกิดสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วง และแรงจากสนามไฟฟ้า 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที) 4.1 ครูสรุปเนื้อหาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และเพิ่มเติมในบางส่วนที่นักเรียนยังไม่ เข้าใจ 4.2 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสัน 5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) (5 นาที)
  • 4. 5.1 การสรุปเนื้อหา เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตัน และทอมสันลงในสมุด 5.2 การให้ความร่วมมือในตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนเคมี รายวิชาเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 1 (สสวท) 2. งานนำเสนอ เรื่อง อะตอม และสมบัติธาตุ 3. ใบความรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอม การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การผ่านจุดประสงค์ ด้านความรู้ (K) 1. สามารถอธิบายลักษณะแบบ จำลองอะตอมของดอลตันได้ 2. สามารถอธิบายลักษณะ แบบจำลองอะตอมของทอมสันได้ 3. สามารถอธิบายถึงการทดลอง การหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหา ประจุ และมวลของอิเล็กตรอนได้ ตรวจสมุด แบบประเมิน ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง แบบจำลอง อะตอมของดอลตัน และทอมสัน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไป ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. สามารถตีความหมาย และสรุป เกี่ยวกับแบบจำลองอะตอม ของดอลตันได้ 2. สามารถตีความหมาย และสรุป เกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของ ทอมสันได้ ตรวจสมุด แบบประเมินทักษะ การตีความหมาย ข้อมูล และการลง ข้อสรุป ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมี ความรับผิดชอบ การสังเกต พฤติกรรมในชั้น เรียนตั้งใจใฝ่ เรียนรู้ มีความ รับผิดชอบ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้านการใฝ่ เรียนรู้ และมีความ รับผิดชอบ ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด การสังเกต พฤติกรรมในชั้น เรียน และ ตรวจสมุด แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน ระดับคุณภาพ 3 หรือ ระดับดีขึ้นไป
  • 5. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K) 1. สามารถอธิบายลักษณะแบบ จำลองอะตอมของดอลตันได้ 2. สามารถอธิบายลักษณะแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้ 3. สามารถอธิบายถึงการทดลองการหยดน้ำมันของมิลลิแกนเพื่อหาประจุ และมวลของอิเล็กตรอนได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. สามารถอธิบายลักษณะ แบบ จำลองอะตอมขอ งดอลตันได้ 2. สามารถอธิบายลักษณะ แบบจำลองอะตอมของ ทอมสันได้ 3. สามารถอธิบายถึงการ ทดลองการหยดน้ำมันของ มิลลิแกนเพื่อหาประจุ และมวลของอิเล็กตรอนได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด เขียนถูกต้อง ตามหลักภาษา ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาบางส่วน ไม่สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ลำดับ หัวข้อเนื้อหา ชัดเจน เนื้อหาไม่ สมบูรณ์ ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาไม่ ชัดเจน เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
  • 6. เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของดอลตันได้ 2. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของทอมสันได้ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมขอ งดอลตันได้ 2. สามารถตีความหมาย และสรุปเกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของ ทอมสันได้ เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด เขียนถูกต้อง ตามหลักภาษา ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาครบถ้วน ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาชัดเจน และมีการอธิบาย ได้อย่างมีเหตุผล เนื้อหาบางส่วน ไม่สมบูรณ์ตามที่ กำหนด ลำดับ หัวข้อเนื้อหา ชัดเจน เนื้อหาไม่ สมบูรณ์ ตามที่กำหนด ลำดับหัวข้อ เนื้อหาไม่ ชัดเจน เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน
  • 7. เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถาม และมีความรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้นด้วยตนเองและ เป็นแบบอย่างที่ดี ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนา การทำงานให้ดีขึ้น ด้วยตนเอง ตั้งใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนา การทำงานดีขึ้น รับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ เกณฑ์การตัดสิน ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 60 ถือว่าประสบผลสำเร็จในการสอน ลงชื่อ นางสาวเกตุวรี ยศยิ่งยง ผู้สอน