SlideShare a Scribd company logo
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๘ จันทกุมารจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในกาลนั้น เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้ว
บริจาคมหาทาน. บริจาคมหาทาน คือสร้างโรงทาน ๖ แห่ง แล้วบริจาคมหาทาน เช่นกับทานของพระ
เวสสันดร ด้วยการบริจาคทรัพย์มาก.
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๗. จันทกุมารจริยา
ว่าด้วยพระจริยาของพระจันทกุมาร
[๔๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นโอรสของพระเจ้าเอกราช มีนามว่าจันทกุมาร อยู่ในกรุงปุป
ผวดี
[๔๖] เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกมาจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้นแล้ว
บาเพ็ญมหาทาน
[๔๗] เรายังมิได้ให้ทานแก่ทักขิไณยบุคคลแล้ว ก็จะไม่ดื่มน้า ไม่เคี้ยว และไม่บริโภคโภชนะแม้
๕-๖ ราตรี
[๔๘] ธรรมดาพ่อค้า รวบรวมสินค้าไว้แล้วในที่ใดจะมีกาไรมาก ก็จะนาสินค้าไปขายในที่นั้น ฉัน
ใด
[๔๙] สิ่งของที่เราให้แก่ผู้อื่น มีค่ามากกว่าสิ่งของที่ตนใช้เองฉันนั้น เพราะฉะนั้น ควรให้ทานแก่
ผู้อื่น อันนั้นจักมีผลตั้งร้อย
[๕๐] เรารู้อานาจประโยชน์นั้นแล้ว จึงให้ทานในภพน้อยภพใหญ่ จักไม่ถอยกลับ(ไม่ท้อถอย)
จากการให้ทาน เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้ แล
จันทกุมารจริยาที่ ๗ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญทานบารมี
๗. จันทกุมารจริยา
อรรถกถาจันทกุมารจริยาที่ ๗
2
มีเรื่องเล่าว่า ในอดีตกาล กรุงพาราณสีนี้ ได้มีชื่อว่าบุปผวดี. ณ เมืองบุปผวดีนั้น โอรสของ
พระราชาวสวัดดี พระนามว่าเอกราช ครองราชสมบัติ. พระโพธิสัตว์ได้ถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระอัคร
มเหสีของพระเจ้าเอกราชนั้น พระนามว่าโคตมี. พระชนกชนนีขนานพระนามว่าจันทกุมาร.
เมื่อพระจันทกุมารทรงดาเนินได้ ก็เกิดพระโอรสอื่นอีกพระนามว่า สุริยกุมาร. เมื่อสุริยกุมาร
ทรงดาเนินได้ ก็เกิดพระธิดาองค์หนึ่งพระนามว่าเสลา. พระโอรสและพระธิดาเหล่านั้นได้มีพระภาดาต่าง
พระมารดากันอีกสองพระองค์ คือภัทเสนะและสูร.
พระโพธิสัตว์เจริญวัยขึ้นโดยลาดับ ได้สาเร็จศิลปศาสตร์และวิชาปกครอง. พระราชบิดาได้
อภิเษกสมรสพระราชธิดาจันทาแก่พระโพธิสัตว์ แล้วทรงตั้งให้เป็นอุปราช. พระโพธิสัตว์มีพระโอรสองค์หนึ่ง
พระนามว่าวาสุละ.
พระราชามีปุโรหิตคนหนึ่งชื่อว่าขัณฑหาละ. ทรงแต่งตั้งขัณฑหาละให้เป็นผู้ตัดสินคดี. ขัณฑหา
ละเป็นคนเห็นแก่สินบน ได้สินบนแล้วก็ตัดสินผู้ที่ไม่เป็นเจ้าของให้เป็นเจ้าของ ผู้เป็นเจ้าของให้ไม่เป็น
เจ้าของ.
อยู่มาวันหนึ่ง บุรุษผู้หนึ่งถูกตัดสินให้แพ้ จึงร้องด่าว่าปุโรหิตในโรงวินิจฉัยคดี ครั้นเดินออกมา
เห็นพระโพธิสัตว์กาลังเสด็จมาเฝ้าพระราชบิดา ก็หมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ แล้วสะอื้นไห้ทูล
ว่า ข้าแต่พระองค์ ขัณฑหาลปุโรหิตกินสินบนในโรงศาล แม้ข้าพระองค์ก็ถูกเขารับสินบน ยังตัดสินให้แพ้อีก.
พระโพธิสัตว์ทรงปลอบบุรุษนั้นว่า อย่ากลัวไปเลย แล้วทรงนาไปยังโรงวินิจฉัย ได้ทรงตัดสินผู้ที่
เป็นเจ้าของให้เป็นเจ้าของ.
มหาชนก็พากันส่งเสียงซ้องสาธุการ.
พระราชาทรงสดับข่าวว่าพระโพธิสัตว์วินิจฉัยคดียุติธรรม จึงตรัสเรียกพระโพธิสัตว์มาแล้ว
พระราชทานการวินิจฉัยแก่พระโพธิสัตว์ว่า ตั้งแต่นี้ ไป เจ้าผู้เดียวจงวินิฉัยคดีทั่วไป.
ผลประโยชน์ของขัณฑหาละก็ขาดลง. ตั้งแต่นั้นมา ขัณฑหาละก็ผูกอาฆาตในพระโพธิสัตว์คอย
หาโอกาสจับผิดเรื่อยมา.
ส่วนพระเจ้าเอกราชมีพระสติปัญญาอ่อนเชื่อคนง่าย.
วันหนึ่งทรงสุบินไปว่าได้เห็นเทวโลก ประสงค์จะเสด็จไป ณ เทวโลกนั้น จึงตรัสกะปุโรหิตว่า ขอ
ท่านจงบอกทางไปพรหมโลก.
ปุโรหิตทูลว่า ขอเดชะพระองค์ทรงให้ทานยิ่งบูชายัญด้วยสิ่งมีชีวิต อย่างละ ๔ๆ. ตรัสถามว่า
ทานยิ่งเป็นอย่างไร ทูลว่า การบริจาคสัตว์สองเท้าสี่เท้าเพื่อบูชายัญ ทาให้เป็นอย่างละ ๔ๆ เหล่านี้ คือ
พระโอรส พระธิดา พระอัครมเหสี เศรษฐี ช้างมงคลและม้ามงคล บูชาด้วยเลือดในลาคอของสัตว์เหล่านั้น
ชื่อว่าทานยิ่ง.
พระราชาทรงยินยอม.
ด้วยประการฉะนี้ ขัณฑหาละคิดว่าจักบอกทางสวรรค์ แต่บอกทางนรก.
แม้พระราชาก็ทรงสาคัญว่า ขัณฑหาละนั้นเป็นบัณฑิต มีพระประสงค์จะปฏิบัติตามด้วย ทรง
3
สาคัญว่าวิธีที่ขัณฑหาละบอกนั้นเป็นทางสวรรค์ จึงรับสั่งให้ขุดหลุมบูชายัญหลุมใหญ่ แล้วมีพระบัญชาว่า
พวกท่านจงนาสัตว์สองเท้าสี่เท้าทั้งหมดตามที่ขัณฑหาละสั่ง ตั้งแต่พระราชกุมาร ๔ มีพระโพธิสัตว์เป็นต้น
ไปในที่ที่ประกอบพิธีบูชายัญ. สิ่งของเครื่องใช้ในการบูชายัญทั้งหมดเตรียมไว้พร้อมแล้ว.
มหาชนได้ฟังดังนั้นก็ระเบ็งเซ็งแซ่วุ่นวายกันยกใหญ่.
พระราชาทรงร้อนพระทัย แต่ถูกขัณฑหาละชักจูงก็ทรงบัญชาเหมือนอย่างนั้นอีก.
พระโพธิสัตว์ทรงทราบว่า ขัณฑหาละไม่ได้ทาหน้าที่ตัดสินคดีจึงผูกอาฆาตเรา ปรารถนาจะให้
เราตาย จะได้ทาความพินาศล่มจมให้เกิดแก่มหาชนอีก แม้พยายามเพื่อให้พระราชาทรงสานึกผิดด้วยอุบาย
หลายอย่าง จากการเข้าพระทัยผิดนั้นก็ไม่สามารถทาให้กลับพระทัยได้.
มหาชนร่าร้องอยู่เซ็งแซ่. พระโพธิสัตว์ทรงสงสารมาก.
เมื่อมหาชนร่าร้องเซ็งแซ่อยู่นั้น พิธีกรรมทั้งหมดในหลุมบูชายัญก็สาเร็จลง. พวกราชบุรุษนา
พระราชโอรสเข้าไปแล้วให้นั่งก้มคอลง.
ขัณฑหาละนาถาดทองคาเข้าไป ถือดาบยืนอยู่ด้วยคิดว่า จักตัดพระศอของพระโพธิสัตว์.
พระนางจันทาเทวีมเหสีของพระโอรสเห็นดังนั้น คิดว่าบัดนี้ เราไม่มีที่พึ่งอื่นแล้ว เราจักทาความ
สวัสดีแก่พระสวามีด้วยกาลังความสัจของตน จึงประคองอัญชลีดาเนินไปในระหว่างชุมชน กระทา
สัตยาธิษฐานว่า ทางสวรรค์ที่ขัณฑหาละบอกนี้ เป็นกรรมชั่วโดยส่วนเดียว. ด้วยคาสัตย์ของข้าพเจ้านี้ ขอ
ความสวัสดีจงมีแก่พระสวามีของข้าพเจ้าเถิด.
พระนางจันทาเทวีได้ตั้งสัตยาธิษฐานต่อไปอีกว่า
ขอทวยเทพทั้งหลาย ทั้งมวลบรรดามีอยู่ในโลกนี้ จงมาเป็นที่พึ่ง ขอจงปกป้องข้าพเจ้าผู้ไร้ที่พึ่ง
ขอให้ข้าพเจ้าได้อยู่กับสามีด้วยความสวัสดีเถิด.
ท้าวสักกเทวราชได้ทรงสดับเสียงร่าไห้ของพระนางจันทาเทวีนั้น ทรงทราบเรื่องราวทั้งหมด จึง
ทรงฉวยค้อนเหล็กมีไฟโพลง ให้พระราชาหวาดสะดุ้ง แล้วมีเทวโองการให้ปลดปล่อยผู้ที่จะถูกฆ่าเพื่อบูชา
ยัญทั้งหมด ท้าวสักกะก็ได้ทรงแสดงรูปทิพย์ของพระองค์ในครั้งนั้น ทรงกวัดแกว่งพระขรรค์เพชรรุ่งโรจน์
สว่างไสว ประทับยืนอยู่บนอากาศ มีเทวดารัสว่า
ดูก่อนพระราชาผู้ลามกใจร้าย กาฬกัณณี การไปสวรรค์ด้วยการทาปาณาติบาต ท่านเคยเห็น
เมื่อไร. ท่านจงปล่อยพระจันทกุมารและชนทั้งหมดเหล่านี้ จากเครื่องผูกมัด. หากท่านไม่ปล่อย เราจักผ่า
ศีรษะของท่านและของพราหมณ์ชั่วนี้ เดี๋ยวนี้ ตรงนี้ ทีเดียว.
พระราชาและพราหมณ์เห็นความอัศจรรย์ดังนั้น ก็รีบให้ปล่อยสัตว์ทั้งหมดจากเครื่องผูกมัด.
ครั้งนั้น มหาชนต่างเอิกเกริกโกลาหลรีบถมหลุมบูชายัญ แล้วถือก้อนดินคนละก้อนปาขัณฑหา
ละจนถึงแก่ความตาย ณ ที่นั้นเอง แล้วเตรียมจะฆ่าพระราชาด้วย.
พระโพธิสัตว์ตรงเข้าสวมกอดพระบิดาไว้ก่อนไม่ให้ถูกฆ่าได้.
มหาชนพากันกล่าวด้วยความแค้นว่า เราจะไว้ชีวิตพระราชาลามกนั้น แต่จะไม่ให้เศวตฉัตร
ไม่ให้อยู่ในพระนคร จะให้ไปอยู่นอกพระนคร แล้วช่วยกันปลดเปลื้องเครื่องยศของพระราชาออก ให้นุ่งผ้า
กาสาวะ เอาผ้าเก่าย้อมขมิ้นโพกศีรษะทาเช่นคนจัณฑาล แล้วส่งไปอยู่บ้านคนจัณฑาล.
4
อนึ่ง ชนเหล่าใดบูชายัญด้วยการฆ่าสัตว์เองก็ดี ให้ผู้อื่นบูชายัญก็ดี พลอยยินดีก็ดี ชนเหล่านั้น
ทั้งหมดจะต้องตกนรก.
ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
คนทั้งปวงตกนรก เพราะทาความชั่ว คนได้ไปสวรรค์ เพราะไม่ทาความชั่ว.
ลาดับนั้น ราชบริษัท ชาวนคร ชาวชนบท แม้ทั้งหมดประชุมกัน อภิเษกพระโพธิสัตว์ไว้ในราช
สมบัติ. พระโพธิสัตว์ทรงเสวยราชสมบัติโดยธรรม ทรงระลึกถึงความพินาศอันเกิดขึ้นแก่พระองค์และแก่
มหาชน โดยเหตุอันไม่สมควร ทรงเกิดความสังเวช มีพระอุตสาหะในการบาเพ็ญบุญให้ยิ่งขึ้นไป ทรงบริจาค
มหาทาน. ทรงรักษาศีล. ทรงสมาทานอุโบสถกรรม.
ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสพระดารัสมีอาทิว่า
ในกาลนั้น เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้ว
บริจาคมหาทาน.
บริจาคมหาทาน คือสร้างโรงทาน ๖ แห่ง แล้วบริจาคมหาทาน เช่นกับทานของพระเวสสันดร
ด้วยการบริจาคทรัพย์มาก.
ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ทรงกระทาชมพูทวีปทั้งสิ้นให้เจริญงอกงาม ทรงบริจาคมหา
ทานดุจฝนตกห่าใหญ่. พระโพธิสัตว์ทรงบริจาคทานมากมาย และประณีตทั้งนั้น มีข้าวและน้าเป็นต้นในโรง
ทาน แก่ผู้ขอทั้งหลายตามความพอพระทัย ทุกๆ วัน ก็จริง ถึงดังนั้น หากพระองค์ยังไม่ทรงบริจาคทานแก่ผู้
ขอทั้งหลาย ก็จะไม่เสวยพระกระยาหารที่เตรียมไว้สาหรับพระองค์ แม้พระกระยาหารนั้นจะสมควรแก่
พระราชา.
เหมือนสินค้าที่พ่อค้าซื้อจะไม่ขายในที่นั้นทันที จะรอไว้ขายในเทศกาล จะได้มีกาไรมาก มีผล
ไพบูลย์ ฉันใด ของของตนก็ฉันนั้นตนเองยังไม่บริโภค ให้บุคคลผู้รับอื่นก่อน จักมีผลมาก จักมีส่วนหลาย
ร้อย. เพราะฉะนั้น ตนเองไม่ควรบริโภค ควรให้ผู้อื่นก่อน ด้วยประการฉะนี้ .
สมดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ให้ทานในสัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังทักษิณาร้อยเท่า ให้ทานในปุถุชนผู้เป็นทุศีล หวังได้พันเท่า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแม้อย่างอื่นไว้อีกมีอาทิว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลของการบริจาคทาน เหมือนอย่างที่เรารู้ คือ
ไม่ให้ก่อนแล้วไม่พึงบริโภค.
อนึ่ง จิตมีความตระหนี่เป็นมลทินของสัตว์เหล่านั้น ย่อมไม่ควบคุมตั้งไว้. ก้อนข้าวก้อนหลัง คา
ข้าวคาหลัง พึงมีแก่สัตว์เหล่านั้น เมื่อยังไม่แบ่งจากก้อนข้าวคาข้าวนั้น ไม่ควรบริโภค.
เรารู้อานาจประโยชน์นี้ คือรู้อานาจประโยชน์ รู้เหตุ กล่าวคือความที่ทานมีผลมาก และความที่
ทานเป็นปัจจัยแห่งสัมมาสัมโพธิญาณ. เราไม่ท้อถอยจากการให้ คือไม่ถอยกลับ ไม่หลีกเลี่ยงจากทานบารมี
แม้แต่น้อย.
เพื่ออะไร. เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ. คือพระสัพพัญญุตญาณ.
ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์ เมื่อถูกมหาชนขับไล่พระบิดาไปอยู่บ้านคนจัณฑาล ได้ทรงประทาน
5
เสบียงอันควรให้ผ้านุ่งและผ้าห่ม. แม้พระบิดานั้นก็ไม่ได้เข้าพระนคร เมื่อพระโพธิสัตว์เสด็จไปนอกพระนคร
เพื่อทอดพระเนตรพระอุทยาน.
พระบิดาไม่ไหว้ ไม่ทาอัญชลีกรรมด้วยเห็นว่าเป็นบุตร แต่กล่าวว่า ขอให้ลูกจงมีอายุยืนนาน
เถิด.
แม้พระโพธิสัตว์ในวันที่เห็นพระบิดา ก็ทรงกระทาสัมมานะเป็นอย่างยิ่ง. พระโพธิสัตว์ทรง
ครองราชสมบัติโดยธรรมอย่างนี้ เมื่อสวรรคตก็เสด็จสู่เทวโลกพร้อมด้วยบริษัท.
ขัณฑหาละในครั้งนั้น ได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ .
พระนางโคตมีเทวี คือพระนางมหามายา.
พระนางจันทาราชธิดา คือพระมารดาพระราหุล.
พระวาสุละ คือพระราหุล.
พระนางเสลา คือพระนางอุบลวรรณา.
พระสูระ คือพระมหากัสสป.
พระภัททเสนะ คือพระมหาโมคคัลลานะ.
พระสุริยกุมาร คือพระสารีบุตร.
พระเจ้าจันทราช คือพระโลกนาถ.
แม้ในที่นี้ ก็ควรเจาะจงกล่าวถึงบารมีที่เหลือของพระโพธิสัตว์นั้นตามสมควรโดยนัยดังกล่าวแล้ว
ในก่อนนั้นแล.
พึงเจาะจงกล่าวถึงคุณานุภาพมีอาทิว่า
ในครั้งนั้น พระโพธิสัตว์แม้ทรงรู้ว่า ขัณฑหาละเป็นคนหยาบคายก็ทรงใช้ดุลยพินิจวินิจฉัยคดี
โดยธรรมโดยเสมอ แม้ทรงทราบวิธีบูชายัญอย่างนั้นของขัณฑหาละ เพื่อประสงค์จะปลงพระชนม์พระองค์ ก็
มิได้มีจิตโกรธเคืองขัณฑหาละนั้น. แม้สามารถจะจับบริษัทของพระองค์ ซึ่งเป็นศัตรูของพระบิดา เมื่อพระ
บิดาประสงค์จะทาพระองค์ให้เป็นบุรุษสัตว์เลี้ยงแล้ว ปลงพระชนม์เสีย ก็มิได้ใช้ตาแหน่งหน้าที่ในการลง
อาชญา ด้วยทรงดาริว่า การพิโรธด้วยกรรมหนักไม่สมควรแก่คนเช่นเรา.
เมื่อปุโรหิตถอดดาบออกจากฝักย่างเท้าเข้าไปเพื่อจะตัดศีรษะ เพราะพระองค์มีจิตแผ่เมตตาไป
ในพระบิดาของพระองค์เสมอกับในพระโอรส และสรรพสัตว์ทั้งหลาย.
เมื่อมหาชนฮือกันเข้าไปหมายจะปลงพระชนม์พระบิดา ตนเองเข้าสวมกอดพระบิดา ให้ชีวิต
พระบิดานั้น.
แม้เมื่อทรงบริจาคมหาทานเช่นกับทานของพระเวสสันดร ทุกๆ วัน ก็มิได้ทรงอิ่มด้วยทาน. การ
ให้ของที่ควรให้แก่พระชนกผู้ถูกมหาชนขับไล่ให้ไปอยู่ในบ้านคนจัณฑาลแล้วทรงเลี้ยงดู. การให้มหาชน
ตั้งอยู่ในการทาบุญ.
จบอรรถกถาจันทกุมารจริยาที่ ๗
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf

04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]AY'z Felon
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Jatupol Yothakote
 
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 

Similar to 08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf (20)

04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
04 กุรุธรรมจริยา มจร.pdf
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
05 มหาสุทัสสนจริยา มจร.pdf
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
๑๑ มาคัณฑิยสูตร มจร.pdf
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อปสามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
09 สิวิราชจริยา มจร.pdf
 
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
๐๒ เตวิชชสูตร มจร.pdf
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
 

More from maruay songtanin

๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
 

08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๘ จันทกุมารจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในกาลนั้น เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้ว บริจาคมหาทาน. บริจาคมหาทาน คือสร้างโรงทาน ๖ แห่ง แล้วบริจาคมหาทาน เช่นกับทานของพระ เวสสันดร ด้วยการบริจาคทรัพย์มาก. พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๗. จันทกุมารจริยา ว่าด้วยพระจริยาของพระจันทกุมาร [๔๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นโอรสของพระเจ้าเอกราช มีนามว่าจันทกุมาร อยู่ในกรุงปุป ผวดี [๔๖] เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกมาจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้นแล้ว บาเพ็ญมหาทาน [๔๗] เรายังมิได้ให้ทานแก่ทักขิไณยบุคคลแล้ว ก็จะไม่ดื่มน้า ไม่เคี้ยว และไม่บริโภคโภชนะแม้ ๕-๖ ราตรี [๔๘] ธรรมดาพ่อค้า รวบรวมสินค้าไว้แล้วในที่ใดจะมีกาไรมาก ก็จะนาสินค้าไปขายในที่นั้น ฉัน ใด [๔๙] สิ่งของที่เราให้แก่ผู้อื่น มีค่ามากกว่าสิ่งของที่ตนใช้เองฉันนั้น เพราะฉะนั้น ควรให้ทานแก่ ผู้อื่น อันนั้นจักมีผลตั้งร้อย [๕๐] เรารู้อานาจประโยชน์นั้นแล้ว จึงให้ทานในภพน้อยภพใหญ่ จักไม่ถอยกลับ(ไม่ท้อถอย) จากการให้ทาน เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้ แล จันทกุมารจริยาที่ ๗ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญทานบารมี ๗. จันทกุมารจริยา อรรถกถาจันทกุมารจริยาที่ ๗
  • 2. 2 มีเรื่องเล่าว่า ในอดีตกาล กรุงพาราณสีนี้ ได้มีชื่อว่าบุปผวดี. ณ เมืองบุปผวดีนั้น โอรสของ พระราชาวสวัดดี พระนามว่าเอกราช ครองราชสมบัติ. พระโพธิสัตว์ได้ถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระอัคร มเหสีของพระเจ้าเอกราชนั้น พระนามว่าโคตมี. พระชนกชนนีขนานพระนามว่าจันทกุมาร. เมื่อพระจันทกุมารทรงดาเนินได้ ก็เกิดพระโอรสอื่นอีกพระนามว่า สุริยกุมาร. เมื่อสุริยกุมาร ทรงดาเนินได้ ก็เกิดพระธิดาองค์หนึ่งพระนามว่าเสลา. พระโอรสและพระธิดาเหล่านั้นได้มีพระภาดาต่าง พระมารดากันอีกสองพระองค์ คือภัทเสนะและสูร. พระโพธิสัตว์เจริญวัยขึ้นโดยลาดับ ได้สาเร็จศิลปศาสตร์และวิชาปกครอง. พระราชบิดาได้ อภิเษกสมรสพระราชธิดาจันทาแก่พระโพธิสัตว์ แล้วทรงตั้งให้เป็นอุปราช. พระโพธิสัตว์มีพระโอรสองค์หนึ่ง พระนามว่าวาสุละ. พระราชามีปุโรหิตคนหนึ่งชื่อว่าขัณฑหาละ. ทรงแต่งตั้งขัณฑหาละให้เป็นผู้ตัดสินคดี. ขัณฑหา ละเป็นคนเห็นแก่สินบน ได้สินบนแล้วก็ตัดสินผู้ที่ไม่เป็นเจ้าของให้เป็นเจ้าของ ผู้เป็นเจ้าของให้ไม่เป็น เจ้าของ. อยู่มาวันหนึ่ง บุรุษผู้หนึ่งถูกตัดสินให้แพ้ จึงร้องด่าว่าปุโรหิตในโรงวินิจฉัยคดี ครั้นเดินออกมา เห็นพระโพธิสัตว์กาลังเสด็จมาเฝ้าพระราชบิดา ก็หมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ แล้วสะอื้นไห้ทูล ว่า ข้าแต่พระองค์ ขัณฑหาลปุโรหิตกินสินบนในโรงศาล แม้ข้าพระองค์ก็ถูกเขารับสินบน ยังตัดสินให้แพ้อีก. พระโพธิสัตว์ทรงปลอบบุรุษนั้นว่า อย่ากลัวไปเลย แล้วทรงนาไปยังโรงวินิจฉัย ได้ทรงตัดสินผู้ที่ เป็นเจ้าของให้เป็นเจ้าของ. มหาชนก็พากันส่งเสียงซ้องสาธุการ. พระราชาทรงสดับข่าวว่าพระโพธิสัตว์วินิจฉัยคดียุติธรรม จึงตรัสเรียกพระโพธิสัตว์มาแล้ว พระราชทานการวินิจฉัยแก่พระโพธิสัตว์ว่า ตั้งแต่นี้ ไป เจ้าผู้เดียวจงวินิฉัยคดีทั่วไป. ผลประโยชน์ของขัณฑหาละก็ขาดลง. ตั้งแต่นั้นมา ขัณฑหาละก็ผูกอาฆาตในพระโพธิสัตว์คอย หาโอกาสจับผิดเรื่อยมา. ส่วนพระเจ้าเอกราชมีพระสติปัญญาอ่อนเชื่อคนง่าย. วันหนึ่งทรงสุบินไปว่าได้เห็นเทวโลก ประสงค์จะเสด็จไป ณ เทวโลกนั้น จึงตรัสกะปุโรหิตว่า ขอ ท่านจงบอกทางไปพรหมโลก. ปุโรหิตทูลว่า ขอเดชะพระองค์ทรงให้ทานยิ่งบูชายัญด้วยสิ่งมีชีวิต อย่างละ ๔ๆ. ตรัสถามว่า ทานยิ่งเป็นอย่างไร ทูลว่า การบริจาคสัตว์สองเท้าสี่เท้าเพื่อบูชายัญ ทาให้เป็นอย่างละ ๔ๆ เหล่านี้ คือ พระโอรส พระธิดา พระอัครมเหสี เศรษฐี ช้างมงคลและม้ามงคล บูชาด้วยเลือดในลาคอของสัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าทานยิ่ง. พระราชาทรงยินยอม. ด้วยประการฉะนี้ ขัณฑหาละคิดว่าจักบอกทางสวรรค์ แต่บอกทางนรก. แม้พระราชาก็ทรงสาคัญว่า ขัณฑหาละนั้นเป็นบัณฑิต มีพระประสงค์จะปฏิบัติตามด้วย ทรง
  • 3. 3 สาคัญว่าวิธีที่ขัณฑหาละบอกนั้นเป็นทางสวรรค์ จึงรับสั่งให้ขุดหลุมบูชายัญหลุมใหญ่ แล้วมีพระบัญชาว่า พวกท่านจงนาสัตว์สองเท้าสี่เท้าทั้งหมดตามที่ขัณฑหาละสั่ง ตั้งแต่พระราชกุมาร ๔ มีพระโพธิสัตว์เป็นต้น ไปในที่ที่ประกอบพิธีบูชายัญ. สิ่งของเครื่องใช้ในการบูชายัญทั้งหมดเตรียมไว้พร้อมแล้ว. มหาชนได้ฟังดังนั้นก็ระเบ็งเซ็งแซ่วุ่นวายกันยกใหญ่. พระราชาทรงร้อนพระทัย แต่ถูกขัณฑหาละชักจูงก็ทรงบัญชาเหมือนอย่างนั้นอีก. พระโพธิสัตว์ทรงทราบว่า ขัณฑหาละไม่ได้ทาหน้าที่ตัดสินคดีจึงผูกอาฆาตเรา ปรารถนาจะให้ เราตาย จะได้ทาความพินาศล่มจมให้เกิดแก่มหาชนอีก แม้พยายามเพื่อให้พระราชาทรงสานึกผิดด้วยอุบาย หลายอย่าง จากการเข้าพระทัยผิดนั้นก็ไม่สามารถทาให้กลับพระทัยได้. มหาชนร่าร้องอยู่เซ็งแซ่. พระโพธิสัตว์ทรงสงสารมาก. เมื่อมหาชนร่าร้องเซ็งแซ่อยู่นั้น พิธีกรรมทั้งหมดในหลุมบูชายัญก็สาเร็จลง. พวกราชบุรุษนา พระราชโอรสเข้าไปแล้วให้นั่งก้มคอลง. ขัณฑหาละนาถาดทองคาเข้าไป ถือดาบยืนอยู่ด้วยคิดว่า จักตัดพระศอของพระโพธิสัตว์. พระนางจันทาเทวีมเหสีของพระโอรสเห็นดังนั้น คิดว่าบัดนี้ เราไม่มีที่พึ่งอื่นแล้ว เราจักทาความ สวัสดีแก่พระสวามีด้วยกาลังความสัจของตน จึงประคองอัญชลีดาเนินไปในระหว่างชุมชน กระทา สัตยาธิษฐานว่า ทางสวรรค์ที่ขัณฑหาละบอกนี้ เป็นกรรมชั่วโดยส่วนเดียว. ด้วยคาสัตย์ของข้าพเจ้านี้ ขอ ความสวัสดีจงมีแก่พระสวามีของข้าพเจ้าเถิด. พระนางจันทาเทวีได้ตั้งสัตยาธิษฐานต่อไปอีกว่า ขอทวยเทพทั้งหลาย ทั้งมวลบรรดามีอยู่ในโลกนี้ จงมาเป็นที่พึ่ง ขอจงปกป้องข้าพเจ้าผู้ไร้ที่พึ่ง ขอให้ข้าพเจ้าได้อยู่กับสามีด้วยความสวัสดีเถิด. ท้าวสักกเทวราชได้ทรงสดับเสียงร่าไห้ของพระนางจันทาเทวีนั้น ทรงทราบเรื่องราวทั้งหมด จึง ทรงฉวยค้อนเหล็กมีไฟโพลง ให้พระราชาหวาดสะดุ้ง แล้วมีเทวโองการให้ปลดปล่อยผู้ที่จะถูกฆ่าเพื่อบูชา ยัญทั้งหมด ท้าวสักกะก็ได้ทรงแสดงรูปทิพย์ของพระองค์ในครั้งนั้น ทรงกวัดแกว่งพระขรรค์เพชรรุ่งโรจน์ สว่างไสว ประทับยืนอยู่บนอากาศ มีเทวดารัสว่า ดูก่อนพระราชาผู้ลามกใจร้าย กาฬกัณณี การไปสวรรค์ด้วยการทาปาณาติบาต ท่านเคยเห็น เมื่อไร. ท่านจงปล่อยพระจันทกุมารและชนทั้งหมดเหล่านี้ จากเครื่องผูกมัด. หากท่านไม่ปล่อย เราจักผ่า ศีรษะของท่านและของพราหมณ์ชั่วนี้ เดี๋ยวนี้ ตรงนี้ ทีเดียว. พระราชาและพราหมณ์เห็นความอัศจรรย์ดังนั้น ก็รีบให้ปล่อยสัตว์ทั้งหมดจากเครื่องผูกมัด. ครั้งนั้น มหาชนต่างเอิกเกริกโกลาหลรีบถมหลุมบูชายัญ แล้วถือก้อนดินคนละก้อนปาขัณฑหา ละจนถึงแก่ความตาย ณ ที่นั้นเอง แล้วเตรียมจะฆ่าพระราชาด้วย. พระโพธิสัตว์ตรงเข้าสวมกอดพระบิดาไว้ก่อนไม่ให้ถูกฆ่าได้. มหาชนพากันกล่าวด้วยความแค้นว่า เราจะไว้ชีวิตพระราชาลามกนั้น แต่จะไม่ให้เศวตฉัตร ไม่ให้อยู่ในพระนคร จะให้ไปอยู่นอกพระนคร แล้วช่วยกันปลดเปลื้องเครื่องยศของพระราชาออก ให้นุ่งผ้า กาสาวะ เอาผ้าเก่าย้อมขมิ้นโพกศีรษะทาเช่นคนจัณฑาล แล้วส่งไปอยู่บ้านคนจัณฑาล.
  • 4. 4 อนึ่ง ชนเหล่าใดบูชายัญด้วยการฆ่าสัตว์เองก็ดี ให้ผู้อื่นบูชายัญก็ดี พลอยยินดีก็ดี ชนเหล่านั้น ทั้งหมดจะต้องตกนรก. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า คนทั้งปวงตกนรก เพราะทาความชั่ว คนได้ไปสวรรค์ เพราะไม่ทาความชั่ว. ลาดับนั้น ราชบริษัท ชาวนคร ชาวชนบท แม้ทั้งหมดประชุมกัน อภิเษกพระโพธิสัตว์ไว้ในราช สมบัติ. พระโพธิสัตว์ทรงเสวยราชสมบัติโดยธรรม ทรงระลึกถึงความพินาศอันเกิดขึ้นแก่พระองค์และแก่ มหาชน โดยเหตุอันไม่สมควร ทรงเกิดความสังเวช มีพระอุตสาหะในการบาเพ็ญบุญให้ยิ่งขึ้นไป ทรงบริจาค มหาทาน. ทรงรักษาศีล. ทรงสมาทานอุโบสถกรรม. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสพระดารัสมีอาทิว่า ในกาลนั้น เราพ้นจากการบูชายัญแล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้น ยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้ว บริจาคมหาทาน. บริจาคมหาทาน คือสร้างโรงทาน ๖ แห่ง แล้วบริจาคมหาทาน เช่นกับทานของพระเวสสันดร ด้วยการบริจาคทรัพย์มาก. ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ทรงกระทาชมพูทวีปทั้งสิ้นให้เจริญงอกงาม ทรงบริจาคมหา ทานดุจฝนตกห่าใหญ่. พระโพธิสัตว์ทรงบริจาคทานมากมาย และประณีตทั้งนั้น มีข้าวและน้าเป็นต้นในโรง ทาน แก่ผู้ขอทั้งหลายตามความพอพระทัย ทุกๆ วัน ก็จริง ถึงดังนั้น หากพระองค์ยังไม่ทรงบริจาคทานแก่ผู้ ขอทั้งหลาย ก็จะไม่เสวยพระกระยาหารที่เตรียมไว้สาหรับพระองค์ แม้พระกระยาหารนั้นจะสมควรแก่ พระราชา. เหมือนสินค้าที่พ่อค้าซื้อจะไม่ขายในที่นั้นทันที จะรอไว้ขายในเทศกาล จะได้มีกาไรมาก มีผล ไพบูลย์ ฉันใด ของของตนก็ฉันนั้นตนเองยังไม่บริโภค ให้บุคคลผู้รับอื่นก่อน จักมีผลมาก จักมีส่วนหลาย ร้อย. เพราะฉะนั้น ตนเองไม่ควรบริโภค ควรให้ผู้อื่นก่อน ด้วยประการฉะนี้ . สมดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ให้ทานในสัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังทักษิณาร้อยเท่า ให้ทานในปุถุชนผู้เป็นทุศีล หวังได้พันเท่า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแม้อย่างอื่นไว้อีกมีอาทิว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลของการบริจาคทาน เหมือนอย่างที่เรารู้ คือ ไม่ให้ก่อนแล้วไม่พึงบริโภค. อนึ่ง จิตมีความตระหนี่เป็นมลทินของสัตว์เหล่านั้น ย่อมไม่ควบคุมตั้งไว้. ก้อนข้าวก้อนหลัง คา ข้าวคาหลัง พึงมีแก่สัตว์เหล่านั้น เมื่อยังไม่แบ่งจากก้อนข้าวคาข้าวนั้น ไม่ควรบริโภค. เรารู้อานาจประโยชน์นี้ คือรู้อานาจประโยชน์ รู้เหตุ กล่าวคือความที่ทานมีผลมาก และความที่ ทานเป็นปัจจัยแห่งสัมมาสัมโพธิญาณ. เราไม่ท้อถอยจากการให้ คือไม่ถอยกลับ ไม่หลีกเลี่ยงจากทานบารมี แม้แต่น้อย. เพื่ออะไร. เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ. คือพระสัพพัญญุตญาณ. ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์ เมื่อถูกมหาชนขับไล่พระบิดาไปอยู่บ้านคนจัณฑาล ได้ทรงประทาน
  • 5. 5 เสบียงอันควรให้ผ้านุ่งและผ้าห่ม. แม้พระบิดานั้นก็ไม่ได้เข้าพระนคร เมื่อพระโพธิสัตว์เสด็จไปนอกพระนคร เพื่อทอดพระเนตรพระอุทยาน. พระบิดาไม่ไหว้ ไม่ทาอัญชลีกรรมด้วยเห็นว่าเป็นบุตร แต่กล่าวว่า ขอให้ลูกจงมีอายุยืนนาน เถิด. แม้พระโพธิสัตว์ในวันที่เห็นพระบิดา ก็ทรงกระทาสัมมานะเป็นอย่างยิ่ง. พระโพธิสัตว์ทรง ครองราชสมบัติโดยธรรมอย่างนี้ เมื่อสวรรคตก็เสด็จสู่เทวโลกพร้อมด้วยบริษัท. ขัณฑหาละในครั้งนั้น ได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ . พระนางโคตมีเทวี คือพระนางมหามายา. พระนางจันทาราชธิดา คือพระมารดาพระราหุล. พระวาสุละ คือพระราหุล. พระนางเสลา คือพระนางอุบลวรรณา. พระสูระ คือพระมหากัสสป. พระภัททเสนะ คือพระมหาโมคคัลลานะ. พระสุริยกุมาร คือพระสารีบุตร. พระเจ้าจันทราช คือพระโลกนาถ. แม้ในที่นี้ ก็ควรเจาะจงกล่าวถึงบารมีที่เหลือของพระโพธิสัตว์นั้นตามสมควรโดยนัยดังกล่าวแล้ว ในก่อนนั้นแล. พึงเจาะจงกล่าวถึงคุณานุภาพมีอาทิว่า ในครั้งนั้น พระโพธิสัตว์แม้ทรงรู้ว่า ขัณฑหาละเป็นคนหยาบคายก็ทรงใช้ดุลยพินิจวินิจฉัยคดี โดยธรรมโดยเสมอ แม้ทรงทราบวิธีบูชายัญอย่างนั้นของขัณฑหาละ เพื่อประสงค์จะปลงพระชนม์พระองค์ ก็ มิได้มีจิตโกรธเคืองขัณฑหาละนั้น. แม้สามารถจะจับบริษัทของพระองค์ ซึ่งเป็นศัตรูของพระบิดา เมื่อพระ บิดาประสงค์จะทาพระองค์ให้เป็นบุรุษสัตว์เลี้ยงแล้ว ปลงพระชนม์เสีย ก็มิได้ใช้ตาแหน่งหน้าที่ในการลง อาชญา ด้วยทรงดาริว่า การพิโรธด้วยกรรมหนักไม่สมควรแก่คนเช่นเรา. เมื่อปุโรหิตถอดดาบออกจากฝักย่างเท้าเข้าไปเพื่อจะตัดศีรษะ เพราะพระองค์มีจิตแผ่เมตตาไป ในพระบิดาของพระองค์เสมอกับในพระโอรส และสรรพสัตว์ทั้งหลาย. เมื่อมหาชนฮือกันเข้าไปหมายจะปลงพระชนม์พระบิดา ตนเองเข้าสวมกอดพระบิดา ให้ชีวิต พระบิดานั้น. แม้เมื่อทรงบริจาคมหาทานเช่นกับทานของพระเวสสันดร ทุกๆ วัน ก็มิได้ทรงอิ่มด้วยทาน. การ ให้ของที่ควรให้แก่พระชนกผู้ถูกมหาชนขับไล่ให้ไปอยู่ในบ้านคนจัณฑาลแล้วทรงเลี้ยงดู. การให้มหาชน ตั้งอยู่ในการทาบุญ. จบอรรถกถาจันทกุมารจริยาที่ ๗ -----------------------------------------------------