SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
การลาเลียงอาหารของพืช
• อาหารที่พืชสร้างขึ้น
ได้แก่ น้าตาล หรือ
สารประกอบชนิดอื่นๆ
• อาหารจะถูกลาเลียง
ไปตามโฟลเอม
(phloem) เพื่อนาไป
เลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืช
ที่กาลังจะเจริญ เช่น
บริเวณปลายยอด
บริเวณปลายราก หรือ
บริเวณที่เก็บสะสม
อาหาร เช่น ราก ผล
หรือหัว เป็นต้น By Thanyamon Chaturavitkul
การศึกษาการเคลื่อนย้ายอาหารในพืช
จากลักษณะการลาเลียงอาหารของโฟลเอ็ม ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านศึกษาและอธิบายวิธีการ
ลาเลียงอาหาร ดังนี้
• มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi),
1686 ทาการควั่นรอบเปลือกไม้ของลาต้น
เมื่อพืชเจริญระยะหนึ่งพบว่าเปลือกเหนือรอย
ควั่นจะพองออก
• ที จี เมสัน (T.G. Mason) และ อี เจ
มัสเคล (E.J. Maskel), 1928 พบว่าการ
ควั่นเปลือกของลาต้นไม่มีผลต่อการคายน้า
ของพืช แต่มีผลต่อการลาเลียงอาหาร
เนื่องจากไซเล็มยังสามารถลาเลียงน้าได้ ส่วน
เปลือกของลาต้นที่อยู่เหนือรอยควั่นพองออก
เนื่องจากมีการสะสมของน้าตาลที่ไม่สามารถ
ลาเลียงผ่านมายังด้านล่างของต้นไม้ได้ By Thanyamon Chaturavitkul
ถ้าควั่นเปลือกของลาต้นตรงบริเวณโคน ?
• อาจทาให้ต้นไม้ตายได้ เพราะไม่สามารถส่งอาหารไปเลี้ยงราก รากจะขาดอาหาร ทาให้รากตาย
จึงไม่สามารถลาเลียงน้าและสารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของพืชได้
• การควั่นต้นไม้นิยมใช้ในการตอนต้นไม้ โดยควั่นบริเวณกิ่ง แล้วขูดเนื้อเยื่อที่ติดกับเนื้อไม้ออกให้
หมด แล้วจึงนาดินเปียกๆ หรือโคลนไปพอก ที่ทาเช่นนี้เพื่อให้กิ่งไม้ที่อยู่เหนือรอยควั่นเป็นแหล่ง
สะสมอาหาร ช่วยทาให้รากแตกออกมาได้ By Thanyamon Chaturavitkul
• ซิมเมอร์แมน (Zimmerman) ได้ทาการทดลองโดยใช้เพลี้ยอ่อน โดยให้เพลี้ยอ่อนแทงงวงเข้าไป
ดูดของเหลวจากโฟลเอ็มของพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทางก้นของเพลี้ยอ่อน จากนั้นได้วาง
ยาสลบและตัดส่วนปากของเพลี้ยอ่อนออก พบว่ามีของเหลวจากโฟลเอ็มยังคงไหลออกมาตาม
ปากของเพลี้ยอ่อนอยู่ เมื่อเอาของเหลวที่ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่าส่วนใหญ่เป็น ซูโครส
By Thanyamon Chaturavitkul
การศึกษาการลาเลียงน้าตาลโดยใช้สารกัมมันตรังสี 14c
• ใช้สารกัมมันตรังสี คือ 14C ที่อยู่ในรูปของ
สารละลายคาร์บอนไดออกไซด์
• พืชรับ 14CO2 เข้าทางใบ เพื่อใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อดูว่าส่วนใด
ของพืชจะได้รับสารกัมมันตรังสี โดยให้เพลี้ยอ่อน
แทงงวงเข้าท่อโฟลเอ็มในตาแหน่งต่างๆ กัน
• ทาให้สามารถหาอัตราการเคลื่อนที่ของของ
น้าตาลในโฟลเอ็มได้จากแรงดันภายในซีฟทิวบ์จะ
ดันให้ของเหลวไหลออกมาจากรอยตัดของส่วน
ปาก พบว่าการเคลื่อนที่ของน้าตาลในโฟลเอ็มมี
ความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตรต่อชั่วโมง
• การลาเลียงน้าตาลซูโครสเกิดได้ทั้งสองทิศทาง
โดยลาเลียงจากแหล่งสร้าง (Source) ไปยัง
แหล่งใช้ (Sink)
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
สมมุติฐานการไหลของมวลสาร
(Mass flow hypothesis)
• แอ็นสท์ มึนซ์ (Ernst Munch) อธิบายการ
ลาเลียงอาหารในโฟลเอ็มว่าเกิดจากความแตกต่าง
ของแรงดันใน sieve tube member จาก
บริเวณแหล่งสร้างกับแหล่งรับ
• น้าตาลที่พืชสร้างขึ้นที่บริเวณใบจาก
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจะถูกเปลี่ยนเป็น
น้าตาลซูโครส โดยจะเคลื่อนย้ายจากเซลล์ที่สร้าง
ไปยัง phloem และถูกลาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ
ผ่านทาง sieve tube
• เซลล์ใบมีความเข้มข้นของน้าตาลสูง มีการ
ลาเลียงไปยังเซลล์ข้างเคียง และมีการลาเลียง
ต่อไปยังเซลล์ต่อๆ ไปจนถึงโฟลเอ็ม เกิดแรงดัน
ให้โมเลกุลน้าตาลเคลื่อนไปตามโฟลเอ็ม ไปยัง
เนื้อเยื่อที่มีความเข้มข้นของน้าตาลน้อยกว่า By Thanyamon Chaturavitkul
• การลาเลียงซูโครสจากแหล่งสร้างเข้าสู่ sieve-tube ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายใน
sieve tube เพิ่มขึ้น น้าจึงออสโมซิสเข้า sieve tube
• sieve tube มีแรงดันเต่งมากขึ้น ดันสารข้างในไปตามท่อ
• เมื่อมาถึงแหล่งรับ แรงดันใน sieve tube ลดลง น้าจะออสโมซิสสู่เซลล์ข้างเคียงที่แหล่งรับ
• น้าเข้าสู่ไซเล็ม ซึ่งจะลาเลียงจากแหล่งรับไปยังแหล่งสร้างอีก
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
By Thanyamon Chaturavitkul
ซูโครส (sucrose)
• พืชลาเลียงอาหารในรูปของซูโครส
• พืชเก็บสะสมอาหารในรูปของแป้ง
แป้ง (starch)
By Thanyamon Chaturavitkul

More Related Content

What's hot

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 

Similar to translocation in plant

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
Presentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งPresentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งkimkim2535
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

Similar to translocation in plant (18)

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Presentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งPresentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่ง
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 

translocation in plant

  • 1. การลาเลียงอาหารของพืช • อาหารที่พืชสร้างขึ้น ได้แก่ น้าตาล หรือ สารประกอบชนิดอื่นๆ • อาหารจะถูกลาเลียง ไปตามโฟลเอม (phloem) เพื่อนาไป เลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืช ที่กาลังจะเจริญ เช่น บริเวณปลายยอด บริเวณปลายราก หรือ บริเวณที่เก็บสะสม อาหาร เช่น ราก ผล หรือหัว เป็นต้น By Thanyamon Chaturavitkul
  • 2. การศึกษาการเคลื่อนย้ายอาหารในพืช จากลักษณะการลาเลียงอาหารของโฟลเอ็ม ได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านศึกษาและอธิบายวิธีการ ลาเลียงอาหาร ดังนี้ • มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi), 1686 ทาการควั่นรอบเปลือกไม้ของลาต้น เมื่อพืชเจริญระยะหนึ่งพบว่าเปลือกเหนือรอย ควั่นจะพองออก • ที จี เมสัน (T.G. Mason) และ อี เจ มัสเคล (E.J. Maskel), 1928 พบว่าการ ควั่นเปลือกของลาต้นไม่มีผลต่อการคายน้า ของพืช แต่มีผลต่อการลาเลียงอาหาร เนื่องจากไซเล็มยังสามารถลาเลียงน้าได้ ส่วน เปลือกของลาต้นที่อยู่เหนือรอยควั่นพองออก เนื่องจากมีการสะสมของน้าตาลที่ไม่สามารถ ลาเลียงผ่านมายังด้านล่างของต้นไม้ได้ By Thanyamon Chaturavitkul
  • 3. ถ้าควั่นเปลือกของลาต้นตรงบริเวณโคน ? • อาจทาให้ต้นไม้ตายได้ เพราะไม่สามารถส่งอาหารไปเลี้ยงราก รากจะขาดอาหาร ทาให้รากตาย จึงไม่สามารถลาเลียงน้าและสารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของพืชได้ • การควั่นต้นไม้นิยมใช้ในการตอนต้นไม้ โดยควั่นบริเวณกิ่ง แล้วขูดเนื้อเยื่อที่ติดกับเนื้อไม้ออกให้ หมด แล้วจึงนาดินเปียกๆ หรือโคลนไปพอก ที่ทาเช่นนี้เพื่อให้กิ่งไม้ที่อยู่เหนือรอยควั่นเป็นแหล่ง สะสมอาหาร ช่วยทาให้รากแตกออกมาได้ By Thanyamon Chaturavitkul
  • 4. • ซิมเมอร์แมน (Zimmerman) ได้ทาการทดลองโดยใช้เพลี้ยอ่อน โดยให้เพลี้ยอ่อนแทงงวงเข้าไป ดูดของเหลวจากโฟลเอ็มของพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทางก้นของเพลี้ยอ่อน จากนั้นได้วาง ยาสลบและตัดส่วนปากของเพลี้ยอ่อนออก พบว่ามีของเหลวจากโฟลเอ็มยังคงไหลออกมาตาม ปากของเพลี้ยอ่อนอยู่ เมื่อเอาของเหลวที่ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่าส่วนใหญ่เป็น ซูโครส By Thanyamon Chaturavitkul
  • 5. การศึกษาการลาเลียงน้าตาลโดยใช้สารกัมมันตรังสี 14c • ใช้สารกัมมันตรังสี คือ 14C ที่อยู่ในรูปของ สารละลายคาร์บอนไดออกไซด์ • พืชรับ 14CO2 เข้าทางใบ เพื่อใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อดูว่าส่วนใด ของพืชจะได้รับสารกัมมันตรังสี โดยให้เพลี้ยอ่อน แทงงวงเข้าท่อโฟลเอ็มในตาแหน่งต่างๆ กัน • ทาให้สามารถหาอัตราการเคลื่อนที่ของของ น้าตาลในโฟลเอ็มได้จากแรงดันภายในซีฟทิวบ์จะ ดันให้ของเหลวไหลออกมาจากรอยตัดของส่วน ปาก พบว่าการเคลื่อนที่ของน้าตาลในโฟลเอ็มมี ความเร็วประมาณ 100 เซนติเมตรต่อชั่วโมง • การลาเลียงน้าตาลซูโครสเกิดได้ทั้งสองทิศทาง โดยลาเลียงจากแหล่งสร้าง (Source) ไปยัง แหล่งใช้ (Sink) By Thanyamon Chaturavitkul
  • 7. สมมุติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis) • แอ็นสท์ มึนซ์ (Ernst Munch) อธิบายการ ลาเลียงอาหารในโฟลเอ็มว่าเกิดจากความแตกต่าง ของแรงดันใน sieve tube member จาก บริเวณแหล่งสร้างกับแหล่งรับ • น้าตาลที่พืชสร้างขึ้นที่บริเวณใบจาก กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจะถูกเปลี่ยนเป็น น้าตาลซูโครส โดยจะเคลื่อนย้ายจากเซลล์ที่สร้าง ไปยัง phloem และถูกลาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ผ่านทาง sieve tube • เซลล์ใบมีความเข้มข้นของน้าตาลสูง มีการ ลาเลียงไปยังเซลล์ข้างเคียง และมีการลาเลียง ต่อไปยังเซลล์ต่อๆ ไปจนถึงโฟลเอ็ม เกิดแรงดัน ให้โมเลกุลน้าตาลเคลื่อนไปตามโฟลเอ็ม ไปยัง เนื้อเยื่อที่มีความเข้มข้นของน้าตาลน้อยกว่า By Thanyamon Chaturavitkul
  • 8. • การลาเลียงซูโครสจากแหล่งสร้างเข้าสู่ sieve-tube ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายใน sieve tube เพิ่มขึ้น น้าจึงออสโมซิสเข้า sieve tube • sieve tube มีแรงดันเต่งมากขึ้น ดันสารข้างในไปตามท่อ • เมื่อมาถึงแหล่งรับ แรงดันใน sieve tube ลดลง น้าจะออสโมซิสสู่เซลล์ข้างเคียงที่แหล่งรับ • น้าเข้าสู่ไซเล็ม ซึ่งจะลาเลียงจากแหล่งรับไปยังแหล่งสร้างอีก By Thanyamon Chaturavitkul
  • 13. ซูโครส (sucrose) • พืชลาเลียงอาหารในรูปของซูโครส • พืชเก็บสะสมอาหารในรูปของแป้ง แป้ง (starch) By Thanyamon Chaturavitkul