SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อะตอมเป็นอนุภาคที่เล็ก
ที่สุดของธาตุที่รักษาสมบัติ
ทางเคมีของธาตุนั้นอย่าง
สมบูรณ์
อนุภาคภายในอะตอม C
ประกอบด้วย โปรตอน
นิวตรอนและอิเล็กตรอนDownload เอกสารอ่านเพิ่มเติม
เอกสารเผยแพร่เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา
woravith.c@rmutp.ac.th
อะตอม
คืออะไร?
แนวคิดโครงสร้างอะตอม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
1808 1897 1910 1913 1926 1932
Dalton Thomson Rutherford Bohr ChadwickSchrodinger
460
BC
Goldstein
1886
Millikan
1908
ค้นพบ
อนุภาค
ประจุบวก
ทาการ
ทดลองหา
ประจุของ
อิเล็กตรอน
หลักความไม่
แน่นอนของ
ไฮเซนเบิร์ก
อนุภาค
แสดงสมบัติ
เป็นคลื่นได้
“สสารทั้งปวงประกอบ
ขึ้นจากอะตอม”
• แบ่งแยกไม่ได้และ
ทาลายไม่ได้
• สารประกอบเกิดจาก
การรวมตัวของสอง
อะตอม
• อะตอมของธาตุเดียวจะ
เหมือนกัน และ
แตกต่างจากธาตุอื่น
ทาการทดลองยิง
รังสีแอลฟาใส่แผ่น
ทองคา
“ผลการทดลองไม่
สอดคล้องกับ
แบบจาลองอะตอม
ของทอมสัน”
Crookes
1879
พัฒนา
หลอดรังสี
แคโทด
ค้นพบ
อนุภาค
รังสีBecquerel
1896
“ค้นพบ อิเล็กตรอน”
ทาการศึกษา
ธรรมชาติของรังสีที่
ปล่อยจากหลอดรังสี
แคโทด
“อิเล็กตรอนเคลื่อนที่
รอบนิวเคลียสคล้าย
วงโคจรของดาว
เคราะห์รอบดวง
อาทิตย์”
“ค้นพบนิวตรอน”
อนุภาคที่เป็นกลาง
รวมตัวอยู่ใน
นิวเคลียส ซึ่งทาให้
มวลของนิวเคลียส
ตรงกับความเป็น
จริง
“สมการคลื่น” บอก
บริเวณที่มีโอกาสพบ
อิเล็กตรอนได้สูงสุด
เรียกว่า ออร์บิทัล
DeBroglie
1924
Heisenberg
1925
แบบจาลองอะตอม
เหมือน “กลุ่มหมอก
อิเล็กตรอน”
Thomson’s experiment (1897)
-source
ฉากเรืองแสง
แผ่นทองคา
Rutherford’s gold foil experiment (1910)
อัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน (e/m) = 1.76x108 C/g
อัตราส่วนประจุต่อมวลของโปรตอน (e/m) = 9.58x104 C/g
มวลของโปรตอน = 1.66x10-24 g
จากการทดลองของทอมสัน
ภายในอะตอมส่วนใหญ่เป็นที่ว่าง เป็นที่อยู่ของอิเล็กตรอน
ประจุบวกทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ตรงกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส
Millikan’s oil drop experiment (1908) Bohr’s experiment (1913)
ประจุของอิเล็กตรอน = 1.60x10-19 C
มิลลิแกนได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1923
มวลของอิเล็กตรอน =
ประจุของอิเล็กตรอน
ประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน
1.60x10-19 C
1.76x108 C/g
=
= 9.10x10-28 g
การทดลองเพื่อหาค่าประจุของอิเล็กตรอน
เสนอแบบจาลองอะตอมไฮโดรเจน (H) ขึ้นมาใหม่ โดยขยาย
ความคิดแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด อาศัยแนวคิด
เกี่ยวกับสเปกตรัมอะตอม และทฤษฎีควอนตัมของพลังค์
(1) อะตอม H มีระดับพลังงานที่แน่นอนเท่านั้น
(2) อะตอมจะไม่มีการเปล่งรังสีหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใด ๆ ออกมา
ขณะที่อิเล็กตรอนโคจรอยู่ในระดับพลังงานคงที่
(3) อิเล็กตรอนได้รับพลังงานในปริมาณที่เหมาะสมค่าหนึ่ง อิเล็กตรอน
สามารถเปลี่ยนระดับพลังงานวงโคจรจากสถานะคงที่ไปยังวงโคจรอีก
ระดับหนึ่ง (สูงกว่าหรือต่ากว่าเดิม)
K L MN
+
++ +
-
-
-
-
-
-
+
-
โปรตอน
(Proton)
นิวตรอน
(Neutron)
อิเล็กตรอน
(Electron)
อนุภาค น้าหนัก (กรัม) ประจุ (คูลอมบ์) ประจุ
อิเล็กตรอน 9.10x10-28 1.60x10-19 -1
โปรตอน 1.67x10-24 1.60x10-19 +1
นิวตรอน 1.67x10-24 0 0
• มีประจุเป็นบวก
• ธาตุแต่ละธาตุมีจานวนโปรตอนเฉพาะตัว
(จานวนโปรตอนเป็นตัวกาหนดธาตุ)
• มีมวลมากกว่าอิเล็กตรอน (1800 เท่า)
• รวมตัวอยู่ในนิวเคลียส (รวมกับนิวตรอน)
• น้าหนักโปรตอนรวมกับนิวตรอน คือ น้าหนัก
อะตอม
• มีประจุเป็นลบ
• สภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้า มีจานวนเท่ากับ
โปรตอน
• จานวนอาจเปลี่ยนแปลงได้ (เพิ่มหรือลด)
• มีมวลเบาบางกว่าโปรตอนมาก
• โคจรรอบนิวเคลียส
• ไม่มีประจุ
• จานวนอาจเปลี่ยนแปลงได้ (เพิ่มหรือลด)
• มีมวลใกล้เคียงโปรตอน
• รวมตัวอยู่ในนิวเคลียส (รวมกับโปรตอน)
X
A
Z
เลขเชิงอะตอม = จานวน P
น้าหนักอะตอม = จานวน P + จานวน N
สัญลักษณ์ธาตุ
Na
23
11
+
F
19
9
-
Z = P = e-
A = P+N
N = A-Z
แอนไอออน (anion)
สภาวะที่สภาพประจลบ
มากกว่าประจุบวก
Na
23
11
F
19
9
P = 11
e = 11
P = 9
e = 9
P = 11
e = 10
P = 9
e = 10
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ไอออน (ion)
อะตอมมีสภาพที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
จึงทาให้มี
จานวนโปรตอน = จานวนอิเล็กตรอน
““
อะตอม
มี
สภาพ
ไม่เป็น
กลาง
ทาง
ไฟฟ้า
แคตไอออน (cation)
สภาวะที่สภาพประจุ
ลบน้อยกว่าประจุบวก
ธาตุชนิดเดียวกัน แต่มี
มวลเชิงอะตอม
ไม่เท่ากัน
(ธาตุชนิดเดียวกัน
จานวนนิวตรอนไม่เท่ากัน)
ไอโซโทป
(isotope)
ธาตุต่างชนิดกัน
ที่มีจานวนนิวตรอน
เท่ากัน
ไอโซโทน
(isotone)
ธาตุต่างชนิดกัน
ที่มีมวลเชิงอะตอม
เท่ากัน
ไอโซบาร์
(isobar)
14C ใช้คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ
หรือซากดึกดาบรรพ์
60Co ให้รังสีแกมมาซึ่งใช้ในการถนอม
อาหารและรักษาโรคมะเร็ง
125I ใช้รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
131I ใช้ตรวจสอบความผิดปกติของต่อม
ไทรอยด์
32P ใช้ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพืช
238U ใช้คานวณอายุแร่
ประโยชน์ของไอโซโทปธาตุบางชนิด
1H 2H 3H
12C 13C 14C
16O 17O 18O
p=1 p=1 p=1
n=0 n=1 n=2
O
18
8
F
19
9
C
14
6
N
14
7
เลขควอนตัม
(quantum number)
เป็นค่าได้จากการแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาพลังงานและ
บริเวณที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนในสามมิติ
บอกระดับพลังงานของออร์บิทัล
ภายในอะตอม แสดงระยะห่างของ
อิเล็กตรอนจากนิวเคลียส
ค่าแสดงรูปร่างของออร์บิทัลเชิง
อะตอม
ค่าแสดงการจัดตัวของออร์บิทัล
เชิงอะตอมบนแกนสามมิติ
ค่าแสดงทิศทางการหมุนรอบ
ตัวเองของอิเล็กตรอน
เลขควอนตัมหลัก
(Principle quantum number)
n มีค่าเป็น 1, 2, 3, 4 …. n
n
l
ml
ms
เลขควอนตัมสปิน
(Spin quantum number)
เลขควอนตัมแม่เหล็ก
(Magnetic quantum number)
เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม
(Angular momentum quantum number)
l มีค่าตั้งแต่ 0, 1, 2, 3, n -1
ml มีค่าได้เท่ากับ 2l+1
มีค่าตั้งแต่ -l ถึง l
ms มี 2 ค่าคือ +1/2 และ - 1/2
n
ml
l
พลังงาน
n=1
n=2
n=3
n=4
n=5
N
M
L
K
n
1
2
3
4
l
1 0
2 0, 1
3 0, 1, 2
4 0, 1, 2, 3
l 0 1 2 3
orbital s p d f
มี 1 subshell = s
มี 2 subshells = s, p
มี 3 subshells = s, p, d
มี 4 subshells = s, p, d, f
n=1, s
n=2, s, p
n=3, s, p, d
n l ml
1 0 0 s
2 1 -1, 0, +1 p
3 2 -2, -1, 0, +1, +2 d
4 3 -3, -2, -1, 0, +1, +2, +3 f
ms
n l ml ms
ออร์บิทัล จานวนอิเล็กตรอน
ที่ครอบครอง
1 0 0 +1/2 , -1/2 1s 2
2 0 0 +1/2 , -1/2 2s 2
1 -1, 0, +1 +1/2 , -1/2 2p 6
3 0 0 +1/2 , -1/2 3s 2
1 -1, 0, +1 +1/2 , -1/2 3p 6
2 -2, -1, 0, +1, +2 +1/2 , -1/2 3d 10
4 0 0 +1/2 , -1/2 4s 2
1 -1, 0, +1 +1/2 , -1/2 4p 6
2 -2, -1, 0, +1, +2 +1/2 , -1/2 4d 10
3 -3, -2, -1, 0, +1, +2, +3 +1/2 , -1/2 4f 14
1
2
3
4
s p d f
การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลเชิงอะตอมที่
สัมพันธ์กับเลขควอนตัม 4 ชนิด
โครงแบบอิเล็กตรอนจะช่วยอธิบายบริเวณหรือ
ตาแหน่งของอิเล็กตรอนที่ครอบครองภายใน
อะตอมนั้น ๆ
(1) การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
(2) การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย
โครงแบบอิเล็กตรอนของอะตอม
(Electron configuration)
“ จานวนอิเล็กตรอนมีได้มากที่สุดใน
แต่ละระดับพลังงานไม่เกิน 2n2
+
n=5
n=4
n=3
n=2
n=1
ระดับพลังงานหลักมีระดับพลังงานย่อยตามเลขควอนตัม
โมเมนตัมเชิงมุมที่เรียกว่าระดับ s, p, d และ f
อิเล็กตรอนจัดเรียงลาดับจากค่าระดับพลังงานต่าไป
พลังงานสูง s, p, d และ f ตามลาดับ
1s
2s2p
3s
3p3d
2 2 6 2 6 10 26101432 18 8 2
4s
4p
4d
4f
n=1
n=2
n=3
n=4
ระดับพลังงานหลัก ระดับพลังงานย่อย
1) ในแต่ละระดับพลังงานมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 2n2
2) ระดับพลังงานสุดท้ายบรรจุอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 8
ตัว
3) ระดับพลังงานรองสุดท้ายบรรจุอิเล็กตรอนได้ไม่
เกิน 18 ตัว
หลักของเอาฟบาว >>
“ต้องบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่า
ให้เต็มก่อน แล้วจึงบรรจุในระดับพลังงานที่สูงขึ้นไป"
1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 4p 5s …
4
3
2
1
4f
4d
4p
4s
2p
2s
3d
3p
3s
1s
พลังงาน
1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2 …
He = 1s2 C = 1s2 2s2 2p2
Ca = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2
จานวนอิเล็กตรอน
ออร์บิทัลที่ครอบครองอิเล็กตรอน
ระดับชั้นพลังงาน
1s
8s
4s
2s
5s
6s
7s
3s
4p
2p
5p
6p
7p
3p
4d
5d
6d
3d
4f
5f
1s 2s 2p 3s 3p 4s12 12
1 2 3 4 5 6 7
123
การเขียนลาดับการจัดเรียงอิเล็กตรอนโดย
อาศัยการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแก๊สมีสกุล
(หมู่ 8A) เป็นสัญลักษณ์แก่น
เนื่องจากในแต่ละออร์บิทัลเชิงอะตอมของ
แก๊สมีสกุลมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบเต็ม
(full-field)
การเขียนสัญลักษณ์แก่น (core symbol)
36Kr 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 → [Kr]
18Ar 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 → [Ar]
10Ne 1s2 2s2 2p6 → [Ne]
2He 1s2 → [He]
บริเวณที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอน
ที่โคจรรอบนิวเคลียส
แต่เป็นการยากที่จะระบุตาแหน่งของ
อิเล็กตรอนอย่างแน่ชัด
ออร์บิทัลเชิงอะตอม (atomic orbital) ความน่าจะเป็น
สูงที่สุดในการ
พบอิเล็กตรอน
รอบนิวเคลียส
ความหนาแน่นสูง
ความหนาแน่นน้อย
ออร์บิทัล-s
ออร์บิทัล-p
ออร์บิทัล-d
ออร์บิทัล-f
การกระจายของอิเล็กตรอนไม่ขึ้นอยู่กับทิศทาง
รูปร่างออร์บิทัลจึงมีลักษณะเป็นทรงกลม
การกระจายของอิเล็กตรอน 3 ทิศทาง จะมี
ลักษณะเป็นก้อนกลม 2 ก้อนข้างนิวเคลียส
ลักษณะคล้ายดัมเบล
อิเล็กตรอนกระจายรอบนิวเคลียส
ได้ 5 ทิศทาง
อิเล็กตรอนกระจาย
รอบนิวเคลียสได้ 7
ทิศทาง
ในอะตอมหนึ่งๆ จะมีอิเล็กตรอนคู่หนึ่งคู่ใด
ที่มีเลขควอนตัมทั้งสี่ (n, l, ml, ms)
เหมือนกันไม่ได้
ในแต่ละออร์บิทัลย่อยของแต่ละระดับพลังงาน
จะมีอิเล็กตรอนอยู่ได้เป็นคู่ที่มีการสปินตรงกัน
ข้ามเท่านั้น
ในแต่ละออร์บิทัลย่อย
จะมีอิเล็กตรอนอยู่ได้
ไม่เกิน 2 ตัว
หลักการกีดกันของเพาลี
กฎของฮุนด์ 6C = 1s2 2s2 2p2
▪ การบรรจุแบบเต็ม (full-filled) บรรจุอิเล็กตรอนใน
ชั้นพลังงานเดียวกันเต็มทุกออร์บิทัล (แบบเข้าคู่)
▪ การบรรจุแบบครึ่ง (half-filled) บรรจุอิเล็กตรอนใน
ชั้นพลังงานเดียวกันครึ่งหนึ่งของทุกออร์บิทัล (แบบ
อิเล็กตรอนเดี่ยว)
▪ การบรรจุแบบไม่เต็มและไม่ครึ่ง บรรจุอิเล็กตรอนใน
ชั้นพลังงานเดียวกันไม่เต็มทุกออร์บิทัล
ความเสถียร บรรจุแบบเต็ม > บรรจุแบบครึ่ง > แบบไม่เต็ม-ไม่ครึ่ง
เราสามารถเขียน
ของ C ได้ทั้ง 3 แบบ
....แล้วแบบไหนถูกกัน
ละเนี่ย ?
“การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มี
ระดับพลังงานเท่ากัน (degenerate
orbital) จะต้องบรรจุในลักษณะที่ทาให้มี
อิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุดเท่าที่จะมากได้”
การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามกฎของฮุนด์
ธาตุ เลขอะตอม
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ตามกฎของฮุนด์
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ให้สอดคล้องกับสมบัติแม่เหล็ก
Cr 24 [Ar] 4s2 3d4 [Ar] 4s1 3d5
Cu 29 [Ar] 4s2 3d9 [Ar] 4s1 3d10
Mo 42 [Kr] 5s2 4d4 [Kr] 5s1 4d5
Pd 46 [Kr] 4s2 4d8 [Kr] 4d10
Ag 47 [Kr] 4s2 4d9 [Kr] 5s1 4d10
La 57 [Xe] 4f1 6s2 [Xe] 5d1 6s2
Pt 78 [Xe] 4f14 5d8 6s2 [Xe] 4f14 5d9 6s1
Au 79 [Xe] 4f14 5d9 6s2 [Xe] 4f14 5d10 6s1
Ac 89 [Rn] 5f1 7s2 [Rn] 6d1 7s2
• อะตอมมีอิเล็กตรอนบรรจุใน
ออร์บิทัลเป็นเลขคู่ทั้งหมด จะ
ทาให้เป็นสารที่ผลัก
สนามแม่เหล็ก เรียกว่าสาร
“diamagnetic”
• อะตอมมีอิเล็กตรอนเดี่ยวใน
ออร์บิทัล จะมีอานาจดึงดูด
สนามแม่เหล็ก เรียกว่าสาร
“paramagnetic” และอานาจ
การดึงดูดจะมาก เมื่อจานวน
อิเล็กตรอนเดี่ยวมากขึ้น

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
AnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of ElectrochemistryAnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of Electrochemistry
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 

Similar to Chemographics : Atomic theory

โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemThanapol Sudha
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemAnan Malawan
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752CUPress
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 

Similar to Chemographics : Atomic theory (20)

เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
atom 4
atom 4atom 4
atom 4
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional GroupsDr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn (20)

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
AnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric MethodAnalChem : Volumetric Method
AnalChem : Volumetric Method
 

Chemographics : Atomic theory