SlideShare a Scribd company logo
การถ่ายละอองเรณูและการปฏิสนธิ
Double fertilization
egg + sperm nucleus  embryo (ต้นอ่อน)
polar nuclers + sperm nucleus  endosperm
1
2
ชนิดของผล
Ovule  เมล็ด (Seed) ovary  ผล (fruit)•
• ผนังรังไข่ เปลี่ยนแปลงไปเป็น ผนังผล (Pericarp) ที่มีลักษณะต่าง ๆ
ผนังมีเนื้อ เช่น แตงโม มะเขือเทศ เชอร์รี่
ผนังแห้ง เช่น ลาไย ลิ้นจี่
ผนังมีหนาม เช่น ทุเรียน สละ
ผนังมีขน เช่น เงาะ กีวี
ผนังมีต่อมน้ามัน เช่น มะกรูด มะนาว
ผนังมีเส้นใย เช่น มะพร้าว ตาล
ผลที่มีฐานรองดอก
เจริญร่วมด้วย เช่น ฝรั่ง
ชมพู่ สาลี่ แอปเปิ้ล
มะม่วงหิมพานต์
3
CLASSIFICATION OF FRUITS
4
เช่น ตะขบ ส้ม ทุเรียน ลิ้นจี่ เงาะ ลาไย องุ่น
กระถิน สละ มะพร้าว ข้าวโพด มังคุด มะปราง
มะละกอ แตงโม แตงไทย มะเฟอง มะยม
มะกอก
ผลเดี่ยว (simple fruit)
5
ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
เช่น บัวหลวง การเวก กระดังงา จาปี จาปา
กุหลาบ สตรอเบอร์รี่ น้อยหน่า 6
ผลรวม (multiple fruit)
เช่น สัปปะรด ยอ สาเก ขนุน หม่อน มะเดื่อ7
Parthenocarpic fruit
8
ผลที่มีฐานรองดอกเจริญร่วมด้วย
9
การเจริญและพัฒนาภายหลังการปฏิสนธิของพืชดอก
10
11
12
13
ส่วนประกอบของเมล็ด
• Seed coat ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับ embryo ที่อยู่ภายใน และยังช่วยป้องกันไม่ให้
เมล็ดงอกจนกว่าจะได้รับสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม
14
• Embryo เจริญมาจาก zygote
- radicle เป็นส่วนปลายสุดของแกน embryo เป็นส่วนแรกที่เจริญยืดออกมาเป็นรากอันแรก
ของพืช พืชบางชนิดมีเนื้อเยื่อห่อหุ้มรากแรกเกิด (coleorhiza) เช่น ข้าว ข้าวโพด
- hypocotyl ลาต้นใต้ใบเลี้ยง
- cotyladon อาจมี 1 ใบ(monocot) หรือ 2 ใบ(dicot) ติดบนปลาย hypocotyl บาง
ชนิดมีอาหารสะสมไว้เลี้ยงต้นกล้า เช่น ถั่ว บัว มะขาม มะม่วง และจาวมะพร้าว บางชนิดทา
หน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารให้กับต้นกล้าในระยะแรกก่อนใบแท้จะพัฒนาเต็มที่
- epicotyl เป็นส่วนของ embryo ที่อยู่เหนือใบเลี้ยง ซึ่งจะเจริญไปเป็นลาต้น และสร้างใบแท้
ในพืชบางชนิดมีเนื้อเยื่อพิเศษหุ้มยอดแรกเกิด (coleoptile)
• Endosperm ทาหน้าที่เก็บสะสมอาหาร เช่น แป้ง โปรตีน หรือไขมัน สาหรับการเจริญเติบโต
ของ embryo เช่น ข้าว ข้าวโพด ละหุ่ง บางชนิดเอนโดสเปิร์มไม่พัฒนาหรือพัฒนาน้อย เช่น
กล้วยไม้ บางชนิดถูกใช้เป็นอาหารระหว่างการพัฒนาเมื่อเมล็ดเจริญเต็มที่จึงไม่พบเอนโดสเปิร์ม
เพราะใบเลี้ยงทาหน้าที่เก็บสะสมอาหารแทน เช่น ถั่วชนิดต่าง ๆ
15
16
17
การงอกของเมล็ด
(germination of seeds)
18
19
ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด
ปัจจัยภายนอก
• ตัวแปรต้นของแต่ละการทดลองนี้คืออะไร
20
ปัจจัยทางกายภาพบางประการที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชชนิดหนึ่ง
• ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชชนิดนี้คืออะไร
• นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร
หลอดทดลอง ปัจจัยทางกายภาพ ผลการทดลอง
น้า อุณหภูมิ (C) อากาศ
ก ให้น้า 37 มี งอก
ข ไม่ให้น้า 37 มี ไม่งอก
ค ให้น้า 10 มี ไม่งอก
ง ให้น้า 37 ไม่มี ไม่งอก
21
• น้าหรือความชื้น ทาให้เปลือกเมล็ดอ่อนตัว น้าและแก๊สออกซิเจนผ่านเข้าไปในเมล็ดมากขึ้น
เป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีภายในเซลล์ เช่น กระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อย่อย
สลายอาหารที่สะสมในเมล็ด น้าเป็นตัวทาละลายสารและช่วยในการลาเลียงสารอาหารไปให้
เอ็มบริโอใช้ในการงอก
• ออกซิเจน ขณะงอกเมล็ดมีอัตราการหายใจสูงเพื่อใช้ในกระบวนการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้
พลังงาน แต่พืชบางชนิดสามารถงอกได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจนต่าความชื้นสูง เช่น พืชน้าบาง
ชนิด หรือบางชนิดจะไม่งอกเมื่อออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น วัชพืช
• อุณหภูมิ เมล็ดพืชแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกแตกต่างกัน
• แสง เมล็ดพืชบางชนิดจะงอกได้เมื่อมีแสง เช่น วัชพืชต่างๆ สาบเสือ ยาสูบ ผักกาดหอม ปอ
บางชนิดไม่ต้องการแสง เช่น ผักบุ้งจีน กระเจี๊ยบ แตงกวา ฝ้าย ข้าวโพด
22
ปัจจัยภายใน
• สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) เมล็ดพืชทั่วไปเมื่อได้รับสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
สภาพพักตัวจะหมดไปทาให้เอ็มบริโอสามารถเจริญเติบโตได้ บางชนิดมีสภาพพักตัวสั้นมาก
เช่น ขนุน มะละกอ มะขามเทศ, บางชนิดไม่มีสภาพักตัวเลย เช่น โกงกาง, บางชนิดมีสภาพ
พักตัวนานมาก แต่เมล็ดพืชบางชนิดแม้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมก็ยังอยู่ในสภาพพักตัว
1. เปลือกเมล็ด บางชนิดหนาและแข็งมากทาให้น้าไม่สามารถผ่านเข้าสู่ภายในเมล็ดได้ ใน
ธรรมชาติจะมีการทาลายสภาพพักตัว เช่น ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดิน(มะม่วง, ปาล์ม),
ผ่านระบบย่อยอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือนกแล้วถ่ายเป็นมูล(โพธิ์ ไทร ตะขบ),
ถูกไฟเผา(หญ้า ไผ่บางชนิด ตะเคียน สัก)
2. เปลือกเมล็ดมีสารซึ่งไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น ไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน แก้ไขโดยการ
แช่เมล็ดในน้า
3. เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้แก๊สออกซิเจนผ่าน เช่น พืชวงศ์หญ้าบางชนิด แก้ไขโดยใช้วิธีกล เช่น
ทุบทาให้เปลือกเมล็ดแตกออก 23
24
• Embryo เมล็ดไม่สามารถงอกได้หากเอ็มบริโอเจริญไม่เต็มที่จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่งเมล็ดจึงจะ
งอกได้ เช่น มะพร้าว วิธีแก้คือ ต้องทิ้งไว้ให้เอ็มบริโอเจริญเต็มที่อยู่ในผลเป็นระยะเวลาหนึ่ง
• Endosperm เมล็ดพืชบางชนิดมีน้อยมาก เช่น กล้วยไม้ จึงทาให้ไม่มีอาหารเพียงพอสาหรับ
เลี้ยงเอ็มบริโอระหว่างการงอก วิธีแก้คือ ในธรรมชาติพบว่ามีไมคอร์ไรซาบางชนิดเจริญร่วมกับ
เมล็ดเพื่อช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์, นาไปเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงและใส่สารกระตุ้นการงอก
• สารเคมี สารเคมีบางชนิดจะยับยั้งการงอกของเมล็ด เช่น กรดแอบไซซิกที่มีสมบัติยับยั้งการ
ทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการงอกเคลือบอยู่ วิธีแก้ไขคือ ฝนที่ตกหรือนาเมล็ดมาล้างน้า,
ใช้สารเร่งการงอก เช่น gibberellin ; GA, ตัดใบเลี้ยงของเอมบริโอ, ฤดูหนาวหรืออากาศ
เย็นทาให้กรดแอบไซซิกลดง GA หรือ cytokinin ที่ส่งเสริมการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้น
25
การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์
• การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มีหลายประการ เช่น ความสามารถในการ
งอกหรือความมีชีวิต, ความแข็งแรง, ความบริสุทธิ์, ความชื้น ฯลฯ
• การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ ใช้หลักการว่า เมล็ดใดที่มีความแข็งแรงมาก
ย่อมจะงอกได้เร็วกว่า
ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ = ผลบวกของ { }
- นับจานวนเมล็ดงอกทุกวันแล้วบันทึกจนกว่าจะไม่มีเมล็ดงอกเพิ่มอีก
- เปรียบเทียบกับพืชนิดเดียวกัน แต่จากหลายแหล่ง (จานวนเมล็ดเท่ากัน)
26
ตารางการงอกของต้นกล้าถั่วเหลืองจาก 3 แหล่ง
1. ดัชนีการงอกของถั่วเหลืองในแหล่ง A B และ C เป็นเท่าใดตามลาดับ
2. ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรไม่ควรเลือกเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมาปลูก เพราะเหตุใด 27
การอนุรักษ์พืชพันธุ์
• เก็บรักษาพันธุกรรมของพืช
• ใช้ขยายพันธุ์
• ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ในอนาคต
• ขั้นตอนการอนุรักษ์พันธุ์พืช
1. รวบรวมเมล็ดพันธุ์และบันทึกประวัติ
2. คัดขนาดเมล็ดพันธุ์
3. ทาความสะอาดและทดสอบการงอก
4. ทาเมล็ดให้แห้งและเก็บรักษาในภาชนะ
5. นาไปเก็บที่อุณหภูมิ -20 ถึง 0 C
(สามารถเก็บได้นาน 20 ปี)
ตัวอย่างห้องเก็บเมล็ดพันธุ์พืชที่อุณหภูมิ
-20 ถึง 0 C
ธนาคารเชื้อพันธุ์พืช จ.ปทุมธานี
28
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช
• การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชตามธรรมชาติโดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืช
29
เนื้อเยื่อจากส่วน ตัวอย่างพืช
ราก โมก ปีบ
ลาต้นใต้ดิน ขิง ข่า กล้วย ไผ่
ไหล ผักตบชวา บัวบก บัว สตรอเบอรี
ใบ กุหลาบหิน เศรษฐีหมื่นล้าน คว่าตายหงายเป็น
ช่อดอก ป่านศรนารายณ์ ขิงแดง
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (plant tissue culture) คือการนาเอาส่วนใดของพืช ได้แก่
อวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์ หรือเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ที่เรียกว่าโพรโตพลาสต์
(protoplast)ของพืช มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ (synthetic media) ซึ่ง
ประกอบด้วยเกลือ แร่ธาตุ น้าตาล วิตามิน และฮอร์โมนพืชในสภาพปลอดเชื้อ
(aseptic condition) จากเชื้อราและแบคทีเรีย และในสภาพแวดล้อมที่ควบคุม
เช่น อุณหภูมิ ความชื้น และแสงสว่าง
• ชิ้นส่วนของพืชที่เพาะเลี้ยงจะมีการเจริญได้ 3 รูปแบบ
1. เจริญเป็นต้นที่มีรากหรือบางทีก็มีดอก เรียกว่าเกิด organogenesis
2. เจริญเป็นแคลลัส (callus) ซึ่งเป็นกลุ่มของเซลล์ ส่วนใหญ่จะเป็น
parenchyma cell ที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นหรือรากแต่ก็สามารถเป็นต้นได้
3. เจริญไปเป็น embryoid ซึ่งมีลักษณะเหมือน embryo ที่ได้จาก zygote แต่
embryoid ได้มาจาก somatic cell จะเจริญเติบโตเป็นต้นที่มีรากต่อไป
30
• ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
1. ตัดแบ่งชิ้นส่วนพืชที่ฟอกฆ่าเชื้อแล้ว 2. ย้ายชิ้นส่วนลงในอาหารวุ้น
3. การเกิดแคลลัส 4. การชักนาให้เกิดต้น
5. การชักนาให้เกิดราก 6. ย้ายต้นที่ได้ไปปลูกในกระถาง
31
เมล็ดเทียม (artificial seed)
32
การวัดการเจริญเติบโตของพืช
• วิธีที่นิยมใช้ คือ การวัดมวลหรือน้าหนักของพืช
การวัดน้าหนักสด ไม่สามารถบอกมวลชีวภาพที่แท้จริงทั้งหมดเพราะมีน้าอยู่ด้วย
การวัดน้าหนักแห้ง ทาได้โดยการนาพืชทั้งต้นมาอบให้น้าระเหยหมด ได้ค่ามวล
ชีวภาพที่แท้จริง
• นอกจากนี้ยังใช้วิธีอื่น ๆ เช่น วัดความสูง, วัดเส้นรอบวงของลาต้น, นับจานวนใบ
33
กราฟแสดงการเจริญเติบโต
34
35
ดอกกล้วย
36
ดอกข้าว
37
ดอกข้าวโพด
38
ดอกชบา
39
Quiz จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จากภาพ จงเติมส่วนประกอบตามหมายเลขให้ถูกต้อง
40
2.1 จากภาพหมายเลขใดเมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้วจะเจริญเป็น endosperm
2.2 หมายเลขใดเมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้วจะกลายเป็นไซโกต
2.3 ถ้าหมายเลข 1 มีโครโมโซมเท่ากับ 36 หมายเลข 3 และ 2 มีโครโมโซมเท่าใด
41

More Related Content

What's hot

การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 

Viewers also liked

ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
Thanyamon Chat.
 
Hormone
HormoneHormone
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
Thanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
Thanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
Thanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
Thanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
Thanyamon Chat.
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
Thanyamon Chat.
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 

Viewers also liked (20)

ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar to การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก

บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
BewwyKh1
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
Wichai Likitponrak
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
Wichai Likitponrak
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 

Similar to การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก (20)

บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
2
22
2
 
1
11
1
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 

More from Thanyamon Chat.

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
Thanyamon Chat.
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
Thanyamon Chat.
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
Thanyamon Chat.
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
Thanyamon Chat.
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
Thanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
Thanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
Thanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
Thanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
Thanyamon Chat.
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
Thanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
Thanyamon Chat.
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Thanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (17)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก

  • 1. การถ่ายละอองเรณูและการปฏิสนธิ Double fertilization egg + sperm nucleus  embryo (ต้นอ่อน) polar nuclers + sperm nucleus  endosperm 1
  • 2. 2
  • 3. ชนิดของผล Ovule  เมล็ด (Seed) ovary  ผล (fruit)• • ผนังรังไข่ เปลี่ยนแปลงไปเป็น ผนังผล (Pericarp) ที่มีลักษณะต่าง ๆ ผนังมีเนื้อ เช่น แตงโม มะเขือเทศ เชอร์รี่ ผนังแห้ง เช่น ลาไย ลิ้นจี่ ผนังมีหนาม เช่น ทุเรียน สละ ผนังมีขน เช่น เงาะ กีวี ผนังมีต่อมน้ามัน เช่น มะกรูด มะนาว ผนังมีเส้นใย เช่น มะพร้าว ตาล ผลที่มีฐานรองดอก เจริญร่วมด้วย เช่น ฝรั่ง ชมพู่ สาลี่ แอปเปิ้ล มะม่วงหิมพานต์ 3
  • 5. เช่น ตะขบ ส้ม ทุเรียน ลิ้นจี่ เงาะ ลาไย องุ่น กระถิน สละ มะพร้าว ข้าวโพด มังคุด มะปราง มะละกอ แตงโม แตงไทย มะเฟอง มะยม มะกอก ผลเดี่ยว (simple fruit) 5
  • 6. ผลกลุ่ม (aggregate fruit) เช่น บัวหลวง การเวก กระดังงา จาปี จาปา กุหลาบ สตรอเบอร์รี่ น้อยหน่า 6
  • 7. ผลรวม (multiple fruit) เช่น สัปปะรด ยอ สาเก ขนุน หม่อน มะเดื่อ7
  • 11. 11
  • 12. 12
  • 13. 13
  • 14. ส่วนประกอบของเมล็ด • Seed coat ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับ embryo ที่อยู่ภายใน และยังช่วยป้องกันไม่ให้ เมล็ดงอกจนกว่าจะได้รับสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม 14
  • 15. • Embryo เจริญมาจาก zygote - radicle เป็นส่วนปลายสุดของแกน embryo เป็นส่วนแรกที่เจริญยืดออกมาเป็นรากอันแรก ของพืช พืชบางชนิดมีเนื้อเยื่อห่อหุ้มรากแรกเกิด (coleorhiza) เช่น ข้าว ข้าวโพด - hypocotyl ลาต้นใต้ใบเลี้ยง - cotyladon อาจมี 1 ใบ(monocot) หรือ 2 ใบ(dicot) ติดบนปลาย hypocotyl บาง ชนิดมีอาหารสะสมไว้เลี้ยงต้นกล้า เช่น ถั่ว บัว มะขาม มะม่วง และจาวมะพร้าว บางชนิดทา หน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารให้กับต้นกล้าในระยะแรกก่อนใบแท้จะพัฒนาเต็มที่ - epicotyl เป็นส่วนของ embryo ที่อยู่เหนือใบเลี้ยง ซึ่งจะเจริญไปเป็นลาต้น และสร้างใบแท้ ในพืชบางชนิดมีเนื้อเยื่อพิเศษหุ้มยอดแรกเกิด (coleoptile) • Endosperm ทาหน้าที่เก็บสะสมอาหาร เช่น แป้ง โปรตีน หรือไขมัน สาหรับการเจริญเติบโต ของ embryo เช่น ข้าว ข้าวโพด ละหุ่ง บางชนิดเอนโดสเปิร์มไม่พัฒนาหรือพัฒนาน้อย เช่น กล้วยไม้ บางชนิดถูกใช้เป็นอาหารระหว่างการพัฒนาเมื่อเมล็ดเจริญเต็มที่จึงไม่พบเอนโดสเปิร์ม เพราะใบเลี้ยงทาหน้าที่เก็บสะสมอาหารแทน เช่น ถั่วชนิดต่าง ๆ 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 19. 19
  • 21. ปัจจัยทางกายภาพบางประการที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชชนิดหนึ่ง • ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพืชชนิดนี้คืออะไร • นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร หลอดทดลอง ปัจจัยทางกายภาพ ผลการทดลอง น้า อุณหภูมิ (C) อากาศ ก ให้น้า 37 มี งอก ข ไม่ให้น้า 37 มี ไม่งอก ค ให้น้า 10 มี ไม่งอก ง ให้น้า 37 ไม่มี ไม่งอก 21
  • 22. • น้าหรือความชื้น ทาให้เปลือกเมล็ดอ่อนตัว น้าและแก๊สออกซิเจนผ่านเข้าไปในเมล็ดมากขึ้น เป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีภายในเซลล์ เช่น กระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อย่อย สลายอาหารที่สะสมในเมล็ด น้าเป็นตัวทาละลายสารและช่วยในการลาเลียงสารอาหารไปให้ เอ็มบริโอใช้ในการงอก • ออกซิเจน ขณะงอกเมล็ดมีอัตราการหายใจสูงเพื่อใช้ในกระบวนการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้ พลังงาน แต่พืชบางชนิดสามารถงอกได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจนต่าความชื้นสูง เช่น พืชน้าบาง ชนิด หรือบางชนิดจะไม่งอกเมื่อออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น วัชพืช • อุณหภูมิ เมล็ดพืชแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกแตกต่างกัน • แสง เมล็ดพืชบางชนิดจะงอกได้เมื่อมีแสง เช่น วัชพืชต่างๆ สาบเสือ ยาสูบ ผักกาดหอม ปอ บางชนิดไม่ต้องการแสง เช่น ผักบุ้งจีน กระเจี๊ยบ แตงกวา ฝ้าย ข้าวโพด 22
  • 23. ปัจจัยภายใน • สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) เมล็ดพืชทั่วไปเมื่อได้รับสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม สภาพพักตัวจะหมดไปทาให้เอ็มบริโอสามารถเจริญเติบโตได้ บางชนิดมีสภาพพักตัวสั้นมาก เช่น ขนุน มะละกอ มะขามเทศ, บางชนิดไม่มีสภาพักตัวเลย เช่น โกงกาง, บางชนิดมีสภาพ พักตัวนานมาก แต่เมล็ดพืชบางชนิดแม้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมก็ยังอยู่ในสภาพพักตัว 1. เปลือกเมล็ด บางชนิดหนาและแข็งมากทาให้น้าไม่สามารถผ่านเข้าสู่ภายในเมล็ดได้ ใน ธรรมชาติจะมีการทาลายสภาพพักตัว เช่น ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดิน(มะม่วง, ปาล์ม), ผ่านระบบย่อยอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือนกแล้วถ่ายเป็นมูล(โพธิ์ ไทร ตะขบ), ถูกไฟเผา(หญ้า ไผ่บางชนิด ตะเคียน สัก) 2. เปลือกเมล็ดมีสารซึ่งไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น ไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน แก้ไขโดยการ แช่เมล็ดในน้า 3. เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้แก๊สออกซิเจนผ่าน เช่น พืชวงศ์หญ้าบางชนิด แก้ไขโดยใช้วิธีกล เช่น ทุบทาให้เปลือกเมล็ดแตกออก 23
  • 24. 24
  • 25. • Embryo เมล็ดไม่สามารถงอกได้หากเอ็มบริโอเจริญไม่เต็มที่จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่งเมล็ดจึงจะ งอกได้ เช่น มะพร้าว วิธีแก้คือ ต้องทิ้งไว้ให้เอ็มบริโอเจริญเต็มที่อยู่ในผลเป็นระยะเวลาหนึ่ง • Endosperm เมล็ดพืชบางชนิดมีน้อยมาก เช่น กล้วยไม้ จึงทาให้ไม่มีอาหารเพียงพอสาหรับ เลี้ยงเอ็มบริโอระหว่างการงอก วิธีแก้คือ ในธรรมชาติพบว่ามีไมคอร์ไรซาบางชนิดเจริญร่วมกับ เมล็ดเพื่อช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์, นาไปเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงและใส่สารกระตุ้นการงอก • สารเคมี สารเคมีบางชนิดจะยับยั้งการงอกของเมล็ด เช่น กรดแอบไซซิกที่มีสมบัติยับยั้งการ ทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการงอกเคลือบอยู่ วิธีแก้ไขคือ ฝนที่ตกหรือนาเมล็ดมาล้างน้า, ใช้สารเร่งการงอก เช่น gibberellin ; GA, ตัดใบเลี้ยงของเอมบริโอ, ฤดูหนาวหรืออากาศ เย็นทาให้กรดแอบไซซิกลดง GA หรือ cytokinin ที่ส่งเสริมการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้น 25
  • 26. การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ • การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มีหลายประการ เช่น ความสามารถในการ งอกหรือความมีชีวิต, ความแข็งแรง, ความบริสุทธิ์, ความชื้น ฯลฯ • การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ ใช้หลักการว่า เมล็ดใดที่มีความแข็งแรงมาก ย่อมจะงอกได้เร็วกว่า ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ = ผลบวกของ { } - นับจานวนเมล็ดงอกทุกวันแล้วบันทึกจนกว่าจะไม่มีเมล็ดงอกเพิ่มอีก - เปรียบเทียบกับพืชนิดเดียวกัน แต่จากหลายแหล่ง (จานวนเมล็ดเท่ากัน) 26
  • 27. ตารางการงอกของต้นกล้าถั่วเหลืองจาก 3 แหล่ง 1. ดัชนีการงอกของถั่วเหลืองในแหล่ง A B และ C เป็นเท่าใดตามลาดับ 2. ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรไม่ควรเลือกเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมาปลูก เพราะเหตุใด 27
  • 28. การอนุรักษ์พืชพันธุ์ • เก็บรักษาพันธุกรรมของพืช • ใช้ขยายพันธุ์ • ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ในอนาคต • ขั้นตอนการอนุรักษ์พันธุ์พืช 1. รวบรวมเมล็ดพันธุ์และบันทึกประวัติ 2. คัดขนาดเมล็ดพันธุ์ 3. ทาความสะอาดและทดสอบการงอก 4. ทาเมล็ดให้แห้งและเก็บรักษาในภาชนะ 5. นาไปเก็บที่อุณหภูมิ -20 ถึง 0 C (สามารถเก็บได้นาน 20 ปี) ตัวอย่างห้องเก็บเมล็ดพันธุ์พืชที่อุณหภูมิ -20 ถึง 0 C ธนาคารเชื้อพันธุ์พืช จ.ปทุมธานี 28
  • 29. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช • การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชตามธรรมชาติโดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืช 29 เนื้อเยื่อจากส่วน ตัวอย่างพืช ราก โมก ปีบ ลาต้นใต้ดิน ขิง ข่า กล้วย ไผ่ ไหล ผักตบชวา บัวบก บัว สตรอเบอรี ใบ กุหลาบหิน เศรษฐีหมื่นล้าน คว่าตายหงายเป็น ช่อดอก ป่านศรนารายณ์ ขิงแดง
  • 30. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (plant tissue culture) คือการนาเอาส่วนใดของพืช ได้แก่ อวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์ หรือเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ที่เรียกว่าโพรโตพลาสต์ (protoplast)ของพืช มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ (synthetic media) ซึ่ง ประกอบด้วยเกลือ แร่ธาตุ น้าตาล วิตามิน และฮอร์โมนพืชในสภาพปลอดเชื้อ (aseptic condition) จากเชื้อราและแบคทีเรีย และในสภาพแวดล้อมที่ควบคุม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น และแสงสว่าง • ชิ้นส่วนของพืชที่เพาะเลี้ยงจะมีการเจริญได้ 3 รูปแบบ 1. เจริญเป็นต้นที่มีรากหรือบางทีก็มีดอก เรียกว่าเกิด organogenesis 2. เจริญเป็นแคลลัส (callus) ซึ่งเป็นกลุ่มของเซลล์ ส่วนใหญ่จะเป็น parenchyma cell ที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงไปเป็นต้นหรือรากแต่ก็สามารถเป็นต้นได้ 3. เจริญไปเป็น embryoid ซึ่งมีลักษณะเหมือน embryo ที่ได้จาก zygote แต่ embryoid ได้มาจาก somatic cell จะเจริญเติบโตเป็นต้นที่มีรากต่อไป 30
  • 31. • ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1. ตัดแบ่งชิ้นส่วนพืชที่ฟอกฆ่าเชื้อแล้ว 2. ย้ายชิ้นส่วนลงในอาหารวุ้น 3. การเกิดแคลลัส 4. การชักนาให้เกิดต้น 5. การชักนาให้เกิดราก 6. ย้ายต้นที่ได้ไปปลูกในกระถาง 31
  • 33. การวัดการเจริญเติบโตของพืช • วิธีที่นิยมใช้ คือ การวัดมวลหรือน้าหนักของพืช การวัดน้าหนักสด ไม่สามารถบอกมวลชีวภาพที่แท้จริงทั้งหมดเพราะมีน้าอยู่ด้วย การวัดน้าหนักแห้ง ทาได้โดยการนาพืชทั้งต้นมาอบให้น้าระเหยหมด ได้ค่ามวล ชีวภาพที่แท้จริง • นอกจากนี้ยังใช้วิธีอื่น ๆ เช่น วัดความสูง, วัดเส้นรอบวงของลาต้น, นับจานวนใบ 33
  • 35. 35
  • 40. Quiz จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จากภาพ จงเติมส่วนประกอบตามหมายเลขให้ถูกต้อง 40
  • 41. 2.1 จากภาพหมายเลขใดเมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้วจะเจริญเป็น endosperm 2.2 หมายเลขใดเมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้วจะกลายเป็นไซโกต 2.3 ถ้าหมายเลข 1 มีโครโมโซมเท่ากับ 36 หมายเลข 3 และ 2 มีโครโมโซมเท่าใด 41