SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
เนื้อหาสาระเพิ่มเติม
“มหัศจรรย์แห่งพืช”
รากฝอย (Fibrous root)
เป็นรากที่งอกออกจากโคนลา
ต้นเพื่อแทนรากแก้วที่ฝ่อไปพบ
มากในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเช่น ราก
ข้าว ข้าวโพด หญ้า หมาก
มะพร้าว
เป็นต้น
รากค้าจุน (Prop root หรือ Buttress root)
เป็นรากที่งอกจากโคน
ต้นหรือกิ่งบนดินแล้ว
หยั่งลงดินเพื่อพยุงลาต้น
เช่น รากข้าวโพดที่งอก
ออกจากโคนต้น รากเตย
ลาเจียกไทรย้อย แสม
โกงกาง
แสดงรากค้าจุนของโกงกาง
รากเกาะ (Climbing root)
เป็นรากที่แตกออก
จากข้อของลาต้นมา
เกาะตามหลัก เพื่อชู
ลาต้นขึ้นสูง เช่น
รากพลู พริกไทย
กล้วยไม้พลูด่าง
แสดงรากเกาะของต้นพลูด่าง
รากหายใจ (Pneumatophore หรือ Aerating root)
เป็นรากที่ยื่นขึ้นมา
จากดินหรือน้าเพื่อรับ
ออกซิเจน เช่น ราก
ลาพู แสม โกงกาง
และรากส่วนที่อยู่ใน
นวมคล้ายฟองน้าของ
ผักกระเฉดก็เป็นราก
หายใจโดยนวมจะ
เป็นที่เก็บอากาศและ
เป็นทุ่นลอยน้าด้วย
แสดงรากหายใจของต้นลาพู
6
รากปรสิต (Parasitic root)
เป็นรากของพืช
พวกปรสิตที่
สร้าง Haustoria
แทงเข้าไปในลา
ต้นของพืชที่เป็น
โฮสต์เพื่อแย่ง
น้าและอาหาร
จากโฮสต์เช่น
รากกาฝาก
ฝอยทอง เป็นต้น
แสดงรากกาฝาก (Faculty of Pharmaceutical Sciences, Chulalongkorn University, No Date)
รากสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthetic root)
เป็นรากที่แตกจากข้อ
ของลาต้นหรือกิ่งและ
อยู่ในอากาศจะมีสีเขียว
ของคลอโรฟิลล์จึงช่วย
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
เช่น รากกล้วยไม้
นอกจากนี้รากกล้วยไม้
ยังมีนวม (Velamen)
หุ้มตามขอบนอกของ
รากไว้เพื่อดูดความชื้น
และเก็บน้า
แสดงรากสังเคราะห์ด้วยแสงของต้นกล้วยไม้
รากสะสมอาหาร (Food storage root)
เป็นรากที่สะสมอาหารพวกแป้ง
โปรตีน หรือน้าตาลไว้จนราก
เปลี่ยนแปลงรูปร่างมีขนาดใหญ่
ซึ่งมักจะเรียกกันว่า“หัว” เช่น หัว
แครอท หัวผักกาด หรือหัวไชเท้า
หัวผักกาดแดงหรือแรดิช (Radish)
หัวบีท (Beet root) และหัวมันแกว
เป็นรากสะสมอาหารที่
เปลี่ยนแปลงมาจากรากแก้วส่วน
รากสะสมอาหารของมันเทศ รักเร่
กระชาย เปลี่ยนแปลงมาจากราก
แขนง แสดงรากสะสมอาหาร (โครงการตาราวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ มูลธินิ สอวน., 2547, หน้า 224)
รากหนาม (Thorn Root)
รากที่มีลักษณะเป็นหนาม
งอกมาจากบริเวณโคนต้น
ตอนงอกใหม่ ๆ เป็นราก
ปกติแต่ต่อมาเกิดเปลือก
แข็งทาให้มีลักษณะคล้าย
หนามแข็ง ช่วยป้องกัน
โคนต้นได้ปกติพบในพืช
ที่เจริญในที่น้าท่วมถึง เช่น
โกงกาง ส่วนในปาล์มบาง
ชนิดจะปรากฏรากหนาม
กรณีที่มีรากลอยหรือราก
ค้าจุน
แสดงรากหนามของต้นโกงกาง
ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือCreeping stem)
ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า
แตงโม บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้ว
ปักลงดินเพื่อยึดลาต้นให้ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลา
ต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการแพร่พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือ
น้านี้เรียกว่า สโตลอน(Stolon) หรือรันเนอร์ (Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป
(Twining stem หรือ Twiner) การ
พันอาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น
ต้นถั่ว ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ
ผักบุ้งฝรั่งบอระเพ็ด
พืชพวกนี้มีลาต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตามหลักหรือต้นไม้ที่อยู่
ติดกันวิธีการไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลายวิธีคือ
แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ
(Stem tendril หรือ Tendril climber)
มือเกาะจะบิดเป็นเกลียว
คล้ายสปริงเพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลม
พัดผ่านมือเกาะจะยืดหดได้ตัวอย่างเช่น
ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น แตงกวา
ตาลึง พวงชมพู กะทกรก ลัดดาลิ้น
มังกร เสาวรส โคกกระออม เป็นต้น
(บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่
เปลี่ยนแปลงไปจะทราบจากการสังเกต
เช่น ใบถั่วลันเตา บริเวณปลายใบ
เปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ)
แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
ใช้รากพัน (Root climber)
เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมา
บริเวณข้อยึดกับหลักหรือต้นไม้ต้นอื่น
ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง พริกไทยรากพืช
เหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทงรากเข้า
ไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวก
กาฝากหรือฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทง
รากเข้าไปในมัดท่อลาเลียงของพืชที่เกาะ
แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn)
หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้
ว่า สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการ
ไต่ขึ้นที่สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตราย
อีกด้วย เช่น หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือ
ตรุษจีนมะนาว มะกรูด และส้มชนิดต่าง ๆ
หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจากตาที่อยู่
บริเวณซอกใบ
หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลงมาจากใบ
หนามบางชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่งที่
เปลี่ยนแปลงไป แต่เกิดจากผิวนอกของลา
ต้นงอกออกมาเป็นหนาม เช่น หนามกุหลาบ
ส่วนต้นกระดังงา และการเวก มีขอเกี่ยวที่
เปลี่ยนแปลงมาจากลาต้นแล้วยังมีดอก
ออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือPhylloclade หรือ Cladode)
ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบ หรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว
ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกัน
เป็นท่อน ๆ นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็น
แผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้น
โปร่งฟ้า (Asparcus) ที่เห็นเป็นเส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียว
นั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบเกล็ดเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อ
นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า (Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้ง
แล้งกันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได
และพญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็ก ๆ ที่อยู่เป็นยอด
อ่อนหรือใบเล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือ
แตกออกจากยอดลาต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถ
เจริญไปเป็นต้นใหม่ได้ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด
ศรนารายณ์ เป็นต้น
แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดิน
เห็นข้อปล้องได้ชัดเจน ตามข้อมี
ใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์มี
ลักษณะเป็นเกล็ด เรียกว่าใบ
เกล็ด หุ้มตาเอาไว้มีรากงอกออก
จากเหง้า หรือแง่งนั้น ๆ ตาอาจ
แตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน
หรือเป็นลาต้นอยู่ใต้ดินก็ได้เช่น
หญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง
ว่านสะระแหน่ หญ้าแพรก
พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น
แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
ทูเบอร์ (Tuber)
เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมี
ปล้องเพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและราก
สะสมอาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดู
อ้วนใหญ่กว่าหัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะ
บุ๋มลงไป ตัวอย่างเช่นมันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น
และใต้ดินมีไรโซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทู
เบอร์ ดังในรูปที่ชี้ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้า
มีความชื้นพอเพียง ต้นใหม่จะงอกออกมาจาก
บริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมันเทศซึ่งเป็นรากไม่
สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่มีรอยบุ๋มได้
เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทูเบอร์
ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb)
เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลาต้นมี
ขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกันหลาย
ชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่ในใบ
เกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสม บริเวณส่วนล่างของลาต้นมีรากเส้น
เล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้น เมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาว จะพบใบ
เกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆเนื่องจากไม่มีอาหารสะสม
ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่นนอกชั้นในสุด
ของลาต้นเป็นส่วนยอด ถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วนยอดจะงอก
ออกมาเป็นใบสีเขียว
แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb)
ของต้นแสนพันล้อม
คอร์ม (Corm)
ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง
เช่นเดียวกับหัวกลีบ ลักษณะที่
แตกต่างกันคือเก็บอาหารไว้ในลาต้น
แทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ดลาต้นจึงมี
ลักษณะอวบใหญ่ ทางด้านล่างของลา
ต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ๆ เส้นที่ข้อมี
ใบเกล็ดบาง ๆ หุ้ม ตาแตกออกมาจาก
ข้อเป็นใบชูขึ้นสูงหรืออาจเป็นลาต้น
ใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น เผือก
ซ่อนกลิ่นฝรั่ง และแห้ว เป็นต้น
ใบสะสมอาหาร (Storage leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นที่เก็บสะสม
อาหาร จึงมีลักษณะอวบหนา ได้แก่ใบเลี้ยง
(Cotyledon) และใบพืชอีกหลายชนิด เช่น ใบ
ว่านหางจระเข้ หัวหอม หัวกระเทียม กาบ
กล้วย ส่วนกะหล่าปลีเก็บอาหารสะสมไว้ที่
เส้นใบ และก้านใบ
อนึ่งใบเลี้ยงเป็นใบใบแรกที่อยู่ในเมล็ด พืช
บางชนิดมีใบเลี้ยงขนาดใหญ่เนื่องจากการ
สะสมอาหารไว้ โดยดูดอาหารมาจากเอนโด
สเปิร์ม (Endosperm) เพื่อนาไปใช้ในการงอก
ของต้นอ่อน ใบเลี้ยงจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ใบ
เลี้ยงยังมีหน้าที่ปกคลุมเพื่อป้องกันยอดอ่อน
ไม่ให้เป็นอันตราย เมื่อยอดอ่อนแทงทะลุดิน
ขึ้นมา และเมื่อพ้นดินแล้วยังช่วยสังเคราะห์
อาหารอีกด้วย ในพืชบางชนิด
แสดงใบสะสมอาหารของต้นว่านหางจระเข้
ใบดอก (Floral leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปมีสี
สวยงามคล้ายกลีบดอก ทา
หน้าที่ช่วยล่อแมลง เช่น
หน้าวัว (เป็นส่วนที่เป็นแผ่นสี
แดงเรียกว่า Spathe) อุตพิด
คริสต์มาส เฟื่องฟ้า
แสดงใบดอกของต้นหน้าวัวและต้นเฟื่องฟ้ า
ใบประดับ (Bract)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไป ทาหน้าที่
ช่วยรองรับดอกหรือช่อดอก อยู่
บริเวณซอกใบ และมักมีสีเขียว แต่
อาจมีสีอื่นก็ได้ ใบประดับมิได้เป็น
ส่วนใดส่วนหนึ่งของดอก
ตัวอย่างเช่น กาบปลีของกล้วย
กาบเขียงของมะพร้าวและหมากซึ่ง
มีสีเขียว บางท่านจัดรวมใบดอก
และใบประดับไว้เป็นชนิดเดียวกัน
แต่ถ้ามีสีสวยงามเรียกว่า ใบดอก
แสดง ใบประดับที่เรียกว่า กาบเขียงของต้นหมาก
แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบเขียงของ
ต้นมะพร้าว
แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบปลี
ของต้นกล้วย
ใบเกล็ด (Scale leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนมาจากใบแท้ เพื่อทาหน้าที่
ป้องกันอันตรายให้แก่ตาและยอดอ่อน ใบ
เกล็ดไม่มีสีเขียว เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์
เช่น ใบเกล็ดของสนทะเลที่เป็นแผ่นเล็ก ๆ
ติดอยู่รอบ ๆ ข้อใบเกล็ดของโปร่งฟ้าเป็น
แผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อเช่นเดียวกัน ใบ
เกล็ด ของขิงข่า เผือก แห้วจีน เป็นต้น
นอกจากนี้ใบเกล็ดบางชนิดยังสะสมอาหาร
ไว้ด้วย ใบเกล็ดจึงมีขนาดใหญ่ เช่น หัว
หอม หัวกระเทียม
แสดง ใบเกล็ด (Scale leaf)
เกล็ดหุ้มตา (Bud scale)
เป็นใบที่
เปลี่ยนแปลงไปทา
หน้าที่หุ้มตาหรือ
คลุมตาไว้ เมื่อตา
เจริญเติบโตออกมา
จึงดันให้เกล็ดหุ้มตา
หลุดไปพบในต้น
ยาง จาปี สาเก เป็น
ต้น
แสดง เกล็ดตา (Bud scale)
มือเกาะ (Leaf tendrill)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือ
เกาะเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ขึ้น
สูง มือเกาะอาจเปลี่ยนมาจากใบ
บางส่วน หรือใบทั้งใบก็ได้
ตัวอย่างมือเกาะของถั่วลันเตา ถั่ว
หอม บานบุรีสีม่วง พวงแก้ว
ดุรั่น มะระ กะทกรก ดองดึง
หวายลิง เป็นต้น
แสดงมือเกาะ (Leaf tendrill) ของต้นกะทกรก
หนาม (Leaf spine)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์
ที่มากัดกิน พร้อมกับป้องกันการคายน้า เนื่องจากปากใบลด
น้อยลงกว่าปกติ หนามที่เกิดอาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งใบ
กลายเป็นหนาม หรือบางส่วนของใบกลายเป็นหนามก็ได้
ตัวอย่างเช่น หนามของต้นเหงือกปลาหมอเปลี่ยนแปลงมา
จากขอบใบและหูใบ หนามของต้นกระบองเพชรเปลี่ยนแปลง
มาจากใบหนามมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมาจากหูใบ หนาม
ของศรนารายณ์ (หรือต้นร้อยปี) เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ
เป็นต้น
28
แสดงใบเปลี่ยนแปลงเป็นหนามของต้นกระบองเพชร
ฟิลโลด (Phyllode หรือ Phyllodium )
บางส่วนของใบเปลี่ยนแปลง
ไปเป็นแผ่นแบนคล้ายใบแต่
แข็งแรงกว่าปกติ ทาให้ไม่มี
ตัวใบที่แท้จริง จึงลดการคาย
น้าได้ด้วย เช่น ใบกระถิน
ณรงค์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา
จากก้านใบ
แสดงใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นคล้ายใบ ของต้นระถินรณงค์
(Rakbankerd Limited, 2006)
ทุ่นลอย (Floating leaf)
พืชน้าบางชนิดมีการ
เปลี่ยนแปลงก้านใบให้
พองโตคล้ายทุ่น ภายใน
มีเนื้อเยื่อที่จัดตัวอย่าง
หลวม ๆ ทาให้มีช่อง
อากาศกว้างใหญ่
สามารถพยุงลาต้นให้
ลอยน้ามาได้ เช่น
ผักตบชวา
แสดงทุนลอย (Floating leaf) ของผักตบชวา
ใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ
ช่วยแพร่พันธุ์โดยบริเวณของ
ใบที่มีลักษณะเว้าเข้าเล็กน้อย
มีตา (Aventitious bud) ที่
งอกต้นเล็ก ๆ ออกมาได้
ตัวอย่างเช่น ใบของ
ต้นตายใบเป็น (หรือคว่าตาย
หงายเป็น) ต้นเศรษฐีพันล้าน
ต้นโคมญี่ปุ่น
แสดงใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ) ของต้นโคมญี่ปุ่ น
ใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดักแมลง หรือ
สัตว์ขนาดเล็ก ภายในกับดักมีต่อมสร้าง
เอนไซม์ประเภทโพรทีเอส (Protease) ที่ย่อย
โปรตีนสัตว์ที่ติดอยู่ในกับดักได้ พืชชนิดนี้มี
ใบปกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืช
ทั่ว ๆ ไป แต่พืชเหล่านี้มักอยู่ในที่มีความชื้น
มากกว่าปกติ อาจขาดธาตุอาหารบางชนิดจึง
ต้องมีส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดัก เช่น
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง (หรือน้าเต้าฤๅษี) ต้น
กาบหอยแครง ต้นหยาดน้าค้างต้นสาหร่ายข้าว
เหนียวหรือสาหร่ายนา (ไม่ใช่สาหร่าย แต่
เป็นพืชน้าขนาดเล็ก) เป็นต้น
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของ
ต้นหม้อข่าวหม้อแกงลิง (Carnivorous Plant Website, 2006)
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
ของต้นหยาดน้าค้าง (Carnivorous Plant Website, 2006)
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
ของต้นกาบหอยแครง (Carnivorous Plant Website, 2006)

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 

Viewers also liked

สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 

Similar to มหัศจรรย์พืช

หน้าที่และชนิดของราก
หน้าที่และชนิดของรากหน้าที่และชนิดของราก
หน้าที่และชนิดของรากsasithon147
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชPress Trade
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)Soda Soda
 
กล้วยไม้
กล้วยไม้กล้วยไม้
กล้วยไม้saisamorn
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจsasinabenz
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 

Similar to มหัศจรรย์พืช (20)

หน้าที่และชนิดของราก
หน้าที่และชนิดของรากหน้าที่และชนิดของราก
หน้าที่และชนิดของราก
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
 
กล้วยไม้
กล้วยไม้กล้วยไม้
กล้วยไม้
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
Raitai
RaitaiRaitai
Raitai
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Ita
ItaIta
Ita
 
Ita
ItaIta
Ita
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

มหัศจรรย์พืช

  • 3. รากค้าจุน (Prop root หรือ Buttress root) เป็นรากที่งอกจากโคน ต้นหรือกิ่งบนดินแล้ว หยั่งลงดินเพื่อพยุงลาต้น เช่น รากข้าวโพดที่งอก ออกจากโคนต้น รากเตย ลาเจียกไทรย้อย แสม โกงกาง แสดงรากค้าจุนของโกงกาง
  • 4. รากเกาะ (Climbing root) เป็นรากที่แตกออก จากข้อของลาต้นมา เกาะตามหลัก เพื่อชู ลาต้นขึ้นสูง เช่น รากพลู พริกไทย กล้วยไม้พลูด่าง แสดงรากเกาะของต้นพลูด่าง
  • 5. รากหายใจ (Pneumatophore หรือ Aerating root) เป็นรากที่ยื่นขึ้นมา จากดินหรือน้าเพื่อรับ ออกซิเจน เช่น ราก ลาพู แสม โกงกาง และรากส่วนที่อยู่ใน นวมคล้ายฟองน้าของ ผักกระเฉดก็เป็นราก หายใจโดยนวมจะ เป็นที่เก็บอากาศและ เป็นทุ่นลอยน้าด้วย แสดงรากหายใจของต้นลาพู
  • 6. 6 รากปรสิต (Parasitic root) เป็นรากของพืช พวกปรสิตที่ สร้าง Haustoria แทงเข้าไปในลา ต้นของพืชที่เป็น โฮสต์เพื่อแย่ง น้าและอาหาร จากโฮสต์เช่น รากกาฝาก ฝอยทอง เป็นต้น แสดงรากกาฝาก (Faculty of Pharmaceutical Sciences, Chulalongkorn University, No Date)
  • 7. รากสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthetic root) เป็นรากที่แตกจากข้อ ของลาต้นหรือกิ่งและ อยู่ในอากาศจะมีสีเขียว ของคลอโรฟิลล์จึงช่วย สังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น รากกล้วยไม้ นอกจากนี้รากกล้วยไม้ ยังมีนวม (Velamen) หุ้มตามขอบนอกของ รากไว้เพื่อดูดความชื้น และเก็บน้า แสดงรากสังเคราะห์ด้วยแสงของต้นกล้วยไม้
  • 8. รากสะสมอาหาร (Food storage root) เป็นรากที่สะสมอาหารพวกแป้ง โปรตีน หรือน้าตาลไว้จนราก เปลี่ยนแปลงรูปร่างมีขนาดใหญ่ ซึ่งมักจะเรียกกันว่า“หัว” เช่น หัว แครอท หัวผักกาด หรือหัวไชเท้า หัวผักกาดแดงหรือแรดิช (Radish) หัวบีท (Beet root) และหัวมันแกว เป็นรากสะสมอาหารที่ เปลี่ยนแปลงมาจากรากแก้วส่วน รากสะสมอาหารของมันเทศ รักเร่ กระชาย เปลี่ยนแปลงมาจากราก แขนง แสดงรากสะสมอาหาร (โครงการตาราวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ มูลธินิ สอวน., 2547, หน้า 224)
  • 9. รากหนาม (Thorn Root) รากที่มีลักษณะเป็นหนาม งอกมาจากบริเวณโคนต้น ตอนงอกใหม่ ๆ เป็นราก ปกติแต่ต่อมาเกิดเปลือก แข็งทาให้มีลักษณะคล้าย หนามแข็ง ช่วยป้องกัน โคนต้นได้ปกติพบในพืช ที่เจริญในที่น้าท่วมถึง เช่น โกงกาง ส่วนในปาล์มบาง ชนิดจะปรากฏรากหนาม กรณีที่มีรากลอยหรือราก ค้าจุน แสดงรากหนามของต้นโกงกาง
  • 10. ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือCreeping stem) ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า แตงโม บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้ว ปักลงดินเพื่อยึดลาต้นให้ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลา ต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการแพร่พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือ น้านี้เรียกว่า สโตลอน(Stolon) หรือรันเนอร์ (Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
  • 11. ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป (Twining stem หรือ Twiner) การ พันอาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น ต้นถั่ว ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ ผักบุ้งฝรั่งบอระเพ็ด พืชพวกนี้มีลาต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตามหลักหรือต้นไม้ที่อยู่ ติดกันวิธีการไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลายวิธีคือ แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
  • 12. ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็นเกลียว คล้ายสปริงเพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลม พัดผ่านมือเกาะจะยืดหดได้ตัวอย่างเช่น ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น แตงกวา ตาลึง พวงชมพู กะทกรก ลัดดาลิ้น มังกร เสาวรส โคกกระออม เป็นต้น (บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่ เปลี่ยนแปลงไปจะทราบจากการสังเกต เช่น ใบถั่วลันเตา บริเวณปลายใบ เปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ) แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
  • 13. ใช้รากพัน (Root climber) เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมา บริเวณข้อยึดกับหลักหรือต้นไม้ต้นอื่น ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง พริกไทยรากพืช เหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทงรากเข้า ไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวก กาฝากหรือฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทง รากเข้าไปในมัดท่อลาเลียงของพืชที่เกาะ แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
  • 14. ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn) หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้ ว่า สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการ ไต่ขึ้นที่สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตราย อีกด้วย เช่น หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือ ตรุษจีนมะนาว มะกรูด และส้มชนิดต่าง ๆ หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจากตาที่อยู่ บริเวณซอกใบ หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลงมาจากใบ หนามบางชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่งที่ เปลี่ยนแปลงไป แต่เกิดจากผิวนอกของลา ต้นงอกออกมาเป็นหนาม เช่น หนามกุหลาบ ส่วนต้นกระดังงา และการเวก มีขอเกี่ยวที่ เปลี่ยนแปลงมาจากลาต้นแล้วยังมีดอก ออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
  • 15. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือPhylloclade หรือ Cladode) ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบ หรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกัน เป็นท่อน ๆ นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็น แผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้น โปร่งฟ้า (Asparcus) ที่เห็นเป็นเส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียว นั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบเกล็ดเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อ นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า (Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้ง แล้งกันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได และพญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็ก ๆ ที่อยู่เป็นยอด อ่อนหรือใบเล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือ แตกออกจากยอดลาต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถ เจริญไปเป็นต้นใหม่ได้ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด ศรนารายณ์ เป็นต้น
  • 16. แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดิน เห็นข้อปล้องได้ชัดเจน ตามข้อมี ใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์มี ลักษณะเป็นเกล็ด เรียกว่าใบ เกล็ด หุ้มตาเอาไว้มีรากงอกออก จากเหง้า หรือแง่งนั้น ๆ ตาอาจ แตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน หรือเป็นลาต้นอยู่ใต้ดินก็ได้เช่น หญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง ว่านสะระแหน่ หญ้าแพรก พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
  • 17. ทูเบอร์ (Tuber) เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมี ปล้องเพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและราก สะสมอาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดู อ้วนใหญ่กว่าหัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะ บุ๋มลงไป ตัวอย่างเช่นมันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น และใต้ดินมีไรโซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทู เบอร์ ดังในรูปที่ชี้ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้า มีความชื้นพอเพียง ต้นใหม่จะงอกออกมาจาก บริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมันเทศซึ่งเป็นรากไม่ สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่มีรอยบุ๋มได้ เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทูเบอร์ ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
  • 18. หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลาต้นมี ขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกันหลาย ชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่ในใบ เกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสม บริเวณส่วนล่างของลาต้นมีรากเส้น เล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้น เมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาว จะพบใบ เกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆเนื่องจากไม่มีอาหารสะสม ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่นนอกชั้นในสุด ของลาต้นเป็นส่วนยอด ถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วนยอดจะงอก ออกมาเป็นใบสีเขียว แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb) ของต้นแสนพันล้อม
  • 19. คอร์ม (Corm) ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง เช่นเดียวกับหัวกลีบ ลักษณะที่ แตกต่างกันคือเก็บอาหารไว้ในลาต้น แทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ดลาต้นจึงมี ลักษณะอวบใหญ่ ทางด้านล่างของลา ต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ๆ เส้นที่ข้อมี ใบเกล็ดบาง ๆ หุ้ม ตาแตกออกมาจาก ข้อเป็นใบชูขึ้นสูงหรืออาจเป็นลาต้น ใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น เผือก ซ่อนกลิ่นฝรั่ง และแห้ว เป็นต้น
  • 20. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นที่เก็บสะสม อาหาร จึงมีลักษณะอวบหนา ได้แก่ใบเลี้ยง (Cotyledon) และใบพืชอีกหลายชนิด เช่น ใบ ว่านหางจระเข้ หัวหอม หัวกระเทียม กาบ กล้วย ส่วนกะหล่าปลีเก็บอาหารสะสมไว้ที่ เส้นใบ และก้านใบ อนึ่งใบเลี้ยงเป็นใบใบแรกที่อยู่ในเมล็ด พืช บางชนิดมีใบเลี้ยงขนาดใหญ่เนื่องจากการ สะสมอาหารไว้ โดยดูดอาหารมาจากเอนโด สเปิร์ม (Endosperm) เพื่อนาไปใช้ในการงอก ของต้นอ่อน ใบเลี้ยงจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ใบ เลี้ยงยังมีหน้าที่ปกคลุมเพื่อป้องกันยอดอ่อน ไม่ให้เป็นอันตราย เมื่อยอดอ่อนแทงทะลุดิน ขึ้นมา และเมื่อพ้นดินแล้วยังช่วยสังเคราะห์ อาหารอีกด้วย ในพืชบางชนิด แสดงใบสะสมอาหารของต้นว่านหางจระเข้
  • 21. ใบดอก (Floral leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปมีสี สวยงามคล้ายกลีบดอก ทา หน้าที่ช่วยล่อแมลง เช่น หน้าวัว (เป็นส่วนที่เป็นแผ่นสี แดงเรียกว่า Spathe) อุตพิด คริสต์มาส เฟื่องฟ้า แสดงใบดอกของต้นหน้าวัวและต้นเฟื่องฟ้ า
  • 22. ใบประดับ (Bract) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไป ทาหน้าที่ ช่วยรองรับดอกหรือช่อดอก อยู่ บริเวณซอกใบ และมักมีสีเขียว แต่ อาจมีสีอื่นก็ได้ ใบประดับมิได้เป็น ส่วนใดส่วนหนึ่งของดอก ตัวอย่างเช่น กาบปลีของกล้วย กาบเขียงของมะพร้าวและหมากซึ่ง มีสีเขียว บางท่านจัดรวมใบดอก และใบประดับไว้เป็นชนิดเดียวกัน แต่ถ้ามีสีสวยงามเรียกว่า ใบดอก แสดง ใบประดับที่เรียกว่า กาบเขียงของต้นหมาก
  • 24. ใบเกล็ด (Scale leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนมาจากใบแท้ เพื่อทาหน้าที่ ป้องกันอันตรายให้แก่ตาและยอดอ่อน ใบ เกล็ดไม่มีสีเขียว เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเลที่เป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อใบเกล็ดของโปร่งฟ้าเป็น แผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อเช่นเดียวกัน ใบ เกล็ด ของขิงข่า เผือก แห้วจีน เป็นต้น นอกจากนี้ใบเกล็ดบางชนิดยังสะสมอาหาร ไว้ด้วย ใบเกล็ดจึงมีขนาดใหญ่ เช่น หัว หอม หัวกระเทียม แสดง ใบเกล็ด (Scale leaf)
  • 25. เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) เป็นใบที่ เปลี่ยนแปลงไปทา หน้าที่หุ้มตาหรือ คลุมตาไว้ เมื่อตา เจริญเติบโตออกมา จึงดันให้เกล็ดหุ้มตา หลุดไปพบในต้น ยาง จาปี สาเก เป็น ต้น แสดง เกล็ดตา (Bud scale)
  • 26. มือเกาะ (Leaf tendrill) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือ เกาะเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ขึ้น สูง มือเกาะอาจเปลี่ยนมาจากใบ บางส่วน หรือใบทั้งใบก็ได้ ตัวอย่างมือเกาะของถั่วลันเตา ถั่ว หอม บานบุรีสีม่วง พวงแก้ว ดุรั่น มะระ กะทกรก ดองดึง หวายลิง เป็นต้น แสดงมือเกาะ (Leaf tendrill) ของต้นกะทกรก
  • 27. หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ ที่มากัดกิน พร้อมกับป้องกันการคายน้า เนื่องจากปากใบลด น้อยลงกว่าปกติ หนามที่เกิดอาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งใบ กลายเป็นหนาม หรือบางส่วนของใบกลายเป็นหนามก็ได้ ตัวอย่างเช่น หนามของต้นเหงือกปลาหมอเปลี่ยนแปลงมา จากขอบใบและหูใบ หนามของต้นกระบองเพชรเปลี่ยนแปลง มาจากใบหนามมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมาจากหูใบ หนาม ของศรนารายณ์ (หรือต้นร้อยปี) เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ เป็นต้น
  • 29. ฟิลโลด (Phyllode หรือ Phyllodium ) บางส่วนของใบเปลี่ยนแปลง ไปเป็นแผ่นแบนคล้ายใบแต่ แข็งแรงกว่าปกติ ทาให้ไม่มี ตัวใบที่แท้จริง จึงลดการคาย น้าได้ด้วย เช่น ใบกระถิน ณรงค์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา จากก้านใบ แสดงใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นคล้ายใบ ของต้นระถินรณงค์ (Rakbankerd Limited, 2006)
  • 30. ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิดมีการ เปลี่ยนแปลงก้านใบให้ พองโตคล้ายทุ่น ภายใน มีเนื้อเยื่อที่จัดตัวอย่าง หลวม ๆ ทาให้มีช่อง อากาศกว้างใหญ่ สามารถพยุงลาต้นให้ ลอยน้ามาได้ เช่น ผักตบชวา แสดงทุนลอย (Floating leaf) ของผักตบชวา
  • 31. ใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ ช่วยแพร่พันธุ์โดยบริเวณของ ใบที่มีลักษณะเว้าเข้าเล็กน้อย มีตา (Aventitious bud) ที่ งอกต้นเล็ก ๆ ออกมาได้ ตัวอย่างเช่น ใบของ ต้นตายใบเป็น (หรือคว่าตาย หงายเป็น) ต้นเศรษฐีพันล้าน ต้นโคมญี่ปุ่น แสดงใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ) ของต้นโคมญี่ปุ่ น
  • 32. ใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดักแมลง หรือ สัตว์ขนาดเล็ก ภายในกับดักมีต่อมสร้าง เอนไซม์ประเภทโพรทีเอส (Protease) ที่ย่อย โปรตีนสัตว์ที่ติดอยู่ในกับดักได้ พืชชนิดนี้มี ใบปกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืช ทั่ว ๆ ไป แต่พืชเหล่านี้มักอยู่ในที่มีความชื้น มากกว่าปกติ อาจขาดธาตุอาหารบางชนิดจึง ต้องมีส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดัก เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง (หรือน้าเต้าฤๅษี) ต้น กาบหอยแครง ต้นหยาดน้าค้างต้นสาหร่ายข้าว เหนียวหรือสาหร่ายนา (ไม่ใช่สาหร่าย แต่ เป็นพืชน้าขนาดเล็ก) เป็นต้น แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของ ต้นหม้อข่าวหม้อแกงลิง (Carnivorous Plant Website, 2006)
  • 33. แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของต้นหยาดน้าค้าง (Carnivorous Plant Website, 2006) แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของต้นกาบหอยแครง (Carnivorous Plant Website, 2006)