SlideShare a Scribd company logo
1
อินทริยชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๗. อินทริยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๓)
ว่าด้วยอานาจของอินทรีย์
(สรภังคดาบสกล่าวกับนารทดาบสว่า)
[๖๐] นารทะ ผู้ใดตกอยู่ในอานาจของอินทรีย์เพราะความใคร่
ผู้นั้นละโลกทั้ง ๒ แล้วย่อมไปเกิดในอบาย แม้มีชีวิตอยู่ ร่างกายก็ซูบซีด
[๖๑] ต่อจากสุขก็เป็นทุกข์ ต่อจากทุกข์ก็เป็นสุข
เธอจะเป็นผู้ได้รับทุกข์มากกว่าสุข ดังนั้น เธอพึงหวังสุขอันประเสริฐเถิด
[๖๒] ผู้ใดในยามลาบาก ทนต่อความลาบากได้ ไม่คานึงถึงความลาบาก
ผู้นั้นเป็ นนักปราชญ์ ย่อมเสวยโยคสุขอันเป็นที่สุดแห่งความลาบากนั้น
[๖๓] เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะความปรารถนากามทั้งหลาย
อันเป็นเหตุมิใช่ประโยชน์จากประโยชน์ต่างๆ
และเพราะทอดทิ้งฌานที่ได้บาเพ็ญแล้ว
(กาฬเทวิลดาบสกล่าวกับนารทดาบสว่า)
[๖๔] ผู้ครองเรือนมีความขยัน แบ่งปันกันกิน เป็ นการดี
เมื่อได้สิ่งที่ต้องการก็ไม่ระเริง และเมื่อเสื่อมจากสิ่งที่ต้องการก็ไม่เดือดร้อน
(พระศาสดาตรัสว่า)
[๖๕] กาฬเทวิลดาบสผู้สงบได้กล่าวความเป็นบัณฑิตนั้นเพียงเท่านี้ว่า
ไม่มีสิ่งอื่นใดที่จะเลวไปกว่าผู้ตกอยู่ในอานาจ แห่งอินทรีย์ทั้งหลายนี้เลย
(มนุษย์เปรตกราบทูลพระเจ้าสีพีว่า)
[๖๖] ขอเดชะพระเจ้าสีพี บุคคลเช่นข้าพระองค์ถึงความพินาศ
เหมือนความพินาศในเงื้อมมือของพวกศัตรู ทาเหตุที่ให้เกิดยศเหล่านี้ คือ
การงาน วิชชา ความขยัน การวิวาห์ ศีล และความอ่อนโยนให้เสื่อมไป
บังเกิดเป็นมนุษย์เปรตด้วยกรรมของตน
[๖๗] ข้าพระองค์นั้นไม่มีพวกพ้อง ไร้ที่พึ่ง
เหมือนคนเสื่อมจากทรัพย์นับพัน
เหินห่างจากธรรมอันประเสริฐเหมือนคนตายแล้ว
[๖๘] ข้าพระองค์ทาคนผู้ต้องการความสุขให้ได้รับความทุกข์
จึงตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ ข้าพระองค์นั้นไม่ได้ประสบความสุขเลย
เหมือนอยู่ในกองถ่านเพลิง
อินทริยชาดกที่ ๗ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
2
อินทริยชาดก
ว่าด้วย ดี ๔ ชั้น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุถูกภรรยาเก่าประเล้าประโลม จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ได้ยินว่า ในพระนครสาวัตถี มีกุลบุตรคนหนึ่ง
ฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดาแล้ว คิดว่า
ผู้อยู่ครองเรือนไม่อาจประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว
เราจักบวชในศาสนาที่นาสัตว์ออกจากทุกข์ แล้วจักทาที่สุดแห่งทุกข์ ดังนี้แล้ว
ได้มอบสมบัติในเรือนให้แก่บุตรและภรรยา แล้วทูลขอบรรพชากะพระศาสดา.
แม้พระบรมศาสดาก็รับสั่งให้บรรพชาแก่กุลบุตรนั้น.
ครั้นบวชเป็นภิกษุแล้ว ไปบิณฑบาตกับอาจารย์และพระอุปัชฌาย์
อาสนะในเรือนแห่งตระกูลก็ดี ในโรงฉันก็ดี
ไม่ถึงภิกษุนั้นเพราะตนเป็นนวกะและมีภิกษุมากด้วยกัน ตั่งหรือแผ่นกระดาน
ย่อมถึงในที่สุดท้ายพระสังฆนวกะ แม้อาหารที่จะพึงได้
ก็ล้วนป่นเป็ นแป้ งและเป็นน้าข้าว ที่ติดอยู่ตามข้างกระบวยบ้าง เป็นข้าวยาคูบ้าง
ของเคี้ยวที่บูดที่แห้งบ้าง เป็นข้าวตังข้าวตากบ้าง ไม่พออิ่ม.
ภิกษุนั้นถือเอาอาหารที่ตนได้แล้ว ไปสานักของภรรยาเก่า
ภรรยาเก่าไหว้แล้วรับบาตรของภิกษุนั้น
เอาภัตตาหารออกจากบาตรทิ้งเสียแล้วถวายข้าวยาคูภัตสูปพยัญชนะที่ตนตกแต่ง
ไว้ดีแล้ว. ภิกษุแก่นั้นติดรสอาหารไม่สามารถจะละภรรยาเก่าได้.
ภรรยาเก่าคิดว่า เราจักทดลองภิกษุแก่นี้ ดูว่า จะติดรสอาหารหรือไม่.
อยู่มาวันหนึ่ง นางได้ให้มนุษย์ชาวชนบทอาบน้า ทาดินสีพอง นั่งอยู่ในเรือน
บังคับคนใช้อื่นอีก ๒-๓ คน
ให้นาน้าและข้าวมาให้มนุษย์ชนบทนั้นคนละนิดละหน่อย
แล้วก็พากันนั่งเคี้ยวกินอยู่.
นางได้ให้คนใช้ไปจับโคเข้าเทียมเกวียนไว้เล่มหนึ่งที่ประตูเรือน
ส่วนตัวเองก็หลบไปนั่งทอดขนม อยู่ที่ห้องหลังเรือน.
ลาดับนั้น ภิกษุแก่มายืนอยู่ที่ประตู. ชายแก่คนหนึ่งเห็นภิกษุนั้น
กล่าวว่า แน่ะแม่เจ้า พระเถระองค์ ๑ มายืนอยู่ที่ประตู. นางตอบไปว่า
ท่านช่วยไหว้นิมนต์ให้ท่านไปข้างหน้าเถิด. ชายแก่กล่าวหลายครั้งว่า
นิมนต์ไปข้างหน้าเถิด เจ้าข้า. ก็ยังเห็นท่านยืนเฉยอยู่ จึงได้บอกกะภรรยาเก่าว่า
แน่ะแม่เจ้า พระเถระไม่ยอมไป. ภรรยาเก่าไปเลิกม่านมองดู กล่าวว่า อ้อ
พระเถระพ่อของเด็กเรา จึงออกไปไหว้
แล้วรับบาตรนิมนต์ให้เข้าไปในเรือนแล้วให้ฉัน ครั้นฉันเสร็จ นางกล่าวว่า
พระผู้เป็นเจ้าจงปรินิพพานอยู่ในที่นี้แหละ ตลอดกาลเท่านี้
3
ดิฉันมิได้ยึดถือตระกูลอื่นเลย ก็เรือนที่ปราศจากสามี
จะดารงการครองเรือนอยู่ด้วยดีไม่ได้. ดิฉันจะยึดถือตระกูลอื่นไปอยู่ชนบทที่ไกล
ขอพระผู้เป็นเจ้าอย่าได้ประมาท ถ้าดิฉันมีโทษอยู่ไซร้
ขอได้โปรดอดโทษนั้นเสียเถิด. หัวใจของภิกษุแก่ได้เป็นเหมือนถูกฉีกออก.
ลาดับนั้น ภิกษุแก่ได้กล่าวกะภรรยาเก่าว่า เราไม่อาจจะละเจ้าไปได้
เจ้าอย่าไปเลย ฉันจักสึกละ เจ้าจงส่งผ้าสาฎกไปให้ฉันที่โน้น เราไปมอบบาตรจีวร
แล้วจักมา. นางรับคาแล้ว. ภิกษุแก่ไปวิหาร ให้อาจารย์อุปัชฌาย์รับบาตรจีวร
เมื่ออาจารย์และอุปัชฌาย์ถามว่า อาวุโส เหตุไรเธอจึงทาอย่างนี้ จึงตอบว่า
กระผมไม่อาจละภรรยาเก่าได้ กระผมจักสึก. ลาดับนั้น
อาจารย์และอุปัชฌาย์จึงนาภิกษุนั้นผู้ไม่ปรารถนาจะบวชอยู่
ไปสู่สานักพระศาสดา.
เมื่อพระศาสดาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เธอนาเอาภิกษุผู้ไม่ปรารถนาจะบวชอยู่นี้ มาทาไม? จึงกราบทูลว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุนี้กระสันอยากจะสึก พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น
พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ได้ยินว่า เธอกระสันจะสึก จริงหรือ.
เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริง พระเจ้าข้า. ตรัสถามว่า ใครทาให้เธอกระสัน.
เมื่อภิกษุกราบทูลว่า ภรรยาเก่า พระเจ้าข้า.
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น
ที่หญิงนั้นทาความพินาศให้แก่เธอ แม้ในกาลก่อน เธอก็เสื่อมจากฌานสี่
ถึงความทุกข์ใหญ่ เพราะอาศัยหญิงนั้น แต่ได้อาศัยเรา จึงพ้นจากทุกข์
กลับได้ฌานที่เสื่อมเสียไปแล้ว ดังนี้แล้ว
ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์อาศัยปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัตนั้น
เกิดในครรภ์นางพราหมณีภรรยาปุโรหิตนั้น.
ในวันที่พระโพธิสัตว์เกิด บรรดาอาวุธที่มีอยู่ทั่วพระนครลุกโพลงขึ้น
เพราะเหตุนั้น ญาติทั้งหลายจึงตั้งชื่อพระโพธิสัตว์ว่า โชติปาละ.
โชติปาลกุมารนั้น ครั้นเจริญวัยแล้ว
เรียนศิลปะทุกอย่างในเมืองตักกสิลา แล้วกลับมาแสดงศิลปะแก่พระราชา.
ต่อมาได้ละอิสริยยศเสียไม่ให้ใครๆ รู้ หนีออกทางอัคคทวาร เข้าป่าบวชเป็นฤๅษี
อยู่ในอาศรม ป่าไม้มะขวิดที่ท้าวสักกเทวราชเนรมิตรถวาย
ทาฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว. พระฤๅษีหลายร้อยห้อมล้อมเป็นบริวาร
พระโชติปาลฤๅษีผู้อยู่ที่อาศรมนั้น.
อาศรมนั้นได้เป็ นมหาสมาคม มีลูกศิษย์ชั้นหัวหน้า ๗ องค์ องค์ที่ ๑
4
ชื่อว่า สาลิสสรฤๅษี ได้ออกจากอาศรมป่าไม้มะขวิด ไปอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้าสาโตทกา
ในสุรัฏฐชนบท มีฤๅษีหลายพันองค์เป็นบริวาร.
องค์ที่ ๒ ชื่อ เมณฑิสสรฤๅษี ไปอาศัยนิคมกลัมพมูลกะ
อยู่ในแว่นแคว้นของพระเจ้าปโชตกราช มีฤๅษีหลายพันองค์เป็นบริวาร.
องค์ที่ ๓ ชื่อ บรรพตฤๅษี ไปอาศัยอฏวีชนบทแห่งหนึ่งอยู่
มีฤๅษีหลายพันเป็นบริวาร.
องค์ที่ ๔ ชื่อ กาฬเทวิลฤๅษี ไปอาศัยโขดศิลาแห่งหนึ่งอยู่ ณ
ทักษิณาบท ในแคว้นอวันตี มีฤๅษีหลายพันเป็นบริวาร.
องค์ที่ ๕ ชื่อ กิสวัจฉฤๅษี ไปอาศัยนครกุมภวดีของเจ้าทัณฑกี
อยู่องค์เดียวในพระราชอุทยาน.
องค์ที่ ๖ พระดาบสอนุสิสสะ เป็นอุปัฏฐากอยู่กับพระโพธิสัตว์.
องค์ที่ ๗ ชื่อว่า นารทฤๅษี เป็นน้องชายกาฬเทวิลฤๅษี
ไปอยู่ในถ้าที่เร้นแห่งหนึ่ง ในระหว่างข่ายภูเขาอัญชนคิรี ในป่ามัชฌิมประเทศ
แต่องค์เดียว.
ก็ ณ ที่ใกล้ๆ ภูเขาอัญชนคิรี มีนิคมแห่ง ๑ มีมนุษย์อยู่มากด้วยกัน.
ในระหว่างภูเขาอัญชนคิรีกับนิคมมีแม่น้าใหญ่
พวกมนุษย์พากันไปประชุมที่แม่น้านั้นมาก. พวกนางวรรณทาสีรูปงามทั้งหลาย
เมื่อเล้าโลมผู้ชาย ก็พากันไปนั่งที่ฝั่งแม่น้า.
พระนารทดาบสเห็นนาง ๑ เข้าในบรรดานางเหล่านั้น มีจิตปฏิพัทธ์
จึงเสื่อมจากฌาน ซูบซีด ตกอยู่ในอานาจกิเลส นอนอดอาหารอยู่ ๗ วัน.
ลาดับนั้น กาฬเทวิลดาบสผู้เป็นพี่ชายของนารทดาบสใคร่ครวญดู
ก็รู้เหตุนั้น จึงเหาะมาแล้วเข้าไปในถ้าที่เร้น.
นารทดาบสเห็นพระกาฬเทวิลดาบส จึงถามว่า ท่านมาทาไม?
กาฬเทวิลดาบสตอบว่า ท่านไม่สบาย เรามาเพื่อรักษาท่าน.
นารทดาบสจึงพูดข่มกาฬเทวิลดาบส ด้วยมุสาวาทว่า
ท่านพูดไม่ได้เรื่อง กล่าวคาเหลาะแหละ เปล่าๆ. กาฬเทวิลดาบสคิดว่า
เราไม่ควรฟังนารทดาบส จึงไปนาดาบส ๓ องค์มา คือสาลิสสรดาบส
เมณฑิสสรดาบส บรรพติสสรดาบส.
นารทดาบสก็กล่าวข่มดาบสเหล่านั้น ด้วยมุสาวาท.
กาฬเทวิลดาบสคิดว่า เราจักนาสรภังคดาบสมา
จึงเหาะไปเชิญสรภังคดาบสมา. ท่านสรภังคดาบส
ครั้นมาเห็นแล้วก็รู้ว่าตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ จึงถามว่า ดูก่อนนารทะ
เธอตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ กระมัง.
เมื่อนารทดาบสพอได้ฟังถ้อยคาดังนั้น ก็ลุกขึ้นถวายอภิวาทกล่าวว่า
ถูกแล้ว ท่านอาจารย์.
5
ท่านสรภังคดาบสจึงกล่าวว่า ดูก่อนนารทะ ธรรมดา
ผู้ที่ตกอยู่ในอานาจอินทรีย์ ในอัตภาพนี้ ก็ซูบซีดเสวยทุกข์
ในอัตภาพที่สองย่อมเกิดในนรก ดังนี้แล้ว
กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า :-
ดูก่อนนารทะ บุรุษใดตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ เพราะกาม
บุรุษนั้นละโลกทั้ง ๒ ไปแล้ว ย่อมเกิดในอบายมีนรกเป็นต้น แม้เมื่อยังเป็นอยู่
ก็ย่อมซูบซีดไป.
นารทดาบสได้ฟังดังนั้น จึงถามว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์
ขึ้นชื่อว่าการเสพกาม ย่อมเป็ นสุข แต่ท่านมากล่าวความสุขเช่นนี้ว่าเป็ นทุกข์ ดังนี้
หมายถึงอะไร?
ลาดับนั้น ท่านสรภังคดาบสได้กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น เธอจงฟัง
แล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ความว่า :-
ทุกข์เกิดในลาดับแห่งสุข สุขเกิดในลาดับแห่งทุกข์
ส่วนเธอนั้นประสบทุกข์มากกว่าสุข เธอจงหวังความสุขอันประเสริฐเถิด.
ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้
ดูก่อนนารทะ สัตว์เหล่านี้ทากาละลงในสมัยที่เสพกาม
ย่อมเกิดในนรกอันเป็นสถานที่มีทุกข์โดยส่วนเดียว.
ส่วนผู้รักษาศีลและเจริญวิปัสสนา ย่อมลาบาก เขาเหล่านั้นรักษาศีล
ด้วยความลาบากแล้ว ย่อมกลับได้ความสุข ดังกล่าวแล้ว ด้วยผลแห่งศีล.
อาศัยเหตุนี้ เราจึงกล่าวอย่างนี้.
นารทดาบสกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ทุกข์นี้นั้น
ข้าพเจ้าไม่อาจอดกลั้นได้.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กล่าวกะนารทดาบสว่า ดูก่อนนารทะ
ธรรมดาทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้ว บุคคลพึงอดกลั้นได้ ดังนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า :-
ในเวลาเกิดความลาบาก บุคคลใดอดทนความลาบากได้ บุคคลนั้น
ย่อมไม่เป็นไปตามความลาบาก บุคคลนั้นเป็นนักปราชญ์ ย่อมบรรลุสุข
ปราศจากเครื่องประกอบ อันเป็นที่สุดแห่งความลาบาก.
ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ว่า
ดูก่อนนารทะ บุคคลใด ในกาลเมื่อความลาบาก
คือทุกข์อันเป็ นไปทางกายและทางจิตเกิดขึ้นแล้ว เป็ นผู้ไม่ประมาท
หาอุบายกาจัดความลาบากนั้นเสียได้ อดกลั้นต่อความลาบากได้
ชื่อว่าไม่เป็นไปตามความลาบาก คือไม่เป็นไปในอานาจความลาบากนั้น
ใช้อุบายนั้นๆ ครอบงาความลาบาก คือทาความลาบากนั้นให้หมดไปได้
บุคคลนั้นเป็นนักปราชญ์ บรรลุความสุขที่ปราศจากอามิส
6
คือสุขที่มีในที่สุดแห่งความลาบาก หรือว่าเป็นผู้ไม่ลาบาก ย่อมประสบ
คือบรรลุถึงซึ่งความสุขที่ปราศจากโยคะ ซึ่งเป็ นที่สุดของความลาบากนั้น.
นารทดาบสกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ขึ้นชื่อว่ากามสุขเป็ นสุขสูงสุด
ข้าพเจ้าไม่อาจละกามสุขนั้นได้.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์จึงกล่าวกะนารทดาบสว่า ดูก่อนนารทะ
ขึ้นชื่อว่าธรรม บุคคลไม่ควรให้พินาศด้วยเหตุไรๆ ก็ตาม ดังนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ความว่า :-
เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะปรารถนากามทั้งหลาย
เพราะเหตุใช่ประโยชน์ เพราะเหตุเป็นประโยชน์
ถึงเธอจะทาสุขในฌานที่สาเร็จแล้วให้นิราศไป ก็ไม่ควรเคลื่อนจากธรรมเลย.
ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ว่า
ดูก่อนนารทะ เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม
เพราะปรารถนาวัตถุกามเท่านั้นเลย คือเมื่อสิ่งมิใช่ประโยชน์อย่างหนึ่งเกิดขึ้น
ประสงค์จะกาจัดสิ่งมิใช่ประโยชน์นั้น ก็ไม่ควรเคลื่อนจากธรรม
เพราะมุ่งประโยชน์ คือเพราะประโยชน์อันเป็นต้นเหตุ.
อธิบายว่า ก็เธอไม่สมควรเคลื่อนจากธรรม เพราะเหตุอันเป็นประโยช
น์อย่างนี้ว่า ประโยชน์อย่างโน้นจะเกิดแก่เรา
คือถึงเธอจะทาฌานสุขที่ทาจนสาเร็จแล้วให้นิราศไป คือเสื่อมสิ้นไป
ก็ยังไม่สมควรเคลื่อนเสียจากธรรม.
เมื่อสรภังคดาบสแสดงธรรมด้วยคาถา ๔ คาถาอย่างนี้แล้ว
กาฬเทวิลดาบส เมื่อจะกล่าวสอนน้องชายของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๕
ความว่า :-
ความขยันของคฤหบดี ผู้อยู่ครองเรือน ดีชั้น ๑
การแบ่งปันโภคทรัพย์ให้แก่สมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในธรรมแล้วบริโภ
คด้วยตนเอง ดีชั้น ๒
เมื่อได้ประโยชน์ ไม่ระเริงใจด้วยความมัวเมา ดีชั้น ๓
เมื่อเวลาเสื่อมประโยชน์ ไม่มีความลาบากใจ ดีชั้น ๔.
ดูก่อนนารทะ เพราะเหตุนั้น เธออย่าเศร้าโศกไปเลยว่า
ฌานของเราเสื่อมไปแล้ว ถ้าเธอไม่ตกอยู่ในอานาจของอินทรีย์
แม้ฌานของเธอที่เสื่อมแล้ว ก็จักกลับคืนเป็ นปกติเหมือนเดิม.
พระศาสดาผู้ตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง
ทรงทราบความที่กาฬเทวิลดาบสกล่าวสอนนารทดาบสนั้น ตรัสพระคาถาที่ ๖
ความว่า :-
เทวิลดาบสผู้สงบระงับ ได้พร่าสอนความเป็นบัณฑิตกะนารทดาบสนั้น
ด้วยคามีประมาณเท่านี้ว่า บุคคลผู้เลวกว่าผู้ที่ตกอยู่ในอานาจอินทรีย์ ไม่มีเลย.
7
พระคาถานั้นมีอรรถาธิบายว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เทวิลดาบสผู้สงบระงับพร่าสอนความเป็ นบัณฑิตกะนารทดาบสนั้น
ด้วยคาเท่านี้ว่า ก็ผู้ใดตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ด้วยสามารถแห่งกิเลส
คนอื่นที่จะเลวไปกว่าผู้นั้น มิได้มีสักนิดเลย.
ลาดับนั้น สรภังคศาสดาเรียกนารทดาบสนั้นมา กล่าวว่า ดูก่อนนารทะ
เธอจะฟังคานี้ก่อน ผู้ใดไม่ทาสิ่งที่ควรจะพึงทาก่อน ผู้นั้นย่อมเศร้าโศกร่าไร
เหมือนมาณพที่เที่ยวไปในป่าฉะนั้น ดังนี้แล้ว ได้นาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก
ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล ในกาสีนิคมตาบลหนึ่ง มีพราหมณ์มาณพคนหนึ่งรูปงาม
สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง มีกาลังเท่าช้างสาร.
พราหมณ์มาณพนั้นคิดว่า ประโยชน์อะไรที่เราจะทากสิกรรมเป็นต้น
เลี้ยงมารดา ประโยชน์อะไรด้วยบุตรภรรยา ประโยชน์อะไรด้วยบุญมีทานเป็นต้น
ที่เราทาไว้. เราจักไม่เลี้ยงดูใครๆ จักไม่ทาบุญอะไรๆ จักเข้าป่า ฆ่าเนื้อต่างๆ
เลี้ยงชีวิต ดังนี้แล้ว จึงผูกสอดอาวุธ ๕ ชนิด มุ่งไปสู่ป่าหิมพานต์ ฆ่าเนื้อต่างๆ กิน.
วันหนึ่ง ไปถึงเวิ้งภูเขาใหญ่ มีภูเขาห้อมล้อมรอบใกล้ฝั่งวิธินีนที
ภายในหิมวันตประเทศ ฆ่าเนื้อแล้วกินเนื้อที่ย่างในถ่านเพลิงอยู่ ณ ที่นั้น.
มาณพนั้นคิดว่า เราจักมีเรี่ยวแรงอยู่เสมอไปไม่ได้ เวลาทุพพลภาพ
เราจักไม่อาจเที่ยวไปในป่า บัดนี้ เราจักต้อนเนื้อนานาชนิดเข้าเวิ้งภูเขาแล้ว
ทาประตูปิดไว้. เมื่อเข้าไปป่าไม่ได้ เราจักได้ฆ่าเนื้อกินตามชอบใจ คิดดังนี้แล้ว
เขาก็ทาตามนั้น.
ครั้นกาลล่วงไป กรรมของเขาถึงที่สุด ให้ผลเป็นทิฏฐธรรมเวทนีย์
ทันตาเห็น คือมือเท้าของตนใช้ไม่ได้ เขาไม่อาจเดินและพลิกไปมาได้
กินของเคี้ยวของบริโภคอะไรๆ ไม่ได้ น้าก็ดื่มไม่ได้ ร่างกายเหี่ยวแห้ง
เป็นมนุษย์เปรต ร่างกายแตกปริเป็นร่องริ้ว เหมือนแผ่นดินแตกระแหง
ในฤดูร้อน ฉะนั้น. เขามีรูปร่างทรวดทรง น่าเกลียดน่ากลัว เสวยทุกข์ใหญ่หลวง.
เมื่อเวลาล่วงผ่านไปนานด้วยอาการอย่างนี้
พระเจ้าสีวิราชในสีวิรัฐทรงพระดาริว่า เราจักเสวยเนื้อย่างในป่า
จึงมอบราชสมบัติให้อามาตย์ทั้งหลายดูแลแทน
พระองค์เหน็บอาวุธห้าอย่างเสด็จเข้าป่า ฆ่าเนื้อ เสวยเนื้อ
เรื่อยมาจนลุถึงประเทศนั้น โดยลาดับ ทอดพระเนตรเห็นบุรุษนั้นตกพระทัย
ครั้นดารงพระสติได้ จึงตรัสถามว่า พ่อมหาจาเริญ ท่านเป็นใคร?
เขาตอบว่า นาย ข้าพเจ้าเป็นมนุษย์เปรต เสวยผลกรรมที่ตนทาไว้
ก็ท่านเล่าเป็นใคร?
เรา คือพระเจ้าสีวิราช
8
พระองค์เสด็จมาที่นี้ เพื่ออะไร?
เพื่อเสวยเนื้อมฤค.
ลาดับนั้น มาณพนั้นจึงกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า
แม้ข้าพระองค์ก็มาด้วยเหตุนี้แหละ จึงเป็ นมนุษย์เปรต
แล้วทูลเรื่องทั้งหมดโดยพิสดาร.
เมื่อจะกราบทูลความที่ตนเสวยทุกข์แด่พระราชา ได้กล่าวคาถาที่เหลือ
ความว่า :-
ข้าแต่พระเจ้าสีวิราช พระองค์ เกือบจะถึงความพินาศ
อยู่ในเงื้อมมือของศัตรูทั้งหลาย เทียว เหมือนข้าพระองค์ไม่กระทากรรม
ที่ควรกระทา ไม่ศึกษาศิลปวิทยา ไม่ทาความขวนขวาย เพื่อให้เกิดโภคทรัพย์
ไม่ทาอาวาหวิวาหะ ไม่รักษาศีล ไม่กล่าววาจาอ่อนหวาน ทายศเหล่านี้ให้เสื่อมไป
จึงมาบังเกิดเป็ นเปรต เพราะกรรมของตน.
ข้าพระองค์นั้นปฏิบัติชอบแล้ว พึงยังโภคะให้เกิดขึ้น
เหมือนบุรุษชนะแล้วพันคน ไม่มีพวกพ้องที่พึ่งอาศัย
ล่วงเสียจากอริยธรรมมีอาการเหมือนเปรต ฉะนั้น.
ข้าพระองค์ทาสัตว์ทั้งหลาย ผู้ใคร่ต่อความสุข ให้ได้รับความทุกข์
จึงได้มาถึง ส่วนอันนี้. ข้าพระองค์นั้นดารงอยู่
เหมือนบุคคลอันกองถ่านไฟล้อมรอบด้าน ย่อมไม่ได้ประสบความสุขเลย.
ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้
ข้าแต่มหาราชเจ้า
ข้าพระองค์ไม่กระทากรรมที่ควรกระทาอันเป็นเหตุให้ถึงอิสริยยศในโลกนี้
ไม่ศึกษาศิลปวิทยา ไม่ขวนขวายยังโภคะให้เกิดโดยอุบาย ไม่ทาอาวาหวิวาหะ
ไม่รักษาศีล ไม่คบกัลยาณมิตร ผู้สามารถห้ามไม่ให้ทาชั่ว
ยังโลกธรรมอันถึงการนับว่ายศ เพราะเป็ นเหตุให้ได้ยศเหล่านี้
คือมีประมาณเท่านี้ ให้เสื่อมเสียไป คือละทิ้งเสีย
เข้าไปสู่ป่านี้จนเกิดเป็นมนุษย์เปรตในบัดนี้ ด้วยบาปกรรม อันตนทาไว้เอง.
ก็มาณพนั้น ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว กราบทูลต่อไปว่า
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้าพระองค์ประสงค์ความสุข
แต่ทาผู้อื่นให้ได้รับความทุกข์ จึงเป็ นมนุษย์เปรตในปัจจุบันทันตาเห็น
เพราะฉะนั้น ขอพระองค์อย่าทรงทากรรมชั่วเลย
จงเสด็จไปพระนครของพระองค์ ทรงบาเพ็ญบุญมีให้ทานเป็นต้นเถิด.
พระเจ้าสีวิราชได้ทรงกระทาตามนั้น ทรงบาเพ็ญทางไปสู่สวรรค์.
สรภังคศาสดานาเรื่องนี้มาแสดงให้ดาบสเข้าใจแจ่มแจ้งเป็ นอันดี.
ดาบสนั้นได้ความสลดใจ เพราะถ้อยคาของสรภังคศาสดา จึงไหว้ ขอขมาโทษ
แล้วทากสิณบริกรรม ทาฌานที่เสื่อมแล้ว ให้กลับคืนเป็นปกติ.
9
สรภังคดาบสไม่ยอมให้นารทดาบสอยู่ที่ที่นั้น พาไปยังอาศรมของตน.
พระศาสดา
ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจจะ เวลาจบสัจจะ
ภิกษุผู้กระสันดารงอยู่ในโสดาปัตติผล.
พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า
นารทดาบสในครั้งนั้น ได้เป็น ภิกษุผู้กระสัน
สาลิสสรดาบสได้เป็น พระสารีบุตร
เมณฑิสสรดาบสได้เป็น พระกัสสปะ
ปัพพตดาบสได้เป็น พระอนุรุทธะ
กาฬเทวิลดาบสได้เป็น พระกัจจายนะ
อนุสิสสะดาบสได้เป็น พระอานนท์
กิสวัจฉดาบสได้เป็น พระโมคคัลลานะ
ส่วนสรภังคดาบส คือ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอินทริยชาดกที่ ๗
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 423 อินทริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
maruay songtanin
 
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
maruay songtanin
 
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tongsamut vorasan
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 

Similar to 423 อินทริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
 
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๐. รัชชุมาลาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 

423 อินทริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อินทริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๗. อินทริยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๓) ว่าด้วยอานาจของอินทรีย์ (สรภังคดาบสกล่าวกับนารทดาบสว่า) [๖๐] นารทะ ผู้ใดตกอยู่ในอานาจของอินทรีย์เพราะความใคร่ ผู้นั้นละโลกทั้ง ๒ แล้วย่อมไปเกิดในอบาย แม้มีชีวิตอยู่ ร่างกายก็ซูบซีด [๖๑] ต่อจากสุขก็เป็นทุกข์ ต่อจากทุกข์ก็เป็นสุข เธอจะเป็นผู้ได้รับทุกข์มากกว่าสุข ดังนั้น เธอพึงหวังสุขอันประเสริฐเถิด [๖๒] ผู้ใดในยามลาบาก ทนต่อความลาบากได้ ไม่คานึงถึงความลาบาก ผู้นั้นเป็ นนักปราชญ์ ย่อมเสวยโยคสุขอันเป็นที่สุดแห่งความลาบากนั้น [๖๓] เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะความปรารถนากามทั้งหลาย อันเป็นเหตุมิใช่ประโยชน์จากประโยชน์ต่างๆ และเพราะทอดทิ้งฌานที่ได้บาเพ็ญแล้ว (กาฬเทวิลดาบสกล่าวกับนารทดาบสว่า) [๖๔] ผู้ครองเรือนมีความขยัน แบ่งปันกันกิน เป็ นการดี เมื่อได้สิ่งที่ต้องการก็ไม่ระเริง และเมื่อเสื่อมจากสิ่งที่ต้องการก็ไม่เดือดร้อน (พระศาสดาตรัสว่า) [๖๕] กาฬเทวิลดาบสผู้สงบได้กล่าวความเป็นบัณฑิตนั้นเพียงเท่านี้ว่า ไม่มีสิ่งอื่นใดที่จะเลวไปกว่าผู้ตกอยู่ในอานาจ แห่งอินทรีย์ทั้งหลายนี้เลย (มนุษย์เปรตกราบทูลพระเจ้าสีพีว่า) [๖๖] ขอเดชะพระเจ้าสีพี บุคคลเช่นข้าพระองค์ถึงความพินาศ เหมือนความพินาศในเงื้อมมือของพวกศัตรู ทาเหตุที่ให้เกิดยศเหล่านี้ คือ การงาน วิชชา ความขยัน การวิวาห์ ศีล และความอ่อนโยนให้เสื่อมไป บังเกิดเป็นมนุษย์เปรตด้วยกรรมของตน [๖๗] ข้าพระองค์นั้นไม่มีพวกพ้อง ไร้ที่พึ่ง เหมือนคนเสื่อมจากทรัพย์นับพัน เหินห่างจากธรรมอันประเสริฐเหมือนคนตายแล้ว [๖๘] ข้าพระองค์ทาคนผู้ต้องการความสุขให้ได้รับความทุกข์ จึงตกอยู่ในสภาพเช่นนี้ ข้าพระองค์นั้นไม่ได้ประสบความสุขเลย เหมือนอยู่ในกองถ่านเพลิง อินทริยชาดกที่ ๗ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
  • 2. 2 อินทริยชาดก ว่าด้วย ดี ๔ ชั้น พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุถูกภรรยาเก่าประเล้าประโลม จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ได้ยินว่า ในพระนครสาวัตถี มีกุลบุตรคนหนึ่ง ฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดาแล้ว คิดว่า ผู้อยู่ครองเรือนไม่อาจประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว เราจักบวชในศาสนาที่นาสัตว์ออกจากทุกข์ แล้วจักทาที่สุดแห่งทุกข์ ดังนี้แล้ว ได้มอบสมบัติในเรือนให้แก่บุตรและภรรยา แล้วทูลขอบรรพชากะพระศาสดา. แม้พระบรมศาสดาก็รับสั่งให้บรรพชาแก่กุลบุตรนั้น. ครั้นบวชเป็นภิกษุแล้ว ไปบิณฑบาตกับอาจารย์และพระอุปัชฌาย์ อาสนะในเรือนแห่งตระกูลก็ดี ในโรงฉันก็ดี ไม่ถึงภิกษุนั้นเพราะตนเป็นนวกะและมีภิกษุมากด้วยกัน ตั่งหรือแผ่นกระดาน ย่อมถึงในที่สุดท้ายพระสังฆนวกะ แม้อาหารที่จะพึงได้ ก็ล้วนป่นเป็ นแป้ งและเป็นน้าข้าว ที่ติดอยู่ตามข้างกระบวยบ้าง เป็นข้าวยาคูบ้าง ของเคี้ยวที่บูดที่แห้งบ้าง เป็นข้าวตังข้าวตากบ้าง ไม่พออิ่ม. ภิกษุนั้นถือเอาอาหารที่ตนได้แล้ว ไปสานักของภรรยาเก่า ภรรยาเก่าไหว้แล้วรับบาตรของภิกษุนั้น เอาภัตตาหารออกจากบาตรทิ้งเสียแล้วถวายข้าวยาคูภัตสูปพยัญชนะที่ตนตกแต่ง ไว้ดีแล้ว. ภิกษุแก่นั้นติดรสอาหารไม่สามารถจะละภรรยาเก่าได้. ภรรยาเก่าคิดว่า เราจักทดลองภิกษุแก่นี้ ดูว่า จะติดรสอาหารหรือไม่. อยู่มาวันหนึ่ง นางได้ให้มนุษย์ชาวชนบทอาบน้า ทาดินสีพอง นั่งอยู่ในเรือน บังคับคนใช้อื่นอีก ๒-๓ คน ให้นาน้าและข้าวมาให้มนุษย์ชนบทนั้นคนละนิดละหน่อย แล้วก็พากันนั่งเคี้ยวกินอยู่. นางได้ให้คนใช้ไปจับโคเข้าเทียมเกวียนไว้เล่มหนึ่งที่ประตูเรือน ส่วนตัวเองก็หลบไปนั่งทอดขนม อยู่ที่ห้องหลังเรือน. ลาดับนั้น ภิกษุแก่มายืนอยู่ที่ประตู. ชายแก่คนหนึ่งเห็นภิกษุนั้น กล่าวว่า แน่ะแม่เจ้า พระเถระองค์ ๑ มายืนอยู่ที่ประตู. นางตอบไปว่า ท่านช่วยไหว้นิมนต์ให้ท่านไปข้างหน้าเถิด. ชายแก่กล่าวหลายครั้งว่า นิมนต์ไปข้างหน้าเถิด เจ้าข้า. ก็ยังเห็นท่านยืนเฉยอยู่ จึงได้บอกกะภรรยาเก่าว่า แน่ะแม่เจ้า พระเถระไม่ยอมไป. ภรรยาเก่าไปเลิกม่านมองดู กล่าวว่า อ้อ พระเถระพ่อของเด็กเรา จึงออกไปไหว้ แล้วรับบาตรนิมนต์ให้เข้าไปในเรือนแล้วให้ฉัน ครั้นฉันเสร็จ นางกล่าวว่า พระผู้เป็นเจ้าจงปรินิพพานอยู่ในที่นี้แหละ ตลอดกาลเท่านี้
  • 3. 3 ดิฉันมิได้ยึดถือตระกูลอื่นเลย ก็เรือนที่ปราศจากสามี จะดารงการครองเรือนอยู่ด้วยดีไม่ได้. ดิฉันจะยึดถือตระกูลอื่นไปอยู่ชนบทที่ไกล ขอพระผู้เป็นเจ้าอย่าได้ประมาท ถ้าดิฉันมีโทษอยู่ไซร้ ขอได้โปรดอดโทษนั้นเสียเถิด. หัวใจของภิกษุแก่ได้เป็นเหมือนถูกฉีกออก. ลาดับนั้น ภิกษุแก่ได้กล่าวกะภรรยาเก่าว่า เราไม่อาจจะละเจ้าไปได้ เจ้าอย่าไปเลย ฉันจักสึกละ เจ้าจงส่งผ้าสาฎกไปให้ฉันที่โน้น เราไปมอบบาตรจีวร แล้วจักมา. นางรับคาแล้ว. ภิกษุแก่ไปวิหาร ให้อาจารย์อุปัชฌาย์รับบาตรจีวร เมื่ออาจารย์และอุปัชฌาย์ถามว่า อาวุโส เหตุไรเธอจึงทาอย่างนี้ จึงตอบว่า กระผมไม่อาจละภรรยาเก่าได้ กระผมจักสึก. ลาดับนั้น อาจารย์และอุปัชฌาย์จึงนาภิกษุนั้นผู้ไม่ปรารถนาจะบวชอยู่ ไปสู่สานักพระศาสดา. เมื่อพระศาสดาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอนาเอาภิกษุผู้ไม่ปรารถนาจะบวชอยู่นี้ มาทาไม? จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุนี้กระสันอยากจะสึก พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ได้ยินว่า เธอกระสันจะสึก จริงหรือ. เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริง พระเจ้าข้า. ตรัสถามว่า ใครทาให้เธอกระสัน. เมื่อภิกษุกราบทูลว่า ภรรยาเก่า พระเจ้าข้า. จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่หญิงนั้นทาความพินาศให้แก่เธอ แม้ในกาลก่อน เธอก็เสื่อมจากฌานสี่ ถึงความทุกข์ใหญ่ เพราะอาศัยหญิงนั้น แต่ได้อาศัยเรา จึงพ้นจากทุกข์ กลับได้ฌานที่เสื่อมเสียไปแล้ว ดังนี้แล้ว ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์อาศัยปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัตนั้น เกิดในครรภ์นางพราหมณีภรรยาปุโรหิตนั้น. ในวันที่พระโพธิสัตว์เกิด บรรดาอาวุธที่มีอยู่ทั่วพระนครลุกโพลงขึ้น เพราะเหตุนั้น ญาติทั้งหลายจึงตั้งชื่อพระโพธิสัตว์ว่า โชติปาละ. โชติปาลกุมารนั้น ครั้นเจริญวัยแล้ว เรียนศิลปะทุกอย่างในเมืองตักกสิลา แล้วกลับมาแสดงศิลปะแก่พระราชา. ต่อมาได้ละอิสริยยศเสียไม่ให้ใครๆ รู้ หนีออกทางอัคคทวาร เข้าป่าบวชเป็นฤๅษี อยู่ในอาศรม ป่าไม้มะขวิดที่ท้าวสักกเทวราชเนรมิตรถวาย ทาฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว. พระฤๅษีหลายร้อยห้อมล้อมเป็นบริวาร พระโชติปาลฤๅษีผู้อยู่ที่อาศรมนั้น. อาศรมนั้นได้เป็ นมหาสมาคม มีลูกศิษย์ชั้นหัวหน้า ๗ องค์ องค์ที่ ๑
  • 4. 4 ชื่อว่า สาลิสสรฤๅษี ได้ออกจากอาศรมป่าไม้มะขวิด ไปอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้าสาโตทกา ในสุรัฏฐชนบท มีฤๅษีหลายพันองค์เป็นบริวาร. องค์ที่ ๒ ชื่อ เมณฑิสสรฤๅษี ไปอาศัยนิคมกลัมพมูลกะ อยู่ในแว่นแคว้นของพระเจ้าปโชตกราช มีฤๅษีหลายพันองค์เป็นบริวาร. องค์ที่ ๓ ชื่อ บรรพตฤๅษี ไปอาศัยอฏวีชนบทแห่งหนึ่งอยู่ มีฤๅษีหลายพันเป็นบริวาร. องค์ที่ ๔ ชื่อ กาฬเทวิลฤๅษี ไปอาศัยโขดศิลาแห่งหนึ่งอยู่ ณ ทักษิณาบท ในแคว้นอวันตี มีฤๅษีหลายพันเป็นบริวาร. องค์ที่ ๕ ชื่อ กิสวัจฉฤๅษี ไปอาศัยนครกุมภวดีของเจ้าทัณฑกี อยู่องค์เดียวในพระราชอุทยาน. องค์ที่ ๖ พระดาบสอนุสิสสะ เป็นอุปัฏฐากอยู่กับพระโพธิสัตว์. องค์ที่ ๗ ชื่อว่า นารทฤๅษี เป็นน้องชายกาฬเทวิลฤๅษี ไปอยู่ในถ้าที่เร้นแห่งหนึ่ง ในระหว่างข่ายภูเขาอัญชนคิรี ในป่ามัชฌิมประเทศ แต่องค์เดียว. ก็ ณ ที่ใกล้ๆ ภูเขาอัญชนคิรี มีนิคมแห่ง ๑ มีมนุษย์อยู่มากด้วยกัน. ในระหว่างภูเขาอัญชนคิรีกับนิคมมีแม่น้าใหญ่ พวกมนุษย์พากันไปประชุมที่แม่น้านั้นมาก. พวกนางวรรณทาสีรูปงามทั้งหลาย เมื่อเล้าโลมผู้ชาย ก็พากันไปนั่งที่ฝั่งแม่น้า. พระนารทดาบสเห็นนาง ๑ เข้าในบรรดานางเหล่านั้น มีจิตปฏิพัทธ์ จึงเสื่อมจากฌาน ซูบซีด ตกอยู่ในอานาจกิเลส นอนอดอาหารอยู่ ๗ วัน. ลาดับนั้น กาฬเทวิลดาบสผู้เป็นพี่ชายของนารทดาบสใคร่ครวญดู ก็รู้เหตุนั้น จึงเหาะมาแล้วเข้าไปในถ้าที่เร้น. นารทดาบสเห็นพระกาฬเทวิลดาบส จึงถามว่า ท่านมาทาไม? กาฬเทวิลดาบสตอบว่า ท่านไม่สบาย เรามาเพื่อรักษาท่าน. นารทดาบสจึงพูดข่มกาฬเทวิลดาบส ด้วยมุสาวาทว่า ท่านพูดไม่ได้เรื่อง กล่าวคาเหลาะแหละ เปล่าๆ. กาฬเทวิลดาบสคิดว่า เราไม่ควรฟังนารทดาบส จึงไปนาดาบส ๓ องค์มา คือสาลิสสรดาบส เมณฑิสสรดาบส บรรพติสสรดาบส. นารทดาบสก็กล่าวข่มดาบสเหล่านั้น ด้วยมุสาวาท. กาฬเทวิลดาบสคิดว่า เราจักนาสรภังคดาบสมา จึงเหาะไปเชิญสรภังคดาบสมา. ท่านสรภังคดาบส ครั้นมาเห็นแล้วก็รู้ว่าตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ จึงถามว่า ดูก่อนนารทะ เธอตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ กระมัง. เมื่อนารทดาบสพอได้ฟังถ้อยคาดังนั้น ก็ลุกขึ้นถวายอภิวาทกล่าวว่า ถูกแล้ว ท่านอาจารย์.
  • 5. 5 ท่านสรภังคดาบสจึงกล่าวว่า ดูก่อนนารทะ ธรรมดา ผู้ที่ตกอยู่ในอานาจอินทรีย์ ในอัตภาพนี้ ก็ซูบซีดเสวยทุกข์ ในอัตภาพที่สองย่อมเกิดในนรก ดังนี้แล้ว กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า :- ดูก่อนนารทะ บุรุษใดตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ เพราะกาม บุรุษนั้นละโลกทั้ง ๒ ไปแล้ว ย่อมเกิดในอบายมีนรกเป็นต้น แม้เมื่อยังเป็นอยู่ ก็ย่อมซูบซีดไป. นารทดาบสได้ฟังดังนั้น จึงถามว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ขึ้นชื่อว่าการเสพกาม ย่อมเป็ นสุข แต่ท่านมากล่าวความสุขเช่นนี้ว่าเป็ นทุกข์ ดังนี้ หมายถึงอะไร? ลาดับนั้น ท่านสรภังคดาบสได้กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น เธอจงฟัง แล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ความว่า :- ทุกข์เกิดในลาดับแห่งสุข สุขเกิดในลาดับแห่งทุกข์ ส่วนเธอนั้นประสบทุกข์มากกว่าสุข เธอจงหวังความสุขอันประเสริฐเถิด. ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้ ดูก่อนนารทะ สัตว์เหล่านี้ทากาละลงในสมัยที่เสพกาม ย่อมเกิดในนรกอันเป็นสถานที่มีทุกข์โดยส่วนเดียว. ส่วนผู้รักษาศีลและเจริญวิปัสสนา ย่อมลาบาก เขาเหล่านั้นรักษาศีล ด้วยความลาบากแล้ว ย่อมกลับได้ความสุข ดังกล่าวแล้ว ด้วยผลแห่งศีล. อาศัยเหตุนี้ เราจึงกล่าวอย่างนี้. นารทดาบสกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ทุกข์นี้นั้น ข้าพเจ้าไม่อาจอดกลั้นได้. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กล่าวกะนารทดาบสว่า ดูก่อนนารทะ ธรรมดาทุกข์ที่เกิดขึ้นแล้ว บุคคลพึงอดกลั้นได้ ดังนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า :- ในเวลาเกิดความลาบาก บุคคลใดอดทนความลาบากได้ บุคคลนั้น ย่อมไม่เป็นไปตามความลาบาก บุคคลนั้นเป็นนักปราชญ์ ย่อมบรรลุสุข ปราศจากเครื่องประกอบ อันเป็นที่สุดแห่งความลาบาก. ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ว่า ดูก่อนนารทะ บุคคลใด ในกาลเมื่อความลาบาก คือทุกข์อันเป็ นไปทางกายและทางจิตเกิดขึ้นแล้ว เป็ นผู้ไม่ประมาท หาอุบายกาจัดความลาบากนั้นเสียได้ อดกลั้นต่อความลาบากได้ ชื่อว่าไม่เป็นไปตามความลาบาก คือไม่เป็นไปในอานาจความลาบากนั้น ใช้อุบายนั้นๆ ครอบงาความลาบาก คือทาความลาบากนั้นให้หมดไปได้ บุคคลนั้นเป็นนักปราชญ์ บรรลุความสุขที่ปราศจากอามิส
  • 6. 6 คือสุขที่มีในที่สุดแห่งความลาบาก หรือว่าเป็นผู้ไม่ลาบาก ย่อมประสบ คือบรรลุถึงซึ่งความสุขที่ปราศจากโยคะ ซึ่งเป็ นที่สุดของความลาบากนั้น. นารทดาบสกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ขึ้นชื่อว่ากามสุขเป็ นสุขสูงสุด ข้าพเจ้าไม่อาจละกามสุขนั้นได้. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์จึงกล่าวกะนารทดาบสว่า ดูก่อนนารทะ ขึ้นชื่อว่าธรรม บุคคลไม่ควรให้พินาศด้วยเหตุไรๆ ก็ตาม ดังนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ความว่า :- เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะปรารถนากามทั้งหลาย เพราะเหตุใช่ประโยชน์ เพราะเหตุเป็นประโยชน์ ถึงเธอจะทาสุขในฌานที่สาเร็จแล้วให้นิราศไป ก็ไม่ควรเคลื่อนจากธรรมเลย. ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ว่า ดูก่อนนารทะ เธอไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะปรารถนาวัตถุกามเท่านั้นเลย คือเมื่อสิ่งมิใช่ประโยชน์อย่างหนึ่งเกิดขึ้น ประสงค์จะกาจัดสิ่งมิใช่ประโยชน์นั้น ก็ไม่ควรเคลื่อนจากธรรม เพราะมุ่งประโยชน์ คือเพราะประโยชน์อันเป็นต้นเหตุ. อธิบายว่า ก็เธอไม่สมควรเคลื่อนจากธรรม เพราะเหตุอันเป็นประโยช น์อย่างนี้ว่า ประโยชน์อย่างโน้นจะเกิดแก่เรา คือถึงเธอจะทาฌานสุขที่ทาจนสาเร็จแล้วให้นิราศไป คือเสื่อมสิ้นไป ก็ยังไม่สมควรเคลื่อนเสียจากธรรม. เมื่อสรภังคดาบสแสดงธรรมด้วยคาถา ๔ คาถาอย่างนี้แล้ว กาฬเทวิลดาบส เมื่อจะกล่าวสอนน้องชายของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๕ ความว่า :- ความขยันของคฤหบดี ผู้อยู่ครองเรือน ดีชั้น ๑ การแบ่งปันโภคทรัพย์ให้แก่สมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในธรรมแล้วบริโภ คด้วยตนเอง ดีชั้น ๒ เมื่อได้ประโยชน์ ไม่ระเริงใจด้วยความมัวเมา ดีชั้น ๓ เมื่อเวลาเสื่อมประโยชน์ ไม่มีความลาบากใจ ดีชั้น ๔. ดูก่อนนารทะ เพราะเหตุนั้น เธออย่าเศร้าโศกไปเลยว่า ฌานของเราเสื่อมไปแล้ว ถ้าเธอไม่ตกอยู่ในอานาจของอินทรีย์ แม้ฌานของเธอที่เสื่อมแล้ว ก็จักกลับคืนเป็ นปกติเหมือนเดิม. พระศาสดาผู้ตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง ทรงทราบความที่กาฬเทวิลดาบสกล่าวสอนนารทดาบสนั้น ตรัสพระคาถาที่ ๖ ความว่า :- เทวิลดาบสผู้สงบระงับ ได้พร่าสอนความเป็นบัณฑิตกะนารทดาบสนั้น ด้วยคามีประมาณเท่านี้ว่า บุคคลผู้เลวกว่าผู้ที่ตกอยู่ในอานาจอินทรีย์ ไม่มีเลย.
  • 7. 7 พระคาถานั้นมีอรรถาธิบายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทวิลดาบสผู้สงบระงับพร่าสอนความเป็ นบัณฑิตกะนารทดาบสนั้น ด้วยคาเท่านี้ว่า ก็ผู้ใดตกอยู่ในอานาจแห่งอินทรีย์ด้วยสามารถแห่งกิเลส คนอื่นที่จะเลวไปกว่าผู้นั้น มิได้มีสักนิดเลย. ลาดับนั้น สรภังคศาสดาเรียกนารทดาบสนั้นมา กล่าวว่า ดูก่อนนารทะ เธอจะฟังคานี้ก่อน ผู้ใดไม่ทาสิ่งที่ควรจะพึงทาก่อน ผู้นั้นย่อมเศร้าโศกร่าไร เหมือนมาณพที่เที่ยวไปในป่าฉะนั้น ดังนี้แล้ว ได้นาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล ในกาสีนิคมตาบลหนึ่ง มีพราหมณ์มาณพคนหนึ่งรูปงาม สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง มีกาลังเท่าช้างสาร. พราหมณ์มาณพนั้นคิดว่า ประโยชน์อะไรที่เราจะทากสิกรรมเป็นต้น เลี้ยงมารดา ประโยชน์อะไรด้วยบุตรภรรยา ประโยชน์อะไรด้วยบุญมีทานเป็นต้น ที่เราทาไว้. เราจักไม่เลี้ยงดูใครๆ จักไม่ทาบุญอะไรๆ จักเข้าป่า ฆ่าเนื้อต่างๆ เลี้ยงชีวิต ดังนี้แล้ว จึงผูกสอดอาวุธ ๕ ชนิด มุ่งไปสู่ป่าหิมพานต์ ฆ่าเนื้อต่างๆ กิน. วันหนึ่ง ไปถึงเวิ้งภูเขาใหญ่ มีภูเขาห้อมล้อมรอบใกล้ฝั่งวิธินีนที ภายในหิมวันตประเทศ ฆ่าเนื้อแล้วกินเนื้อที่ย่างในถ่านเพลิงอยู่ ณ ที่นั้น. มาณพนั้นคิดว่า เราจักมีเรี่ยวแรงอยู่เสมอไปไม่ได้ เวลาทุพพลภาพ เราจักไม่อาจเที่ยวไปในป่า บัดนี้ เราจักต้อนเนื้อนานาชนิดเข้าเวิ้งภูเขาแล้ว ทาประตูปิดไว้. เมื่อเข้าไปป่าไม่ได้ เราจักได้ฆ่าเนื้อกินตามชอบใจ คิดดังนี้แล้ว เขาก็ทาตามนั้น. ครั้นกาลล่วงไป กรรมของเขาถึงที่สุด ให้ผลเป็นทิฏฐธรรมเวทนีย์ ทันตาเห็น คือมือเท้าของตนใช้ไม่ได้ เขาไม่อาจเดินและพลิกไปมาได้ กินของเคี้ยวของบริโภคอะไรๆ ไม่ได้ น้าก็ดื่มไม่ได้ ร่างกายเหี่ยวแห้ง เป็นมนุษย์เปรต ร่างกายแตกปริเป็นร่องริ้ว เหมือนแผ่นดินแตกระแหง ในฤดูร้อน ฉะนั้น. เขามีรูปร่างทรวดทรง น่าเกลียดน่ากลัว เสวยทุกข์ใหญ่หลวง. เมื่อเวลาล่วงผ่านไปนานด้วยอาการอย่างนี้ พระเจ้าสีวิราชในสีวิรัฐทรงพระดาริว่า เราจักเสวยเนื้อย่างในป่า จึงมอบราชสมบัติให้อามาตย์ทั้งหลายดูแลแทน พระองค์เหน็บอาวุธห้าอย่างเสด็จเข้าป่า ฆ่าเนื้อ เสวยเนื้อ เรื่อยมาจนลุถึงประเทศนั้น โดยลาดับ ทอดพระเนตรเห็นบุรุษนั้นตกพระทัย ครั้นดารงพระสติได้ จึงตรัสถามว่า พ่อมหาจาเริญ ท่านเป็นใคร? เขาตอบว่า นาย ข้าพเจ้าเป็นมนุษย์เปรต เสวยผลกรรมที่ตนทาไว้ ก็ท่านเล่าเป็นใคร? เรา คือพระเจ้าสีวิราช
  • 8. 8 พระองค์เสด็จมาที่นี้ เพื่ออะไร? เพื่อเสวยเนื้อมฤค. ลาดับนั้น มาณพนั้นจึงกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า แม้ข้าพระองค์ก็มาด้วยเหตุนี้แหละ จึงเป็ นมนุษย์เปรต แล้วทูลเรื่องทั้งหมดโดยพิสดาร. เมื่อจะกราบทูลความที่ตนเสวยทุกข์แด่พระราชา ได้กล่าวคาถาที่เหลือ ความว่า :- ข้าแต่พระเจ้าสีวิราช พระองค์ เกือบจะถึงความพินาศ อยู่ในเงื้อมมือของศัตรูทั้งหลาย เทียว เหมือนข้าพระองค์ไม่กระทากรรม ที่ควรกระทา ไม่ศึกษาศิลปวิทยา ไม่ทาความขวนขวาย เพื่อให้เกิดโภคทรัพย์ ไม่ทาอาวาหวิวาหะ ไม่รักษาศีล ไม่กล่าววาจาอ่อนหวาน ทายศเหล่านี้ให้เสื่อมไป จึงมาบังเกิดเป็ นเปรต เพราะกรรมของตน. ข้าพระองค์นั้นปฏิบัติชอบแล้ว พึงยังโภคะให้เกิดขึ้น เหมือนบุรุษชนะแล้วพันคน ไม่มีพวกพ้องที่พึ่งอาศัย ล่วงเสียจากอริยธรรมมีอาการเหมือนเปรต ฉะนั้น. ข้าพระองค์ทาสัตว์ทั้งหลาย ผู้ใคร่ต่อความสุข ให้ได้รับความทุกข์ จึงได้มาถึง ส่วนอันนี้. ข้าพระองค์นั้นดารงอยู่ เหมือนบุคคลอันกองถ่านไฟล้อมรอบด้าน ย่อมไม่ได้ประสบความสุขเลย. ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้ ข้าแต่มหาราชเจ้า ข้าพระองค์ไม่กระทากรรมที่ควรกระทาอันเป็นเหตุให้ถึงอิสริยยศในโลกนี้ ไม่ศึกษาศิลปวิทยา ไม่ขวนขวายยังโภคะให้เกิดโดยอุบาย ไม่ทาอาวาหวิวาหะ ไม่รักษาศีล ไม่คบกัลยาณมิตร ผู้สามารถห้ามไม่ให้ทาชั่ว ยังโลกธรรมอันถึงการนับว่ายศ เพราะเป็ นเหตุให้ได้ยศเหล่านี้ คือมีประมาณเท่านี้ ให้เสื่อมเสียไป คือละทิ้งเสีย เข้าไปสู่ป่านี้จนเกิดเป็นมนุษย์เปรตในบัดนี้ ด้วยบาปกรรม อันตนทาไว้เอง. ก็มาณพนั้น ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว กราบทูลต่อไปว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้าพระองค์ประสงค์ความสุข แต่ทาผู้อื่นให้ได้รับความทุกข์ จึงเป็ นมนุษย์เปรตในปัจจุบันทันตาเห็น เพราะฉะนั้น ขอพระองค์อย่าทรงทากรรมชั่วเลย จงเสด็จไปพระนครของพระองค์ ทรงบาเพ็ญบุญมีให้ทานเป็นต้นเถิด. พระเจ้าสีวิราชได้ทรงกระทาตามนั้น ทรงบาเพ็ญทางไปสู่สวรรค์. สรภังคศาสดานาเรื่องนี้มาแสดงให้ดาบสเข้าใจแจ่มแจ้งเป็ นอันดี. ดาบสนั้นได้ความสลดใจ เพราะถ้อยคาของสรภังคศาสดา จึงไหว้ ขอขมาโทษ แล้วทากสิณบริกรรม ทาฌานที่เสื่อมแล้ว ให้กลับคืนเป็นปกติ.
  • 9. 9 สรภังคดาบสไม่ยอมให้นารทดาบสอยู่ที่ที่นั้น พาไปยังอาศรมของตน. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจจะ เวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้กระสันดารงอยู่ในโสดาปัตติผล. พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า นารทดาบสในครั้งนั้น ได้เป็น ภิกษุผู้กระสัน สาลิสสรดาบสได้เป็น พระสารีบุตร เมณฑิสสรดาบสได้เป็น พระกัสสปะ ปัพพตดาบสได้เป็น พระอนุรุทธะ กาฬเทวิลดาบสได้เป็น พระกัจจายนะ อนุสิสสะดาบสได้เป็น พระอานนท์ กิสวัจฉดาบสได้เป็น พระโมคคัลลานะ ส่วนสรภังคดาบส คือ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาอินทริยชาดกที่ ๗ -----------------------------------------------------