SlideShare a Scribd company logo
1
สิริกาฬกัณณิชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๗. สิริกาฬกัณณิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๘๒)
ว่าด้วยสิริกับกาฬกัณณี
(เศรษฐีโพธิสัตว์สนทนากับกาฬกัณณีเทพธิดาว่า)
[๔๐] ใครหนอมีผิวพรรณดา ทั้งไม่น่ารัก ไม่น่าดู เธอเป็นใคร
เป็นลูกสาวของใคร ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร
(กาฬกัณณีเทพธิดากล่าวว่า)
[๔๑] ดิฉันเป็นลูกสาวของท้าววิรูปักขมหาราช เป็นคนโหดร้าย มีผิวดา
ไร้ปัญญา เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่ากาฬกัณณี ดิฉันขอท่านจงให้โอกาส
ดิฉันขออาศัยอยู่ในสานักของท่าน
(เศรษฐีโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๔๒] เธอตกลงปลงใจในชายผู้มีปกติเช่นไร มีความประพฤติเช่นไร
แม่กาฬี ฉันถามแล้ว เธอจงตอบ ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร
(กาฬกัณณีเทพธิดาได้บอกคุณของตนว่า)
[๔๓] ชายใดมักลบหลู่คุณท่าน ตีเสมอ แข่งดี ริษยา ตระหนี่ และโอ้อวด
ทาทรัพย์ที่ได้มาแล้วให้พินาศไป ดิฉันรักใคร่ชายนั้น
(กาฬกัณณีเทพธิดากล่าวต่อไปว่า)
[๔๔] ชายใดมักโกรธ ผูกโกรธ พูดส่อเสียด มักทาลายมิตรภาพ
มีวาจาเสียดแทง พูดวาจาหยาบคาย ดิฉันรักใคร่ชายนั้นยิ่งกว่าชายคนแรก
[๔๕] ชายที่ไม่รู้จักประโยชน์ของตนว่า งานนี้ควรทาวันนี้
งานนี้ควรทาพรุ่งนี้ ถูกสั่งสอนก็พาลโกรธ ซ้ายังดูหมิ่นคนที่ดีกว่าตัว
[๔๖] ชายใดมัวเมาด้วยการเล่นเป็นประจา
ทั้งยังกาจัดมิตรทั้งหมดไปเสีย ดิฉันรักใคร่ชายนั้น จะมีความสุขกับเขา
(พระโพธิสัตว์ติเตียนกาฬกัณณีเทพธิดานั้นว่า)
[๔๗] แม่กาฬี เธอจงไปจากที่นี้เสียเถิด เรื่องเช่นนี้ไม่มีในพวกเรา
เธอจงไปยังชนบท นิคม และราชธานีอื่นๆ เถิด
(กาฬกัณณีเทพธิดาได้ฟังดังนั้นไม่พอใจ จึงกล่าวว่า)
[๔๘] เรื่องนั้นแม้ดิฉันก็ทราบดีว่า เรื่องเช่นนี้ไม่มีอยู่ในพวกท่าน
แต่คนโง่ทั้งหลายที่รวบรวมทรัพย์ไว้เป็ นจานวนมาก ก็ยังมีอยู่ในโลก
ส่วนดิฉันและเทพพี่ชายของดิฉันทั้ง ๒ คน ช่วยกันผลาญทรัพย์นั้นจนหมดสิ้น
(พระโพธิสัตว์เห็นสิริเทพธิดา จึงกล่าวว่า)
[๔๙] ใครหนอมีผิวพรรณทิพย์ ยืนเรียบร้อยอยู่บนแผ่นดิน เธอเป็นใคร
เป็นลูกสาวของใคร ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร
2
(สิริเทพธิดาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า)
[๕๐] ดิฉันเป็นลูกสาวของท้าวธตรัฏฐมหาราชผู้มีสิริ ดิฉันชื่อสิริลักษมี
เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่า เป็นผู้มีปัญญาดังแผ่นดิน ดิฉันขอท่านจงให้โอกาส
ดิฉันขออาศัยอยู่ในสานักของท่าน
(เศรษฐีโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๕๑] เธอตกลงปลงใจในชายผู้มีปกติวิเช่นไร มีความประพฤติเช่นไร
แม่ลักษมี ฉันถามแล้ว เธอจงตอบ ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร
(สิริเทพธิดากล่าวว่า)
[๕๒] ชายใดชนะอันตรายทั้งปวงได้ คือ ความหนาว ความร้อน ลม
แดด เหลือบ ยุง สัตว์เลื้อยคลาน ความหิว และความกระหายได้
ทาการงานทุกอย่างติดต่อตลอดวันตลอดคืน
ไม่ทาประโยชน์ที่เป็นไปตามกาลให้เสื่อมเสียไปด้วย
ดิฉันพอใจชายนั้นและจะตกลงปลงใจกับเขา
[๕๓] ชายใดไม่มักโกรธ เป็นกัลยาณมิตร เสียสละ สมบูรณ์ด้วยศีล
ไม่โอ้อวด ซื่อตรง สงเคราะห์ มีวาจาไพเราะอ่อนหวาน ถึงจะเป็นใหญ่ก็ถ่อมตน
ดิฉันจะเป็นหญิงมีสิริอันไพบูลย์ในชายนั้น
เหมือนคลื่นที่ปรากฏแก่ผู้มองดูท้องทะเล
[๕๔] อีกอย่างหนึ่ง ชายใดสงเคราะห์บุคคล ทั้งที่เป็นมิตรหรือศัตรู
ทั้งชั้นสูง เสมอกัน หรือต่ากว่า
ทั้งที่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์หรือไม่เป็นประโยชน์ ทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ
ชายใดไม่พูดจาหยาบคายไม่ว่าในกาลไหนๆ
ดิฉันจะเป็นของชายนั้นถึงแม้จะตายแล้วหรือยังมีชีวิตอยู่ก็ตาม
[๕๕] บุคคลใดไร้ปัญญา ได้สิริที่น่าใคร่แล้ว
ลืมคุณความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาคุณความดีที่ได้กล่าวแล้วเหล่านั้น
ดิฉันเว้นบุคคลนั้นซึ่งมีสภาพร้อนรน ประพฤติไม่เสมอต้นเสมอปลาย
เหมือนคนที่มีนิสัยรักความสะอาดเว้นห่างไกลหลุมคูถ
[๕๖] บุคคลย่อมสร้างความมีโชคด้วยตนเอง
ย่อมสร้างความไม่มีโชคด้วยตนเอง
คนอื่นจะทาความมีโชคและความไม่มีโชคให้คนอื่นหาได้ไม่
สิริกาฬกัณณิชาดกที่ ๗ จบ
---------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
สิริกาฬกัณณิชาดก
ว่าด้วย สิริกับกาฬกรรณี
3
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภอนาถปิณฑิกเศรษฐี จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้
ความย่อว่า
ท่านอนาถปิณฑิกเศรษฐีนั้น จาเดิมแต่เวลาได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว
รักษาศีล ๕ ไม่มีขาด ทั้งภรรยา ทั้งบุตรธิดา ทั้งทาส
ทั้งกรรมกรผู้ทางานรับจ้างของท่านก็พากันรักษาศีลเหมือนกันหมดทุกคน.
อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายตั้งเป็ นเรื่องขึ้นในธรรมสภาว่า
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อนาถปิณฑิกเศรษฐีทั้งตนเองก็สะอาด
ทั้งบริวารก็สะอาดประพฤติธรรมอยู่.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ? เมื่อภิกษุกราบทูลว่า
ด้วยเรื่องชื่อนี้ พระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่ใช่เพียงเดี๋ยวนี้เท่านั้น
แม้ในกาลก่อน โบราณกบัณฑิตทั้งหลายก็ได้เป็นผู้สะอาดเอง
ทั้งเป็นผู้มีบริวารสะอาดด้วย ดังนี้แล้ว
ภิกษุเหล่านั้นพากันทูลขอ
จึงทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังต่อไปนี้:-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์เป็นเศรษฐี ได้ถวายทาน รักษาศีล รักษาอุโบสถ.
ฝ่ายภริยาของท่านก็รักษาศีล ๕ ถึงบุตรและธิดา
แม้ทาสกรรมกรและชายชาติทั้งหลาย ก็พากันรักษา.
ท่านจึงปรากฏว่าเป็นเศรษฐีผู้มีบริวารสะอาดทีเดียว.
อยู่มาวันหนึ่ง ท่านคิดว่า
ถ้าหากใครเป็นผู้มีบริวารสะอาดเป็นปกติจักมาหาไซร้
เราไม่ควรให้แท่นสาหรับนั่งหรือที่นอนสาหรับนอนของเราแก่เขา
เราควรให้ที่นั่งที่นอนที่ไม่เปรอะเปื้อนที่ยังไม่ได้ใช้แก่เขา. เมื่อเป็นเช่นนั้น
ท่านจึงให้เขาปูที่นั่งและที่นอนที่ยังไม่ได้ใช้ไว้ข้างหนึ่ง
ในที่สาหรับเฝ้ าปรนนิบัติตน.
สมัยนั้น ธิดา ๒ ตนเหล่านี้คือ ธิดาของท้าววิรูปักข์มหาราช
ชื่อกาลกรรณี ๑ ธิดาของท้าวธตรฐมหาราช ชื่อสิริ ๑
ในเทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา ถือของหอมและดอกไม้จานวนมาก
พากันมายังท่าน้าสระอโนดาดด้วยหมายใจว่า พวกเราจักเล่นน้าในสระอโนดาด.
ก็ในสระอโนดาดนั้น มีท่าน้าหลายท่าด้วยกัน ในจานวนท่าน้าเหล่านั้น
ที่ท่าสาหรับพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าเท่านั้นทรงสรงสนาน
ที่ท่าสาหรับปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็เฉพาะปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรงสนาน
ที่ท่าสาหรับภิกษุทั้งหลาย ก็เฉพาะภิกษุทั้งหลายพากันสรงน้า
4
ที่ท่าสาหรับดาบสทั้งหลาย ก็เฉพาะดาบสทั้งหลายอาบกัน
ที่ท่าสาหรับเทพบุตรทั้งหลายในสวรรค์ ๖ ชั้น มีชั้นจาตุมมหาราชิกาเป็นต้น
เทพบุตรทั้งหลายเท่านั้นสรงสนานกัน ที่ท่าสาหรับเทพธิดาทั้งหลาย
ก็เฉพาะเทพธิดาทั้งหลายสรงสนานกัน.
ในจานวนเทพธิดาเหล่านั้น เทพธิดาทั้ง ๒
ตนนี้ทะเลาะกันด้วยต้องการท่าน้าว่า ฉันจักอาบก่อน ฉันก่อนดังนี้.
กาลกรรณีเทพธิดาพูดว่า ฉันรักษาโลก เที่ยวตรวจดูโลก เพราะฉะนั้น
ฉันควรจะได้อาบก่อน. ฝ่ายสิริเทพธิดาพูดว่า ฉันดารงอยู่ในข้อปฏิบัติชอบ
ที่จะอานวยอิสริยยศแก่มหาราช เพราะฉะนั้น ฉันควรจะได้อาบก่อน.
พวกเขาเข้าใจว่า ท้าวมหาราชทั้ง ๔ จักรู้ว่า ในจานวนเราทั้ง ๒
นี้ใครสมควรจะอาบน้าก่อนหรือไม่สมควร.
จึงพากันไปยังสานักของท้าวมหาราชเหล่านั้น แล้วทูลถามว่า บรรดาหม่อมฉันทั้ง
๒ ใครสมควรจะอาบน้าในสระอโนดาดก่อนกัน.
ท้าวธตรัฐและท้าววิรูปักข์บอกว่า พวกเราไม่อาจจะวินิจฉัยได้
จึงได้ยกให้เป็นภาระของท้าววิรุฬหกและท้าวเวสสุวรรณ. ท่านทั้ง ๒ นั้นบอกว่า
ถึงพวกเราก็ไม่อาจวินิจฉัยได้ จักส่งไปแทบบาทมูลของท้าวสักกะ
แล้วได้ส่งเธอทั้ง ๒ ไปยังสานักของท้าวสักกะ. ท้าวสักกะทรงสดับคาของเธอทั้ง ๒
แล้ว ทรงดาริว่า เธอทั้ง ๒ นี้ก็เป็นธิดาของบริษัทของเราเหมือนกัน
เราไม่อาจวินิจฉัยคดีนี้ได้.
ครั้งนั้น ท้าวสักกะได้ตรัสว่า
ในนครพาราณสี มีเศรษฐีชื่อว่า สุจิปริวาระ ในบ้านของเขาปูอาสนะที่ไม่เปรอะเปื้
อนและที่นอนที่ไม่เปรอะเปื้อนไว้.
เทพธิดาตนใดได้นั่งหรือได้นอนบนที่นั่งที่นอนนั้น
เทพธิดาตนนั้นควรได้อาบน้าก่อน
กาลกรรณีเทพธิดาได้สดับเทวโองการแล้ว ในขณะนั้นนั่นเอง
ได้นุ่งห่มผ้าสีเขียว ลูบไล้เครื่องลูบไล้สีเขียว
ประดับเครื่องประดับแก้วมณีสีเขียวลงจากเทวโลก เหมือนหินยนต์
ได้เปล่งรัศมีลอยอยู่บนอากาศในที่ไม่ไกลที่นอน
ใกล้ประตูเป็นที่เฝ้ าปรนนิบัติแห่งปราสาทของท่านเศรษฐี
ในระหว่างมัชฌิมยามนั่นเอง.
เศรษฐีแลดูได้เห็นนาง พร้อมกับการเห็นนั่นเอง นางไม่ได้เป็ นที่รัก
ไม่ได้เป็นที่พอใจของเศรษฐีนั้นเลย. ท่านเมื่อจะเจรจากับนาง จึงได้กล่าวคาถาที่
๑ ว่า:-
ใครมีผิวดา และเขาก็ไม่น่ารักและไม่น่าทัศนา
เราจะรู้จักเจ้าได้อย่างไร? ว่าเจ้าเป็ นใคร? เป็นธิดาของใคร?
5
กาลกรรณีเทพธิดาได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า:-
ดิฉันเป็ นธิดาของท้าววิรูปักษ์มหาราช เป็นผู้โหดเหี้ยม
ดิฉันคือนางกาลีผู้ไร้ปัญญา เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่าชื่อกาลกรรณี
ท่านเป็นผู้ที่ดิฉันขอโอกาสแล้ว ขอจงให้ดิฉันขอพักอยู่ในสานักของท่าน.
พระโพธิสัตว์ ครั้นได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
เจ้าปลงใจในชายผู้มีปกติอย่างไร มีความประพฤติเสมออย่างไร?
ดูก่อนแม่กาลี เจ้าถูกฉันถามแล้ว จงบอกฉัน. พวกฉันจะพึงรู้จักเจ้าได้อย่างไร?
ลาดับนั้น นางเมื่อจะกล่าวถึงคุณของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
ชายใดลบหลู่คุณท่าน ตีตนเสมอ แข่งดี ริษยาเขา ตระหนี่และโอ้อวด
ชายใดได้ทรัพย์มาแล้วย่อมพินาศไป ชายนั้นเป็ นที่รักใคร่ของดิฉัน.
คาถานั้นมีเนื้อความว่า
ชายใดไม่รู้จักคุณที่ผู้อื่นทาแล้วแก่ตน เป็นผู้ลบหลู่คุณท่าน
เมื่อเขากล่าวถึงเหตุอะไรๆ ของตน ก็ยึดถือเป็นคู่แข่งว่า ฉันไม่รู้จักสิ่งนั้นหรือ?
เห็นอะไรที่คนเหล่าอื่นทาแล้ว ก็ทาเหตุให้เหนือขึ้นไปกว่า
ด้วยอานาจแห่งการแข่งดี เมื่อคนอื่นได้ลาภก็ไม่ยินดีด้วย ปรารถนาว่า
คนอื่นอย่ามีความเป็ นใหญ่กว่าเรา ขอความเป็นใหญ่จงเป็ นของเราคนเดียว
หวงแหนสมบัติของตนไม่ให้แก่ผู้อื่น แม้หยดน้ามันด้วยปลายหญ้า
เป็นผู้ประกอบด้วยลักษณะของฝ่ายคนเกเร ไม่ให้สิ่งของๆ ตนแก่ผู้อื่น กินของๆ
คนอื่นอย่างเดียวด้วยอุบายวิธีนั้นๆ.
ทรัพย์หรือข้าวเปลือกที่ชายใดได้มาแล้ว ย่อมพินาศไปไม่คงอยู่
คือชายใดเป็นนักเลงสุราบ้าง เป็ นนักเลงการพนันบ้าง เป็นนักเลงหญิงบ้าง
ยังทรัพย์ที่ได้มาแล้วให้พินาศไปถ่ายเดียว
ชายคนนี้นั้นผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ เป็ นที่ใคร่
คือเป็นที่รักได้แก่เป็ นที่ชอบใจของฉัน
ฉันให้คนแบบนี้ให้ตั้งอยู่ในดวงใจของฉัน.
ลาดับนั้น นางจึงได้กล่าวคาถาที่ ๕ ที่ ๖ และที่ ๗ ด้วยตนนั่นแหละว่า:-
คนมักโกรธ มักผูกโกรธ พูดส่อเสียด ทาลายความสามัคคี
มีวาจาเป็นเสี้ยนหนามหยาบคาย เขาเป็นที่รักใคร่ของดิฉันยิ่งกว่านั้นอีก.
ชายผู้ไม่เข้าใจประโยชน์ของตนว่า ทาวันนี้ พรุ่งนี้
ถูกตักเตือนอยู่ก็โกรธ ดูหมิ่นความดีของผู้อื่น.
ชายผู้ที่ถูกความคะนองรบเร้าพรากจากมิตรทั้งหมด
เป็นที่รักใคร่ของดิฉัน ดิฉันไม่มีความทุกข์ร้อนในเขา.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ เมื่อจะตาหนิเขาจึงได้กล่าวคาถาที่ ๘ ว่า :-
นางกาลีเอ๋ย เจ้าจงออกไปจากที่นี้ การทาความรักของเจ้านี้
หามีในเราไม่ เจ้าจงไปชนบทอื่น นิคม และราชธานีอื่นเถิด.
6
นางกาลกรรณีได้ฟังดังนั้นแล้ว ผ่านคานั้นไปได้
จึงกล่าวคาถาติดกันไปว่า :-
เรื่องนั้นฉันเองก็รู้ว่า เรื่องนั้นหามีในพวกท่านไม่
คนไม่มีบุญมีอยู่ในโลก เขารวบรวมทรัพย์ไว้มาก เราทั้ง ๒
คือทั้งฉันทั้งเทพผู้เป็ นพี่ชายของฉัน พากันผลาญทรัพย์นั้น.
อนึ่ง เทพธิดานั้นกล่าวว่า
ในเทวโลกพวกฉันก็มีเครื่องบริโภคที่เป็นทิพย์อยู่มาก
ท่านจะให้ที่นอนทิพย์หรือไม่ให้ก็ตาม ท่านจะมีประโยชน์อะไรเล่าสาหรับฉัน
ดังนี้แล้วหลีกไป.
ในเวลาที่กาลกรรณีเทพธิดานั้นหลีกไปแล้ว
สิริเทพธิดามีของหอมและเครื่องประเทืองผิวสีเหมือนทองคา
มีเครื่องตกแต่งทองคามาแล้วเปล่งรัศมีสีเหลืองที่ประตูซึ่งสถิตอยู่ใกล้ๆ
มีความเคารพ ได้ยืนเอาเท้าที่เสมอกันวางบนพื้นดินที่เสมอกัน.
พระมหาสัตว์ครั้นเห็นนางแล้ว จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
ใครหนอมีผิวพรรณเป็นทิพย์ ยืนเรียบร้อยอยู่ที่พื้นดิน
เราจะรู้จักเจ้าได้อย่างไร? ว่าเจ้าเป็ นใคร? เป็นธิดาของใคร?
สิริเทพธิดาได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ดิฉันเป็ นธิดาของท้าวธตรฐมหาราชผู้มีสิริ ดิฉันชื่อสิริลักษมิ์
เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่าเป็ นผู้มีปัญญากว้างขวาง ท่านเป็ นผู้ที่ดิฉันขอโอกาสแล้ว
ขอจงให้ดิฉันขอพักอยู่ในสานักของท่าน.
ต่อจากนั้น พระโพธิสัตว์จึงกล่าวคาถาว่า :-
เจ้าปลงใจในชายที่มีศีลอย่างไร มีอาจาระอย่างไร?
เจ้าเป็นผู้ที่เราถามแล้ว จงบอกเราโดยที่เราควรรู้จักเจ้า.
ชายใดครอบงาความหนาวหรือความร้อน ลม แดด เหลือบ
และสัตว์เลื้อยคลาน ทั้งความหิวและความระหายได้
ชายใดประกอบการงานทุกอย่างเนืองๆ ตลอดทั้งวันทั้งคืน
ไม่ยังประโยชน์ที่มาถึงตามกาลให้เสื่อมเสียไปด้วย ชายนั้นเป็ นที่ชอบใจของดิฉัน
และดิฉันก็ปลงใจเขาจริงๆ.
ชายใดไม่โกรธ มีมิตร มีการเสียสละ รักษาศีล ไม่โอ้อวด
เป็นคนซื่อตรง เป็ นผู้สงเคราะห์ผู้อื่น มีวาจาอ่อนหวาน มีคาพูดไพเราะ
แม้จะเป็นใหญ่ ก็มีความประพฤติถ่อมตน. ดิฉันพอใจในบุรุษนั้นเป็ นอย่างมาก
ดุจคลื่นทะเลปรากฏแก่คนที่มองดูสีน้าทะเลเหมือนมีมาก.
อีกอย่างหนึ่ง ผู้ใดให้สังคหธรรมให้เป็ นไปอยู่ในบุคคลทั้งที่เป็ นมิตร
ทั้งที่เป็นศัตรู ทั้งที่ประเสริฐที่สุด ทั้งที่เสมอกัน ทั้งที่ต่าทราม
ประพฤติประโยชน์หรือสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ทั้งในที่ลับทั้งในที่แจ้ง
7
ไม่กล่าวคาหยาบในกาลไหนๆ. ผู้นั้นตายแล้วและยังมีชีวิตอยู่ดิฉันก็คบ.
ผู้ใดได้อย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาคุณความดีเหล่านี้แล้ว
เป็นผู้มีปัญญาน้อย มัวเมาสิริอันเป็ นที่น่าใคร่
ดิฉันต้องเว้นผู้นั้นผู้มีรูปลักษณะร้อนรน ประพฤติไม่สม่าเสมอ
เหมือนคนเว้นคูถฉะนั้น
คนสร้างโชคด้วยตนเอง สร้างเคราะห์ด้วยตนเอง
ผู้อื่นจะสร้างโชคหรือเคราะห์ให้ผู้อื่นไม่ได้เลย.
พระมหาสัตว์ ครั้นกล่าวถามอย่างนี้
และได้ฟังคาตอบของสิริเทพธิดาแล้วชื่นชม จึงได้กล่าวว่า
แท่นเตียงนอนนี้เหมาะสมสาหรับเธอและที่นั่งก็เหมาะสมสาหรับเธอทีเดียว
เพราะฉะนั้น ขอเชิญนั่งบนที่นั่งและนอนบนแท่นเถิด.
นางอยู่ ณ ที่นั้นแล้วรุ่งเช้าก็ออกไปที่เทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา
ได้อาบน้าที่สระอโนดาดก่อน.
ที่นอนแม้แห่งนั้นจึงเกิดมีชื่อว่า สิริสยนะ เพราะว่านางสิริเทพธิดาใช้นอนก่อนคน
อื่น.
นี้คือวงศ์ประวัติของสิริสยนะ คือที่นอนที่เป็นมิ่งขวัญ ด้วยเหตุนี้
เขาจึงเรียกกันว่าสิริสยนะ ที่นอนที่เป็นมิ่งขวัญมาจนตราบเท่าทุกวันนี้.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
ทรงประมวลชาดกไว้ว่า
สิริเทพธิดาในครั้งนั้น ได้แก่ พระอุบลวรรณา ในบัดนี้
ส่วนสุจิปริวารเศรษฐีคือ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาสิริกาลกรรณิชาดกที่ ๗
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
maruay songtanin
 
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
maruay songtanin
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
464 จูฬกุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
๑๒ สักกปัญหสูตร มจร.pdf
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
012 นิโครธมิคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
269 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
 
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๗. สิริกาฬกัณณิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๘๒) ว่าด้วยสิริกับกาฬกัณณี (เศรษฐีโพธิสัตว์สนทนากับกาฬกัณณีเทพธิดาว่า) [๔๐] ใครหนอมีผิวพรรณดา ทั้งไม่น่ารัก ไม่น่าดู เธอเป็นใคร เป็นลูกสาวของใคร ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร (กาฬกัณณีเทพธิดากล่าวว่า) [๔๑] ดิฉันเป็นลูกสาวของท้าววิรูปักขมหาราช เป็นคนโหดร้าย มีผิวดา ไร้ปัญญา เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่ากาฬกัณณี ดิฉันขอท่านจงให้โอกาส ดิฉันขออาศัยอยู่ในสานักของท่าน (เศรษฐีโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๔๒] เธอตกลงปลงใจในชายผู้มีปกติเช่นไร มีความประพฤติเช่นไร แม่กาฬี ฉันถามแล้ว เธอจงตอบ ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร (กาฬกัณณีเทพธิดาได้บอกคุณของตนว่า) [๔๓] ชายใดมักลบหลู่คุณท่าน ตีเสมอ แข่งดี ริษยา ตระหนี่ และโอ้อวด ทาทรัพย์ที่ได้มาแล้วให้พินาศไป ดิฉันรักใคร่ชายนั้น (กาฬกัณณีเทพธิดากล่าวต่อไปว่า) [๔๔] ชายใดมักโกรธ ผูกโกรธ พูดส่อเสียด มักทาลายมิตรภาพ มีวาจาเสียดแทง พูดวาจาหยาบคาย ดิฉันรักใคร่ชายนั้นยิ่งกว่าชายคนแรก [๔๕] ชายที่ไม่รู้จักประโยชน์ของตนว่า งานนี้ควรทาวันนี้ งานนี้ควรทาพรุ่งนี้ ถูกสั่งสอนก็พาลโกรธ ซ้ายังดูหมิ่นคนที่ดีกว่าตัว [๔๖] ชายใดมัวเมาด้วยการเล่นเป็นประจา ทั้งยังกาจัดมิตรทั้งหมดไปเสีย ดิฉันรักใคร่ชายนั้น จะมีความสุขกับเขา (พระโพธิสัตว์ติเตียนกาฬกัณณีเทพธิดานั้นว่า) [๔๗] แม่กาฬี เธอจงไปจากที่นี้เสียเถิด เรื่องเช่นนี้ไม่มีในพวกเรา เธอจงไปยังชนบท นิคม และราชธานีอื่นๆ เถิด (กาฬกัณณีเทพธิดาได้ฟังดังนั้นไม่พอใจ จึงกล่าวว่า) [๔๘] เรื่องนั้นแม้ดิฉันก็ทราบดีว่า เรื่องเช่นนี้ไม่มีอยู่ในพวกท่าน แต่คนโง่ทั้งหลายที่รวบรวมทรัพย์ไว้เป็ นจานวนมาก ก็ยังมีอยู่ในโลก ส่วนดิฉันและเทพพี่ชายของดิฉันทั้ง ๒ คน ช่วยกันผลาญทรัพย์นั้นจนหมดสิ้น (พระโพธิสัตว์เห็นสิริเทพธิดา จึงกล่าวว่า) [๔๙] ใครหนอมีผิวพรรณทิพย์ ยืนเรียบร้อยอยู่บนแผ่นดิน เธอเป็นใคร เป็นลูกสาวของใคร ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร
  • 2. 2 (สิริเทพธิดาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า) [๕๐] ดิฉันเป็นลูกสาวของท้าวธตรัฏฐมหาราชผู้มีสิริ ดิฉันชื่อสิริลักษมี เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่า เป็นผู้มีปัญญาดังแผ่นดิน ดิฉันขอท่านจงให้โอกาส ดิฉันขออาศัยอยู่ในสานักของท่าน (เศรษฐีโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๕๑] เธอตกลงปลงใจในชายผู้มีปกติวิเช่นไร มีความประพฤติเช่นไร แม่ลักษมี ฉันถามแล้ว เธอจงตอบ ฉันจะรู้จักเธอได้อย่างไร (สิริเทพธิดากล่าวว่า) [๕๒] ชายใดชนะอันตรายทั้งปวงได้ คือ ความหนาว ความร้อน ลม แดด เหลือบ ยุง สัตว์เลื้อยคลาน ความหิว และความกระหายได้ ทาการงานทุกอย่างติดต่อตลอดวันตลอดคืน ไม่ทาประโยชน์ที่เป็นไปตามกาลให้เสื่อมเสียไปด้วย ดิฉันพอใจชายนั้นและจะตกลงปลงใจกับเขา [๕๓] ชายใดไม่มักโกรธ เป็นกัลยาณมิตร เสียสละ สมบูรณ์ด้วยศีล ไม่โอ้อวด ซื่อตรง สงเคราะห์ มีวาจาไพเราะอ่อนหวาน ถึงจะเป็นใหญ่ก็ถ่อมตน ดิฉันจะเป็นหญิงมีสิริอันไพบูลย์ในชายนั้น เหมือนคลื่นที่ปรากฏแก่ผู้มองดูท้องทะเล [๕๔] อีกอย่างหนึ่ง ชายใดสงเคราะห์บุคคล ทั้งที่เป็นมิตรหรือศัตรู ทั้งชั้นสูง เสมอกัน หรือต่ากว่า ทั้งที่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์หรือไม่เป็นประโยชน์ ทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ ชายใดไม่พูดจาหยาบคายไม่ว่าในกาลไหนๆ ดิฉันจะเป็นของชายนั้นถึงแม้จะตายแล้วหรือยังมีชีวิตอยู่ก็ตาม [๕๕] บุคคลใดไร้ปัญญา ได้สิริที่น่าใคร่แล้ว ลืมคุณความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาคุณความดีที่ได้กล่าวแล้วเหล่านั้น ดิฉันเว้นบุคคลนั้นซึ่งมีสภาพร้อนรน ประพฤติไม่เสมอต้นเสมอปลาย เหมือนคนที่มีนิสัยรักความสะอาดเว้นห่างไกลหลุมคูถ [๕๖] บุคคลย่อมสร้างความมีโชคด้วยตนเอง ย่อมสร้างความไม่มีโชคด้วยตนเอง คนอื่นจะทาความมีโชคและความไม่มีโชคให้คนอื่นหาได้ไม่ สิริกาฬกัณณิชาดกที่ ๗ จบ --------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา สิริกาฬกัณณิชาดก ว่าด้วย สิริกับกาฬกรรณี
  • 3. 3 พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภอนาถปิณฑิกเศรษฐี จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้ ความย่อว่า ท่านอนาถปิณฑิกเศรษฐีนั้น จาเดิมแต่เวลาได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว รักษาศีล ๕ ไม่มีขาด ทั้งภรรยา ทั้งบุตรธิดา ทั้งทาส ทั้งกรรมกรผู้ทางานรับจ้างของท่านก็พากันรักษาศีลเหมือนกันหมดทุกคน. อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายตั้งเป็ นเรื่องขึ้นในธรรมสภาว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อนาถปิณฑิกเศรษฐีทั้งตนเองก็สะอาด ทั้งบริวารก็สะอาดประพฤติธรรมอยู่. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ? เมื่อภิกษุกราบทูลว่า ด้วยเรื่องชื่อนี้ พระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่ใช่เพียงเดี๋ยวนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน โบราณกบัณฑิตทั้งหลายก็ได้เป็นผู้สะอาดเอง ทั้งเป็นผู้มีบริวารสะอาดด้วย ดังนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นพากันทูลขอ จึงทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังต่อไปนี้:- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เป็นเศรษฐี ได้ถวายทาน รักษาศีล รักษาอุโบสถ. ฝ่ายภริยาของท่านก็รักษาศีล ๕ ถึงบุตรและธิดา แม้ทาสกรรมกรและชายชาติทั้งหลาย ก็พากันรักษา. ท่านจึงปรากฏว่าเป็นเศรษฐีผู้มีบริวารสะอาดทีเดียว. อยู่มาวันหนึ่ง ท่านคิดว่า ถ้าหากใครเป็นผู้มีบริวารสะอาดเป็นปกติจักมาหาไซร้ เราไม่ควรให้แท่นสาหรับนั่งหรือที่นอนสาหรับนอนของเราแก่เขา เราควรให้ที่นั่งที่นอนที่ไม่เปรอะเปื้อนที่ยังไม่ได้ใช้แก่เขา. เมื่อเป็นเช่นนั้น ท่านจึงให้เขาปูที่นั่งและที่นอนที่ยังไม่ได้ใช้ไว้ข้างหนึ่ง ในที่สาหรับเฝ้ าปรนนิบัติตน. สมัยนั้น ธิดา ๒ ตนเหล่านี้คือ ธิดาของท้าววิรูปักข์มหาราช ชื่อกาลกรรณี ๑ ธิดาของท้าวธตรฐมหาราช ชื่อสิริ ๑ ในเทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา ถือของหอมและดอกไม้จานวนมาก พากันมายังท่าน้าสระอโนดาดด้วยหมายใจว่า พวกเราจักเล่นน้าในสระอโนดาด. ก็ในสระอโนดาดนั้น มีท่าน้าหลายท่าด้วยกัน ในจานวนท่าน้าเหล่านั้น ที่ท่าสาหรับพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าเท่านั้นทรงสรงสนาน ที่ท่าสาหรับปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็เฉพาะปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายทรงสรงสนาน ที่ท่าสาหรับภิกษุทั้งหลาย ก็เฉพาะภิกษุทั้งหลายพากันสรงน้า
  • 4. 4 ที่ท่าสาหรับดาบสทั้งหลาย ก็เฉพาะดาบสทั้งหลายอาบกัน ที่ท่าสาหรับเทพบุตรทั้งหลายในสวรรค์ ๖ ชั้น มีชั้นจาตุมมหาราชิกาเป็นต้น เทพบุตรทั้งหลายเท่านั้นสรงสนานกัน ที่ท่าสาหรับเทพธิดาทั้งหลาย ก็เฉพาะเทพธิดาทั้งหลายสรงสนานกัน. ในจานวนเทพธิดาเหล่านั้น เทพธิดาทั้ง ๒ ตนนี้ทะเลาะกันด้วยต้องการท่าน้าว่า ฉันจักอาบก่อน ฉันก่อนดังนี้. กาลกรรณีเทพธิดาพูดว่า ฉันรักษาโลก เที่ยวตรวจดูโลก เพราะฉะนั้น ฉันควรจะได้อาบก่อน. ฝ่ายสิริเทพธิดาพูดว่า ฉันดารงอยู่ในข้อปฏิบัติชอบ ที่จะอานวยอิสริยยศแก่มหาราช เพราะฉะนั้น ฉันควรจะได้อาบก่อน. พวกเขาเข้าใจว่า ท้าวมหาราชทั้ง ๔ จักรู้ว่า ในจานวนเราทั้ง ๒ นี้ใครสมควรจะอาบน้าก่อนหรือไม่สมควร. จึงพากันไปยังสานักของท้าวมหาราชเหล่านั้น แล้วทูลถามว่า บรรดาหม่อมฉันทั้ง ๒ ใครสมควรจะอาบน้าในสระอโนดาดก่อนกัน. ท้าวธตรัฐและท้าววิรูปักข์บอกว่า พวกเราไม่อาจจะวินิจฉัยได้ จึงได้ยกให้เป็นภาระของท้าววิรุฬหกและท้าวเวสสุวรรณ. ท่านทั้ง ๒ นั้นบอกว่า ถึงพวกเราก็ไม่อาจวินิจฉัยได้ จักส่งไปแทบบาทมูลของท้าวสักกะ แล้วได้ส่งเธอทั้ง ๒ ไปยังสานักของท้าวสักกะ. ท้าวสักกะทรงสดับคาของเธอทั้ง ๒ แล้ว ทรงดาริว่า เธอทั้ง ๒ นี้ก็เป็นธิดาของบริษัทของเราเหมือนกัน เราไม่อาจวินิจฉัยคดีนี้ได้. ครั้งนั้น ท้าวสักกะได้ตรัสว่า ในนครพาราณสี มีเศรษฐีชื่อว่า สุจิปริวาระ ในบ้านของเขาปูอาสนะที่ไม่เปรอะเปื้ อนและที่นอนที่ไม่เปรอะเปื้อนไว้. เทพธิดาตนใดได้นั่งหรือได้นอนบนที่นั่งที่นอนนั้น เทพธิดาตนนั้นควรได้อาบน้าก่อน กาลกรรณีเทพธิดาได้สดับเทวโองการแล้ว ในขณะนั้นนั่นเอง ได้นุ่งห่มผ้าสีเขียว ลูบไล้เครื่องลูบไล้สีเขียว ประดับเครื่องประดับแก้วมณีสีเขียวลงจากเทวโลก เหมือนหินยนต์ ได้เปล่งรัศมีลอยอยู่บนอากาศในที่ไม่ไกลที่นอน ใกล้ประตูเป็นที่เฝ้ าปรนนิบัติแห่งปราสาทของท่านเศรษฐี ในระหว่างมัชฌิมยามนั่นเอง. เศรษฐีแลดูได้เห็นนาง พร้อมกับการเห็นนั่นเอง นางไม่ได้เป็ นที่รัก ไม่ได้เป็นที่พอใจของเศรษฐีนั้นเลย. ท่านเมื่อจะเจรจากับนาง จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า:- ใครมีผิวดา และเขาก็ไม่น่ารักและไม่น่าทัศนา เราจะรู้จักเจ้าได้อย่างไร? ว่าเจ้าเป็ นใคร? เป็นธิดาของใคร?
  • 5. 5 กาลกรรณีเทพธิดาได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า:- ดิฉันเป็ นธิดาของท้าววิรูปักษ์มหาราช เป็นผู้โหดเหี้ยม ดิฉันคือนางกาลีผู้ไร้ปัญญา เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่าชื่อกาลกรรณี ท่านเป็นผู้ที่ดิฉันขอโอกาสแล้ว ขอจงให้ดิฉันขอพักอยู่ในสานักของท่าน. พระโพธิสัตว์ ครั้นได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :- เจ้าปลงใจในชายผู้มีปกติอย่างไร มีความประพฤติเสมออย่างไร? ดูก่อนแม่กาลี เจ้าถูกฉันถามแล้ว จงบอกฉัน. พวกฉันจะพึงรู้จักเจ้าได้อย่างไร? ลาดับนั้น นางเมื่อจะกล่าวถึงคุณของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :- ชายใดลบหลู่คุณท่าน ตีตนเสมอ แข่งดี ริษยาเขา ตระหนี่และโอ้อวด ชายใดได้ทรัพย์มาแล้วย่อมพินาศไป ชายนั้นเป็ นที่รักใคร่ของดิฉัน. คาถานั้นมีเนื้อความว่า ชายใดไม่รู้จักคุณที่ผู้อื่นทาแล้วแก่ตน เป็นผู้ลบหลู่คุณท่าน เมื่อเขากล่าวถึงเหตุอะไรๆ ของตน ก็ยึดถือเป็นคู่แข่งว่า ฉันไม่รู้จักสิ่งนั้นหรือ? เห็นอะไรที่คนเหล่าอื่นทาแล้ว ก็ทาเหตุให้เหนือขึ้นไปกว่า ด้วยอานาจแห่งการแข่งดี เมื่อคนอื่นได้ลาภก็ไม่ยินดีด้วย ปรารถนาว่า คนอื่นอย่ามีความเป็ นใหญ่กว่าเรา ขอความเป็นใหญ่จงเป็ นของเราคนเดียว หวงแหนสมบัติของตนไม่ให้แก่ผู้อื่น แม้หยดน้ามันด้วยปลายหญ้า เป็นผู้ประกอบด้วยลักษณะของฝ่ายคนเกเร ไม่ให้สิ่งของๆ ตนแก่ผู้อื่น กินของๆ คนอื่นอย่างเดียวด้วยอุบายวิธีนั้นๆ. ทรัพย์หรือข้าวเปลือกที่ชายใดได้มาแล้ว ย่อมพินาศไปไม่คงอยู่ คือชายใดเป็นนักเลงสุราบ้าง เป็ นนักเลงการพนันบ้าง เป็นนักเลงหญิงบ้าง ยังทรัพย์ที่ได้มาแล้วให้พินาศไปถ่ายเดียว ชายคนนี้นั้นผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ เป็ นที่ใคร่ คือเป็นที่รักได้แก่เป็ นที่ชอบใจของฉัน ฉันให้คนแบบนี้ให้ตั้งอยู่ในดวงใจของฉัน. ลาดับนั้น นางจึงได้กล่าวคาถาที่ ๕ ที่ ๖ และที่ ๗ ด้วยตนนั่นแหละว่า:- คนมักโกรธ มักผูกโกรธ พูดส่อเสียด ทาลายความสามัคคี มีวาจาเป็นเสี้ยนหนามหยาบคาย เขาเป็นที่รักใคร่ของดิฉันยิ่งกว่านั้นอีก. ชายผู้ไม่เข้าใจประโยชน์ของตนว่า ทาวันนี้ พรุ่งนี้ ถูกตักเตือนอยู่ก็โกรธ ดูหมิ่นความดีของผู้อื่น. ชายผู้ที่ถูกความคะนองรบเร้าพรากจากมิตรทั้งหมด เป็นที่รักใคร่ของดิฉัน ดิฉันไม่มีความทุกข์ร้อนในเขา. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ เมื่อจะตาหนิเขาจึงได้กล่าวคาถาที่ ๘ ว่า :- นางกาลีเอ๋ย เจ้าจงออกไปจากที่นี้ การทาความรักของเจ้านี้ หามีในเราไม่ เจ้าจงไปชนบทอื่น นิคม และราชธานีอื่นเถิด.
  • 6. 6 นางกาลกรรณีได้ฟังดังนั้นแล้ว ผ่านคานั้นไปได้ จึงกล่าวคาถาติดกันไปว่า :- เรื่องนั้นฉันเองก็รู้ว่า เรื่องนั้นหามีในพวกท่านไม่ คนไม่มีบุญมีอยู่ในโลก เขารวบรวมทรัพย์ไว้มาก เราทั้ง ๒ คือทั้งฉันทั้งเทพผู้เป็ นพี่ชายของฉัน พากันผลาญทรัพย์นั้น. อนึ่ง เทพธิดานั้นกล่าวว่า ในเทวโลกพวกฉันก็มีเครื่องบริโภคที่เป็นทิพย์อยู่มาก ท่านจะให้ที่นอนทิพย์หรือไม่ให้ก็ตาม ท่านจะมีประโยชน์อะไรเล่าสาหรับฉัน ดังนี้แล้วหลีกไป. ในเวลาที่กาลกรรณีเทพธิดานั้นหลีกไปแล้ว สิริเทพธิดามีของหอมและเครื่องประเทืองผิวสีเหมือนทองคา มีเครื่องตกแต่งทองคามาแล้วเปล่งรัศมีสีเหลืองที่ประตูซึ่งสถิตอยู่ใกล้ๆ มีความเคารพ ได้ยืนเอาเท้าที่เสมอกันวางบนพื้นดินที่เสมอกัน. พระมหาสัตว์ครั้นเห็นนางแล้ว จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :- ใครหนอมีผิวพรรณเป็นทิพย์ ยืนเรียบร้อยอยู่ที่พื้นดิน เราจะรู้จักเจ้าได้อย่างไร? ว่าเจ้าเป็ นใคร? เป็นธิดาของใคร? สิริเทพธิดาได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- ดิฉันเป็ นธิดาของท้าวธตรฐมหาราชผู้มีสิริ ดิฉันชื่อสิริลักษมิ์ เทพทั้งหลายรู้จักดิฉันว่าเป็ นผู้มีปัญญากว้างขวาง ท่านเป็ นผู้ที่ดิฉันขอโอกาสแล้ว ขอจงให้ดิฉันขอพักอยู่ในสานักของท่าน. ต่อจากนั้น พระโพธิสัตว์จึงกล่าวคาถาว่า :- เจ้าปลงใจในชายที่มีศีลอย่างไร มีอาจาระอย่างไร? เจ้าเป็นผู้ที่เราถามแล้ว จงบอกเราโดยที่เราควรรู้จักเจ้า. ชายใดครอบงาความหนาวหรือความร้อน ลม แดด เหลือบ และสัตว์เลื้อยคลาน ทั้งความหิวและความระหายได้ ชายใดประกอบการงานทุกอย่างเนืองๆ ตลอดทั้งวันทั้งคืน ไม่ยังประโยชน์ที่มาถึงตามกาลให้เสื่อมเสียไปด้วย ชายนั้นเป็ นที่ชอบใจของดิฉัน และดิฉันก็ปลงใจเขาจริงๆ. ชายใดไม่โกรธ มีมิตร มีการเสียสละ รักษาศีล ไม่โอ้อวด เป็นคนซื่อตรง เป็ นผู้สงเคราะห์ผู้อื่น มีวาจาอ่อนหวาน มีคาพูดไพเราะ แม้จะเป็นใหญ่ ก็มีความประพฤติถ่อมตน. ดิฉันพอใจในบุรุษนั้นเป็ นอย่างมาก ดุจคลื่นทะเลปรากฏแก่คนที่มองดูสีน้าทะเลเหมือนมีมาก. อีกอย่างหนึ่ง ผู้ใดให้สังคหธรรมให้เป็ นไปอยู่ในบุคคลทั้งที่เป็ นมิตร ทั้งที่เป็นศัตรู ทั้งที่ประเสริฐที่สุด ทั้งที่เสมอกัน ทั้งที่ต่าทราม ประพฤติประโยชน์หรือสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ทั้งในที่ลับทั้งในที่แจ้ง
  • 7. 7 ไม่กล่าวคาหยาบในกาลไหนๆ. ผู้นั้นตายแล้วและยังมีชีวิตอยู่ดิฉันก็คบ. ผู้ใดได้อย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาคุณความดีเหล่านี้แล้ว เป็นผู้มีปัญญาน้อย มัวเมาสิริอันเป็ นที่น่าใคร่ ดิฉันต้องเว้นผู้นั้นผู้มีรูปลักษณะร้อนรน ประพฤติไม่สม่าเสมอ เหมือนคนเว้นคูถฉะนั้น คนสร้างโชคด้วยตนเอง สร้างเคราะห์ด้วยตนเอง ผู้อื่นจะสร้างโชคหรือเคราะห์ให้ผู้อื่นไม่ได้เลย. พระมหาสัตว์ ครั้นกล่าวถามอย่างนี้ และได้ฟังคาตอบของสิริเทพธิดาแล้วชื่นชม จึงได้กล่าวว่า แท่นเตียงนอนนี้เหมาะสมสาหรับเธอและที่นั่งก็เหมาะสมสาหรับเธอทีเดียว เพราะฉะนั้น ขอเชิญนั่งบนที่นั่งและนอนบนแท่นเถิด. นางอยู่ ณ ที่นั้นแล้วรุ่งเช้าก็ออกไปที่เทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา ได้อาบน้าที่สระอโนดาดก่อน. ที่นอนแม้แห่งนั้นจึงเกิดมีชื่อว่า สิริสยนะ เพราะว่านางสิริเทพธิดาใช้นอนก่อนคน อื่น. นี้คือวงศ์ประวัติของสิริสยนะ คือที่นอนที่เป็นมิ่งขวัญ ด้วยเหตุนี้ เขาจึงเรียกกันว่าสิริสยนะ ที่นอนที่เป็นมิ่งขวัญมาจนตราบเท่าทุกวันนี้. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประมวลชาดกไว้ว่า สิริเทพธิดาในครั้งนั้น ได้แก่ พระอุบลวรรณา ในบัดนี้ ส่วนสุจิปริวารเศรษฐีคือ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาสิริกาลกรรณิชาดกที่ ๗ -----------------------------------------------------