SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
P a g e | 1
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 1 เรื่อง การกาหนดพื้นที่ศึกษาและการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์
การกาหนดพื้นที่ศึกษา (SITE SELECTION)
กาหนดพื้นที่ศึกษาเพื่อวัดค่าทางชีวมิติขนาด 30 เมตร x 30 เมตร โดยทาเครื่องหมายแสดงจุดศูนย์กลาง
ของบริเวณพื้นที่ศึกษา 30 เมตร x 30 เมตร โดยใช้ธง หรือเครื่องหมายอื่นๆ
วิธีการกาหนดและทาเครื่องหมายแสดงพื้นที่ศึกษาเพื่อวัดค่าทางชีวมิติ (ขนาด 30 เมตร x 30 เมตร)
1. ปักหลักหรือทาเครื่องหมายพื้นที่ที่ต้องการศึกษาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาด 30 เมตร x 30 เมตร
2. หาจุดศูนย์กลางของพื้นที่ศึกษาที่กาหนดขึ้น โดยวางตามเส้นทแยงมุม 2 เส้น จากมุมหนึ่งไปยังมุม
ตรงกันข้าม ตรงจุดของเส้น 2 เส้นที่ตัดกันให้ทาเครื่องหมายไว้
การวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์(GPS)
การหาพิกัดทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ศึกษา จะใช้เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมของระบบการกาหนด
ตาแหน่งบนโลก (Global Positioning System Receiver: GPS) หรือที่เรียกว่า จีพีเอส (GPS)
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมของระบบการกาหนดตาแหน่งบนโลก (GPS) คือเครื่องมือที่สามารถรับ
ข้อมูลโดยตรงจากดาวเทียมที่อยู่เหนือผิวโลก ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือดังกล่าวนี้ในการบอกตาแหน่ง โดยวัดค่า
ละติจูด (Latitude) ลองจิจูด (Longotude) และระดับความสูงจากระดับน้าทะเล
วิธีการหาพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วย GPS
สาหรับการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วยเครื่อง GPS ที่แสดงไว้ข้างล่างนี้เป็นการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์
โดยใช้เครื่อง GPS ยี่ห้อ GARMIN รุ่น GPS 12 ซึ่งการใช้ GPS ยี่ห้อ และรุ่นอื่นๆ จะมีวิธีการใช้ที่ต่างออกไป
ควรศึกษาวิธีการใช้ในคู่มือการใช้งาน GPS ที่มีมาด้วยอย่างละเอียดอีกครั้ง
P a g e | 2
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
P a g e | 3
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 2 เรื่อง การวัดการปกคลุมของเรือนยอดและพืชปกคลุมดิน
การวัดการปกคลุมของเรือนยอด และพืชปกคลุมดิน (CANOPY COVER AND GROUND COVER)
การวัดการปกคลุมของเรือนยอด และพืชปกคลุมดินจะใช้เดนซิโอมิเตอร์ (Densiometer)
P a g e | 4
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
P a g e | 5
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 3 เรื่อง การวัดความสูงและเส้นรอบวงของต้นไม้
การวัดความสูงของต้นไม้ (TREE HEIGHT)
การความสูงของวัตถุ เช่น วัดความสูงของต้นไม้ความสูงของตึก เป็นต้น นักเรียนอาจไม่สามารถวัดได้
โดยตรง เราสามารถใช้ไคลโนมิเตอร์ (Clinometer) ซึ่งเป็นเครื่องมือแบบง่ายๆ สาหรับวัดมุมเพื่อหาความสูงของ
วัตถุ มีเส้นโค้งวงกลมที่มีขีดแบ่งช่ององศาตั้งแต่ 0 ถึง 90 องศา ดูภาพที่1 เมื่อนักเรียนยกไคลโนมิเตอร์ขึ้นมอง
วัตถุผ่านหลอดพลาสติก เส้นเชือกที่ผูกน็อตโลหะ หรือ วงแหวน ไว้จะตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกมา
สัมผัสส่วนโค้งของวงกลมเกิดมุม BVW ซึ่งจะมีค่าเท่ากับมุม BAC ซึ่งเป็นมุมเงยของไคลโนมิเตอร์ นักเรียน
สามารถอ่านค่ามุม BVW ได้จากไคลโนมิเตอร์ ถ้านักเรียนทราบค่ามุมเงยและระยะทางที่ห่างจากวัตถุ นักเรียนก็
สามารถคานวณความสูงของวัตถุด้วยสมการอย่างง่ายได้
ภาพที่ 1 ไคลโนมิเตอร์
วิธีการตรวจวัด
ขั้นตอนที่ 1 เลือกต้นไม้
ในพื้นที่ศึกษาของนักเรียน ให้นักเรียนวัดความสูงของทั้งพืชพันธุ์เด่น (พืชพันธุ์ที่มีมากที่สุดในพื้นที่
ศึกษา) และพืชพันธุ์เด่นรอง (พืชพันธุ์ที่มีมากรองลงมาในพื้นที่ศึกษา)
1. ถ้าพืชพันธุ์เด่นในพื้นที่เป็นไม้ยืนต้น (คือต้นไม้ที่มีความสูงมากกว่า4-5เมตร)ให้เลือกตัวอย่างต้นไม้
เพื่อวัดความสูงต้นไม้จานวน 5 ต้น โดยเลือกต้นที่ใหญ่ที่สุดและเล็กที่สุดแต่มีเรือนยอดอยู่ในระดับสูง
อย่างละ 1 ต้น และต้นขนาดกลางอีก 3 ต้น และทาเครื่องหมายไว้
2. ถ้าพืชพันธุ์เด่นรองเป็นไม้ยืนต้นให้ใช้วิธีเดียวกับข้อ 1 แต่ถ้ามีน้อยกว่า 5 ต้น ให้รวมต้นไม้จากสปีชีส์
อื่นให้ครบ 5 ต้น แล้วทาเครื่องหมายไว้
P a g e | 6
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ขั้นตอนที่ 2 ใช้ไคลโนมิเตอร์วัดความสูง
1. เลือกต้นไม้ที่ต้องการตรวจวัดความสูง 1 ต้น ถ้าเป็นไปได้ควรเลือกต้นไม้ที่ตั้งอยู่บนพื้นระดับเดียวกับ
ผู้สังเกต เลื่อนระยะทางระหว่างผู้สังเกตให้ห่างจากโคนต้นไม้พอสมควร และบันทึกระยะทางจากผู้
สังเกตถึงโคนต้นไม้ไว้ระยะทางนี้ก็คือเส้น AC ดังภาพที่ 2
2. วัดและบันทึกความสูงระดับสายตาผู้สังเกตจนถึงพื้นดิน
3. มองผ่านหลอดพลาสติกบนไคลโนมิเตอร์ไปยังปลาย ยอดสุดของต้นไม้ เส้นเชือกที่ผูกน็อตโลหะ
หรือ วงแหวน ไว้จะตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกดังภาพที่ 2 จะทาให้เกิดมุมเงย BAC ดังภาพที่
1 จดบันทึกค่ามุมเงยไว้
ภาพที่ 2 การวัดความสูงของต้นไม้โดยการใช้ไคลโนมิเตอร์
ขั้นตอนที่ 3 คานวณความสูงของต้นไม้
ตัวอย่าง สมมติให้นักเรียนยืนห่างจากโคนต้นไม้เป็นระยะทาง 60 เมตร และมองจุดยอดสุดของต้นไม้
ผ่านไคลโนมิเตอร์ โดยตาของนักเรียนสูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร ซึ่งนักเรียนจะอ่านค่ามุมเงยได้24 องศา
วิธีการคานวณ
1. จากสมการการหาค่า TANGENT สามารถคานวณหาความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ระดับเหนือสายตา
ของนักเรียนจนถึงจุดยอดสุดของต้นไม้(BC) ได้
Tan A = BC/AC
จากสมการข้างบนนักเรียนสามารถแทนค่าได้ดังนี้
มุมเงย (Tan A) = Tan 24°
ระยะทางจากนักเรียนถึงโคนต้นไม้(AC) = 60 เมตร
ความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ระดับเหนือสายตาจนถึงจุดยอดสุดของต้นไม้(BC) คือ สิ่งที่ต้องการหา
P a g e | 7
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
Tan 24° = BC / 60
BC = 60 (Tan 24°)
BC = 60 (0.45) = 27 เมตร
2. หาความสูงของต้นไม้ทั้งต้น โดย
ความสูงของต้นไม้ทั้งต้น = ความสูงของ BC+ความสูงจากพื้นดินจนถึงระดับสายตาของ
นักเรียน
= 27 เมตร + 1.5 เมตร = 28.5 เมตร
การวัดเส้นรอบวงของต้นไม้ (TREE CURICUMFERENCE)
วิธีการตรวจวัด
ใช้สายวัดโอบรอบลาต้น ณ จุดที่สูงห่างจากระดับพื้นดิน 1.35 เมตร นักวิทยาศาสตร์เรียกการวัดนี้
ว่า Circumference at Breast Height (CBH) ดังภาพที่ 3
1. ทาการวัดต้นไม้ที่เป็นพืชพันธุ์เด่น 5 ต้น และใช้วิธีการเดียวกันนี้วัดกับพืชพันธุ์เด่นรองแต่ละ
ต้น
2. บันทึกขนาดรอบลาต้น (หน่วย cm) ลงในข้อมูลของใบบันทึกข้อมูลการวัดเส้นรอบวง
ภาพที่ 3 การวัดขนาดรอบลาต้น
P a g e | 8
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 4 เรื่อง การวัดมวลชีวภาพของพืชคลุมดิน
การวัดมวลชีวภาพของพืชคลุมดิน (GRAMINOID BIOMASS)
มวลชีวภาพของพืชคลุมดิน หมายถึง เนื้อสารของพืชที่ปกคลุมดินอยู่ ถ้ากลุ่มสปีชีส์พืชพันธุ์เด่นละพืช
พันธุ์เด่นรองในพื้นที่ศึกษาเป็นสปีชีส์พวกหญ้า นักเรียนจะต้องหามวลชีวภาพของหญ้า คือ มวลรวมของหญ้าที่
ยังมีชีวิตอยู่ (สีเขียว) และวัชพืชอื่นๆ ที่แห้ง (สีน้าตาล) ใน 1 ตารางเมตร ภายในพื้นที่ศึกษาของนักเรียน
วิธีการตรวจวัด
ขั้นตอนที่ 1 เลือกและทาเครื่องหมายพื้นที่เพื่อสุ่มตัวอย่าง 3 จุด
1. การสุ่มตัวอย่างพื้นที่ทาโดยให้นักเรียนใช้ผ้าผูกปิดตาเพื่อนคนใดคนหนึ่งเมื่อผูกเสร็จแล้ว ให้นักเรียน
ไปยืนตรงกลางพื้นที่แล้วครูจับตัวนักเรียนหมุนไปรอบตัวพร้อมกับให้นักเรียนเหวี่ยงถุงใส่ดินหรือ
เมล็ดพืชที่หาได้ง่าย เมื่อถุงไปตกบริเวณใด ให้ใช้จุดนั้นเป็นจุดสุ่มตัวอย่าง หรือพื้นที่ศึกษา
2. ใช้สายวัดทาเครื่องหมายแสดงพื้นที่จัตุรัสหนึ่งตารางเมตรบนพื้นที่
3. ทาแบบเดียวกันกับข้อ 1 และ 2 อีก 2 ครั้ง
ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมและตัดหญ้าตัวอย่างชนิดต่างๆ
1. ใช้กรรไกรสาหรับตัดกิ่งไม้มาตัดต้นหญ้าต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่บริเวณหนึ่งตารางเมตร ออกให้หมด เมื่อ
ตัดเสร็จแล้วในพื้นที่สี่เหลี่ยมนั้นจะไม่มีหญ้าเลยยกเว้นโคนต้น หรือตอที่ติดดิน (ต้นหญ้าหมายถึง
หญ้าที่ยังมีรากอยู่ในดิน อย่าเก็บใบไม้หญ้าหรือฟางที่ไม่ติดกับต้นไปด้วย)
2. แยกหญ้าที่ตัดได้ออกเป็น 2 พวก คือหญ้าสด และหญ้าแห้ง
3. นาหญ้าสดและหญ้าแห้งที่แยกใส่ถุงกระดาษสีน้าตาล แยกออกจากกันไม่ใช้ถุงพลาสติก หรืออาจจะ
ใช้ฟอล์ยแทนได้และเขียนชื่อติดไว้อย่างละเอียด ถ้าบริเวณที่ศึกษามีพืชขึ้นแพร่มากมายก็ใช้ถุงเล็กๆ
หลายๆ ใบ แทนที่จะใช้ถุงใหญ่เพียง 2 ถุง
ขั้นตอนที่ 3 เตรียมและชั่งหญ้าที่ตัดเป็นตัวอย่าง
1. นาถุงเข้าอบในเตาอบแห้ง ด้วยอุณหภูมิสูงไม่เกิน 50-70 องศาเซลเซียส แล้วชั่งมวลของแต่ละถุงใน
ทุกๆ วัน ตัวอย่างจะแห้งสนิท เมื่อนักเรียนเก็บค่ามวลได้เท่ากันในเวลา 2 วัน ติดกันก็แสดงว่าหญ้า
ตัวอย่างแห้งสนิทแล้ว
2. ชั่งแต่ละถุง ครั้งละ 1 ถุง นาของในถุงออกให้หมด และนาถุงเปล่ามาชั่งมวลของถุงเปล่าไปลบออก
จากมวลรวมเพื่อหามวลของหญ้า (ใช้ตาชั่งที่สามารถอ่านค่าได้แม่นยาถึงค่าบวกลบ 0.1 กรัม)
P a g e | 9
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ขั้นตอนที่ 4 บันทึกและรายงานสิ่งที่พบ
1. บันทึกมวลของพืชทั้งสีเขียว และสีน้าตาล จากทุกจุดศึกษาที่ได้ทาการสุ่มตัวอย่าง ใช้หน่วยเป็นกรัม
2. รายงานมวลของพืชทั้งสีเขียว และสีน้าตาลสาหรับทุกจุดสุ่มตัวอย่างทั้ง 3 พื้นที่
3. คานวณมวลเฉลี่ย (มวลชีวภาพ) ของพืชที่มีสีเขียว โดยรวมมวลทั้งหมดของตัวอย่างทั้ง3แล้วหารด้วย
3 จากนั้นบันทึกค่าของมวลเฉลี่ยนี้ลงในส่วนของข้อสรุปการวัดค่าทางชีวมิติของสิ่งปกคลุมดินหรือ
ใบบันทึกข้อมูล เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงและเปรียบเทียบในโอกาสต่อไป
4. คานวณมวลเฉลี่ย (มวลชีวภาพ) ของพืชที่มีสีน้าตาล โดยรวมมวลทั้งหมดของทั้ง 3 ตัวอย่างแล้วหาร
ด้วย 3 จากนั้นบันทึกค่าของมวลนี้ลงในส่วนของข้อสรุปการวัดค่าทางชีวมิติของสิ่งปกคลุมดินหรือ
ใบบันทึกข้อมูลการวัดมวลชีวภาพของหญ้า เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงและเปรียบเทียบในโอกาส
ต่อไป
P a g e | 10
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 5 เรื่อง การศึกษาการผลิตาของไม้ต้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
การศึกษาการผลิตาของไม้ต้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล (ฺBUDBURST)
ขั้นที่ 1 การเลือกชนิดของไม้ต้นและการกาหนดพื้นที่ศึกษา
ก่อนเริ่มดาเนินการตรวจวัดการผลิตาของไม้ต้นโดยใช้หลักวิธีดาเนินการ การผลิตาของไม้ต้น ควร
ศึกษาหลักวิธีการต่างๆ ดังนี้
 การเลือกและการวินิจฉัยชนิดของพืช (Species selection and Species identification)
 การเลือกพื้นที่ศึกษา (Site Selection)
 การทาเครื่องหมายและกาหนดพิกัดของไม้ต้นที่ทาการศึกษา (Tree label and Tree Location)
เมื่อดาเนินกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้แล้วจึงจะสามารถดาเนินการตรวจวัดโดยใช้หลักวิธีดาเนินการ การผลิ
ตาของไม้ต้นได้
การเลือกและการวินิจฉัยชนิดของพืช (Species selection and species identification)
ไม้ต้นที่เลือกจะต้องเป็นไม้ต้นพื้นเมือง (Native species) เป็นไม้ผลัดใบ (Deciduous Tree) ซึ่งคุ้นเคยกับ
สภาพภูมิอากาศในท้องถิ่นแล้ว และเป็นไม้ต้นที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) โดยต้องเคยติดดอกออกผล
มาแล้ว สาหรับการวินิจฉัยไม้ต้นให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนที่ใบและดอกของไม้ต้นจะร่วงไปเสียก่อน ซึ่ง
อาจจะต้องขอความอนุเคราะห์ช่วยเหลือจากนักวิชาการ พฤกษศาสตร์ด้านอนุกรมวิธานพืช ทั้งนี้เพื่อความ
ถูกต้องแม่นยา นอกจากนี้ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงช่วงระยะเวลาของการเริ่มการผลิตาของไม้ต้น ซึ่งโดยปกติจะเริ่ม
สังเกตได้ในช่วงปลายของฤดูหนาว ไปจนถึงย่างเข้าฤดูร้อน ซึ่งการผลิตาของไม้ต้นแต่ละชนิดพันธุ์ แต่ละต้นก็
จะไม่เท่ากัน ดังนั้นการออกไปสังเกตการผลิตาของไม้ต้นอย่างสม่าเสมอจะช่วยให้เราได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
การเลือกพื้นที่ศึกษา (Site selection)
ลักษณะของพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะใช้ในการเลือกเป็นพื้นที่ศึกษาควรคานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้
 เป็นพื้นที่ที่มีไม้ต้นที่ต้องการศึกษาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
 พื้นที่อยู่ในแนวระดับเดียวกัน
 พื้นที่นั้นต้องไม่ได้รับอิทธิพลจากการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ เช่น ไม่อยู่ใกล้แหล่งชลประทาน ไม่มีการ
ให้น้าให้ปุ๋ ยบารุง และเจริญเติบโตเองตามธรรมชาติเท่านั้น
 เป็นพื้นที่ที่สามารถเดินทางไปศึกษาได้สะดวก และปลอดภัย
P a g e | 11
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
การทาเครื่องหมายและกาหนดพิกัดของไม้ต้นที่ทาการศึกษา (Tree label and Tree Location)
ภายหลังจากที่เลือกชนิดของพืชและพื้นที่ศึกษาได้แล้ว จะต้องดาเนินการกาหนดพิกัดต้นพืชตัวอย่าง ทา
เครื่องหมายต้นตัวอย่างพืชทั้งหมดไว้เป็นสาคัญ การกาหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์หรือตาแหน่งของต้นพืช
สามารถใช้เครื่องมือที่เรียกว่าเครื่องวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Global Positioning System :GPS Receiver) โดย
บันทึกพิกัดของไม้ต้นด้วยละติจูด (Latitude) ลองจิจูด (Longitude) และความสูงเหนือระดับน้าทะเล (Altitude)
โดยเฉพาะสองประการแรกนั้นให้ใช้ระบบตัวเลขทศนิยมสี่ตาแหน่ง พร้อมกับการทาแผนที่พิกัดตาแหน่งไม้ต้น
ตัวอย่างประกอบด้วย ควรจะศึกษาไม้ต้นตัวอย่างอย่างน้อย 10 ตาแหน่ง (ต้น)
ขั้นที่ 2 การระบุและบรรยายลักษณะของพื้นที่ศึกษา
1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน วันที่เก็บข้อมูล และกาหนดชื่อพื้นที่ศึกษาลงในใบบันทึกกิจกรรม
2. ระบุระยะห่างและทิศทางระหว่างจุดตรวจวัดสภาพอากาศกับพื้นที่ศึกษา
3. เลือกไม้ต้นที่จะทาการศึกษา พร้อมทั้งระบุเลขที่ให้แก่ไม้ต้นแต่ละต้น โดยผูกธงและทาป้ายที่มี
ความคงทนและสามารถเห็นได้ชัดเจน และระบุพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูดและลองจิจูด) และความสูง
จากระดับน้าทะเลของพื้นที่ศึกษา (นักเรียนควรศึกษาอย่างน้อย 10 ต้น)
4. วัดความสูงและเส้นรอบวงของไม้ต้นแต่ละต้น (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง)
5. สร้างแผนภาพแสดงตาแหน่งและระยะห่างของไม้ต้นแต่ละต้นในพื้นที่ศึกษา
6. ให้นักเรียนยืน ณ ตาแหน่งกลางพื้นที่ศึกษา จากนั้นถ่ายภาพบริเวณพื้นที่ศึกษาในทิศทางหลักทั้ง 4
ทิศ ได้แก่ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้และทิศตะวันตก โดยใช้เข็มทิศช่วยในการหาทิศ
7. ระบุข้อมูลสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ของพื้นที่ศึกษา
ขั้นที่ 3 การศึกษาภาคสนาม
1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน และชื่อพื้นที่ศึกษาลงในใบบันทึกกิจกรรม
2. การกาหนดเวลาออกไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงการผลิตาของพืช จะต้องเริ่มขึ้นก่อนฤดูใบไม้ผลิ
ของพืชชนิดนั้นๆ จะเกิดขึ้น กาหนดแผนออกไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงของการผลิตา ควรจะทา
ก่อนที่จะมีการผลิตาของพืชนั้นสองสัปดาห์ ในแต่ละสัปดาห์ให้ออกไปสังเกตไม้ต้นอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 2 ครั้งเมื่อสังเกตเห็นอาการผลิตาเริ่มเกิดขึ้น ให้ออกไปสังเกตไม้ต้นทุกวันติดต่อกัน
จนกว่าไม้ต้นต้นสุดท้ายที่กาหนดไว้จะผลิตาเสร็จสิ้น ซึ่งสามารถออกไปสังเกตไม้ต้นได้ทุก
ช่วงเวลาที่สะดวก
P a g e | 12
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
3. ก่อนจะลงความเห็นว่าไม้ต้นต้นนั้นผลิตาหรือยังให้สังเกตว่ามีการผลิตาถึง 3 กิ่งเป็นอย่างน้อย และ
ควรจะเป็นกิ่งที่อยู่ต่างทิศทางกัน
4. การบันทึกข้อมูล ให้บันทึกวันที่ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศทุกครั้งที่ออกไปสังเกต
ไม้ต้น ซึ่งกาหนดไว้ชัดเจนในตารางบันทึกข้อมูล
ใส่ “ Y ” หากสังเกตว่ามีการผลิตาถึง 3 กิ่ง
ใส่ “ N ” หากสังเกตว่ามีการผลิตายังไม่ครบทั้ง 3 กิ่ง
ตัวอย่างสรุปแผนวิธีดาเนินการศึกษา
P a g e | 13
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
ใบความรู้ 6 เรื่อง การศึกษาพัฒนาการของใบและการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้นและไม้พุ่ม
การศึกษาพัฒนาการของใบ (Green up) ของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม
การศึกษาพัฒนาการของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม พืชที่ศึกษาจะต้องเป็นไม้ต้น (Tree) หรือไม้พุ่ม
(Shrub) ที่มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ในท้องที่ ต้องเป็นไม้ ผลัดใบ (Deciduous plant) คือใบจะร่วงไปเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูแล้ง
ทั้งนี้เนื่องจากพืชปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออกทางปากใบ ควรจะเลือกพืชต้นใดต้นหนึ่งในแหล่งศึกษา
เป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) แล้ว ซึ่งหมายความว่าพืชต้นนั้นออกดอกแล้ว
ความถี่ในการเก็บข้อมูล
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ควรเริ่มต้นล่วงหน้า 2 อาทิตย์ก่อนที่จะเริ่มพัฒนาการของใบของพืช
วิธีการตรวจวัด
สำหรับกำรสังเกตครั้งแรกเท่ำนั้น / จุดเริ่มต้น
1. เริ่มการศึกษาเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูกาล โดยการออกเยี่ยมและสังเกตไม้ต้นในช่วงแรก อย่างน้อยสัปดาห์
ละ 2 ครั้ง เมื่อสังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ให้ออกเยี่ยมไม้ต้นทุกวัน เวลาเดิม
2. เติมข้อมูลส่วนบนของใบบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์
3. เลือกกิ่งที่มีการเจริญสมบูรณ์แล้ว และต้องเป็นกิ่งที่อยู่ทางทิศใต้ของไม้ต้น ไม่มีร่มเงาของกิ่งอื่น ทา
เครื่องหมายกิ่งที่เลือกไว้ด้วยเทปกาว หรือเครื่องหมายอื่นที่ทนทาน
4. กาหนดตาแหน่งตาที่เลือก 1 ตา และ ตาข้างเคียงอีก 3 ตา ทาเครื่องหมาย
5. เขียนแผนที่ตาแหน่งของตาบนกิ่ง พร้อมระบุทิศในแผนที่
6. ถ่ายรูปตาแหน่งตาทั้ง 4 ไว้เป็นหลักฐานเทียบกับแผนที่ในข้อ 5
สำหรับกำรสังเกตทุกๆ ครั้ง
1. สังเกตตาแต่ละตา เมื่อสังเกตเห็น
 ตาเริ่มปริบวมให้บันทึกว่า “ตาเริ่ม ปริบวม”
 ถ้าตาผลิแล้วให้บันทึก “ผลิตา” (Budburst)
 ตาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้บันทึก ระยะพัก (Dormant)
P a g e | 14
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
2. วัดความยาวของตาที่เกิดการผลิตาในแต่ละตา โดยวัดความยาวของใบอ่อนไม่รวมก้านใบทุกวัน
ภาพที่ 1 วิธีวัดความยาวของใบ
3. บันทึกข้อมูลและบันทึกภาพทุกครั้ง ในทุกวันและเวลาเดียวกัน
4. บันทึกอุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ และ ความเข้มของแสง ในทุกวันและเวลาเดียวกันที่
ออกเยี่ยมไม้ต้น (ถ้าสามารถทาได้)
การศึกษาการเปลี่ยนสีของใบ (Green Down) ของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม
เพื่อสังเกตและรวบรวมข้อมูลการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม นักเรียนจะได้ติดตามสังเกต
การเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม ซึ่งพืชที่ศึกษาจะต้องเป็นไม้ต้น (Tree) หรือไม้พุ่ม (Shrub) ที่มีถิ่น
ดั้งเดิมอยู่ในท้องที่ ต้องเป็นไม้ผลัดใบ (Deciduous plant) คือใบจะร่วงไปเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูแล้ง ทั้งนี้เนื่องจากพืช
ปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออกทางปากใบ ควรจะเลือกพืชต้นใดต้นหนึ่งในแหล่งศึกษา เป็นพืชที่มีการ
เจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) แล้ว ซึ่งหมายความว่าพืชต้นนั้นออกดอกแล้ว
ความถี่ในการเก็บข้อมูล
อย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ เริ่มต้น 2 สัปดาห์ก่อนที่จะเริ่มมีการเปลี่ยนสีของใบของพืช ต่อเนื่องไป
เรื่อยๆ จนการเปลี่ยนแปลงสีของพืชสิ้นสุดลง หรือใบไม้หลุดร่วงไป
วิธีการตรวจวัด
สำหรับกำรสังเกตครั้งแรกเท่ำนั้น/จุดเริ่มต้น
P a g e | 15
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
1. เริ่มการศึกษาเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูกาล โดยการออกเยี่ยมและสังเกตไม้ต้นในช่วงแรกอย่างน้อยสัปดาห์
ละ 2 ครั้ง เมื่อสังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ให้ออกเยี่ยมไม้ต้นทุกวัน เวลาเดิม
2. เติมข้อมูลส่วนบนของใบบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์
3. เลือกกิ่งที่มีการเจริญสมบูรณ์แล้ว และต้องเป็นกิ่งที่อยู่ทางทิศใต้ของไม้ต้น ไม่มีร่มเงาของกิ่งอื่น ทา
เครื่องหมายกิ่งที่เลือกไว้ด้วยเทปกาว
4. กาหนดตาแหน่งใบที่เลือก 1 ใบ และ ใบข้างเคียงอีก 3 ใบ ทาเครื่องหมาย
5. เขียนแผนที่ตาแหน่งของใบบนกิ่ง พร้อมระบุทิศในแผนที่
6. ถ่ายรูปตาแหน่งใบทั้ง 4 ไว้เป็นหลักฐานเทียบกับแผนที่ในข้อ 5
สำหรับกำรสังเกตทุกๆ ครั้ง
1. บันทึกการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้โดยใช้คู่มือการจาแนกสีใบของ GLOBE ในการคาดคะเนสีเด่น
ของใบแต่ละใบ ตัวอย่าง เช่น ถ้าใบที่ 1 มีสีเด่นคือ 5 G 7/12 ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ และสีรองคือ
5YB ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ให้บันทึกสีของใบเป็น 5G 7/12 สาหรับการสังเกตในวันนั้น ในใบ
บันทึกข้อมูล
2. เทียบสี และบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้นและไม้พุ่ม ทุกวันเวลาเดียวกัน
 ถ้าใบหลุดร่วงไปแล้ว ให้รายงานว่า “ใบหลุดไปแล้ว”
 หรือรายงานสีที่สังเกตได้ไปเรื่อยๆ จนใบหยุดเปลี่ยนสี
P a g e | 16
ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่ม พืช
3. บันทึกภาพ ทุกครั้งที่ออกเยี่ยมไม้ต้น
4. บันทึกอุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ และ
ความเข้มของแสง ในทุกวันและเวลาเดียวกันที่ออก
เยี่ยมไม้ต้น (ถ้าสามารถทาได้)
ภาพที่ 2 คู่มือการจาแนกสีพืชของ GLOBE

More Related Content

What's hot

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

การสำรวจพืช Globe tu64

  • 1. P a g e | 1 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 1 เรื่อง การกาหนดพื้นที่ศึกษาและการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ การกาหนดพื้นที่ศึกษา (SITE SELECTION) กาหนดพื้นที่ศึกษาเพื่อวัดค่าทางชีวมิติขนาด 30 เมตร x 30 เมตร โดยทาเครื่องหมายแสดงจุดศูนย์กลาง ของบริเวณพื้นที่ศึกษา 30 เมตร x 30 เมตร โดยใช้ธง หรือเครื่องหมายอื่นๆ วิธีการกาหนดและทาเครื่องหมายแสดงพื้นที่ศึกษาเพื่อวัดค่าทางชีวมิติ (ขนาด 30 เมตร x 30 เมตร) 1. ปักหลักหรือทาเครื่องหมายพื้นที่ที่ต้องการศึกษาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ขนาด 30 เมตร x 30 เมตร 2. หาจุดศูนย์กลางของพื้นที่ศึกษาที่กาหนดขึ้น โดยวางตามเส้นทแยงมุม 2 เส้น จากมุมหนึ่งไปยังมุม ตรงกันข้าม ตรงจุดของเส้น 2 เส้นที่ตัดกันให้ทาเครื่องหมายไว้ การวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์(GPS) การหาพิกัดทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ศึกษา จะใช้เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมของระบบการกาหนด ตาแหน่งบนโลก (Global Positioning System Receiver: GPS) หรือที่เรียกว่า จีพีเอส (GPS) เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมของระบบการกาหนดตาแหน่งบนโลก (GPS) คือเครื่องมือที่สามารถรับ ข้อมูลโดยตรงจากดาวเทียมที่อยู่เหนือผิวโลก ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือดังกล่าวนี้ในการบอกตาแหน่ง โดยวัดค่า ละติจูด (Latitude) ลองจิจูด (Longotude) และระดับความสูงจากระดับน้าทะเล วิธีการหาพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วย GPS สาหรับการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วยเครื่อง GPS ที่แสดงไว้ข้างล่างนี้เป็นการวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ โดยใช้เครื่อง GPS ยี่ห้อ GARMIN รุ่น GPS 12 ซึ่งการใช้ GPS ยี่ห้อ และรุ่นอื่นๆ จะมีวิธีการใช้ที่ต่างออกไป ควรศึกษาวิธีการใช้ในคู่มือการใช้งาน GPS ที่มีมาด้วยอย่างละเอียดอีกครั้ง
  • 2. P a g e | 2 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช
  • 3. P a g e | 3 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 2 เรื่อง การวัดการปกคลุมของเรือนยอดและพืชปกคลุมดิน การวัดการปกคลุมของเรือนยอด และพืชปกคลุมดิน (CANOPY COVER AND GROUND COVER) การวัดการปกคลุมของเรือนยอด และพืชปกคลุมดินจะใช้เดนซิโอมิเตอร์ (Densiometer)
  • 4. P a g e | 4 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช
  • 5. P a g e | 5 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 3 เรื่อง การวัดความสูงและเส้นรอบวงของต้นไม้ การวัดความสูงของต้นไม้ (TREE HEIGHT) การความสูงของวัตถุ เช่น วัดความสูงของต้นไม้ความสูงของตึก เป็นต้น นักเรียนอาจไม่สามารถวัดได้ โดยตรง เราสามารถใช้ไคลโนมิเตอร์ (Clinometer) ซึ่งเป็นเครื่องมือแบบง่ายๆ สาหรับวัดมุมเพื่อหาความสูงของ วัตถุ มีเส้นโค้งวงกลมที่มีขีดแบ่งช่ององศาตั้งแต่ 0 ถึง 90 องศา ดูภาพที่1 เมื่อนักเรียนยกไคลโนมิเตอร์ขึ้นมอง วัตถุผ่านหลอดพลาสติก เส้นเชือกที่ผูกน็อตโลหะ หรือ วงแหวน ไว้จะตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกมา สัมผัสส่วนโค้งของวงกลมเกิดมุม BVW ซึ่งจะมีค่าเท่ากับมุม BAC ซึ่งเป็นมุมเงยของไคลโนมิเตอร์ นักเรียน สามารถอ่านค่ามุม BVW ได้จากไคลโนมิเตอร์ ถ้านักเรียนทราบค่ามุมเงยและระยะทางที่ห่างจากวัตถุ นักเรียนก็ สามารถคานวณความสูงของวัตถุด้วยสมการอย่างง่ายได้ ภาพที่ 1 ไคลโนมิเตอร์ วิธีการตรวจวัด ขั้นตอนที่ 1 เลือกต้นไม้ ในพื้นที่ศึกษาของนักเรียน ให้นักเรียนวัดความสูงของทั้งพืชพันธุ์เด่น (พืชพันธุ์ที่มีมากที่สุดในพื้นที่ ศึกษา) และพืชพันธุ์เด่นรอง (พืชพันธุ์ที่มีมากรองลงมาในพื้นที่ศึกษา) 1. ถ้าพืชพันธุ์เด่นในพื้นที่เป็นไม้ยืนต้น (คือต้นไม้ที่มีความสูงมากกว่า4-5เมตร)ให้เลือกตัวอย่างต้นไม้ เพื่อวัดความสูงต้นไม้จานวน 5 ต้น โดยเลือกต้นที่ใหญ่ที่สุดและเล็กที่สุดแต่มีเรือนยอดอยู่ในระดับสูง อย่างละ 1 ต้น และต้นขนาดกลางอีก 3 ต้น และทาเครื่องหมายไว้ 2. ถ้าพืชพันธุ์เด่นรองเป็นไม้ยืนต้นให้ใช้วิธีเดียวกับข้อ 1 แต่ถ้ามีน้อยกว่า 5 ต้น ให้รวมต้นไม้จากสปีชีส์ อื่นให้ครบ 5 ต้น แล้วทาเครื่องหมายไว้
  • 6. P a g e | 6 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ขั้นตอนที่ 2 ใช้ไคลโนมิเตอร์วัดความสูง 1. เลือกต้นไม้ที่ต้องการตรวจวัดความสูง 1 ต้น ถ้าเป็นไปได้ควรเลือกต้นไม้ที่ตั้งอยู่บนพื้นระดับเดียวกับ ผู้สังเกต เลื่อนระยะทางระหว่างผู้สังเกตให้ห่างจากโคนต้นไม้พอสมควร และบันทึกระยะทางจากผู้ สังเกตถึงโคนต้นไม้ไว้ระยะทางนี้ก็คือเส้น AC ดังภาพที่ 2 2. วัดและบันทึกความสูงระดับสายตาผู้สังเกตจนถึงพื้นดิน 3. มองผ่านหลอดพลาสติกบนไคลโนมิเตอร์ไปยังปลาย ยอดสุดของต้นไม้ เส้นเชือกที่ผูกน็อตโลหะ หรือ วงแหวน ไว้จะตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกดังภาพที่ 2 จะทาให้เกิดมุมเงย BAC ดังภาพที่ 1 จดบันทึกค่ามุมเงยไว้ ภาพที่ 2 การวัดความสูงของต้นไม้โดยการใช้ไคลโนมิเตอร์ ขั้นตอนที่ 3 คานวณความสูงของต้นไม้ ตัวอย่าง สมมติให้นักเรียนยืนห่างจากโคนต้นไม้เป็นระยะทาง 60 เมตร และมองจุดยอดสุดของต้นไม้ ผ่านไคลโนมิเตอร์ โดยตาของนักเรียนสูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร ซึ่งนักเรียนจะอ่านค่ามุมเงยได้24 องศา วิธีการคานวณ 1. จากสมการการหาค่า TANGENT สามารถคานวณหาความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ระดับเหนือสายตา ของนักเรียนจนถึงจุดยอดสุดของต้นไม้(BC) ได้ Tan A = BC/AC จากสมการข้างบนนักเรียนสามารถแทนค่าได้ดังนี้ มุมเงย (Tan A) = Tan 24° ระยะทางจากนักเรียนถึงโคนต้นไม้(AC) = 60 เมตร ความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ระดับเหนือสายตาจนถึงจุดยอดสุดของต้นไม้(BC) คือ สิ่งที่ต้องการหา
  • 7. P a g e | 7 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช Tan 24° = BC / 60 BC = 60 (Tan 24°) BC = 60 (0.45) = 27 เมตร 2. หาความสูงของต้นไม้ทั้งต้น โดย ความสูงของต้นไม้ทั้งต้น = ความสูงของ BC+ความสูงจากพื้นดินจนถึงระดับสายตาของ นักเรียน = 27 เมตร + 1.5 เมตร = 28.5 เมตร การวัดเส้นรอบวงของต้นไม้ (TREE CURICUMFERENCE) วิธีการตรวจวัด ใช้สายวัดโอบรอบลาต้น ณ จุดที่สูงห่างจากระดับพื้นดิน 1.35 เมตร นักวิทยาศาสตร์เรียกการวัดนี้ ว่า Circumference at Breast Height (CBH) ดังภาพที่ 3 1. ทาการวัดต้นไม้ที่เป็นพืชพันธุ์เด่น 5 ต้น และใช้วิธีการเดียวกันนี้วัดกับพืชพันธุ์เด่นรองแต่ละ ต้น 2. บันทึกขนาดรอบลาต้น (หน่วย cm) ลงในข้อมูลของใบบันทึกข้อมูลการวัดเส้นรอบวง ภาพที่ 3 การวัดขนาดรอบลาต้น
  • 8. P a g e | 8 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 4 เรื่อง การวัดมวลชีวภาพของพืชคลุมดิน การวัดมวลชีวภาพของพืชคลุมดิน (GRAMINOID BIOMASS) มวลชีวภาพของพืชคลุมดิน หมายถึง เนื้อสารของพืชที่ปกคลุมดินอยู่ ถ้ากลุ่มสปีชีส์พืชพันธุ์เด่นละพืช พันธุ์เด่นรองในพื้นที่ศึกษาเป็นสปีชีส์พวกหญ้า นักเรียนจะต้องหามวลชีวภาพของหญ้า คือ มวลรวมของหญ้าที่ ยังมีชีวิตอยู่ (สีเขียว) และวัชพืชอื่นๆ ที่แห้ง (สีน้าตาล) ใน 1 ตารางเมตร ภายในพื้นที่ศึกษาของนักเรียน วิธีการตรวจวัด ขั้นตอนที่ 1 เลือกและทาเครื่องหมายพื้นที่เพื่อสุ่มตัวอย่าง 3 จุด 1. การสุ่มตัวอย่างพื้นที่ทาโดยให้นักเรียนใช้ผ้าผูกปิดตาเพื่อนคนใดคนหนึ่งเมื่อผูกเสร็จแล้ว ให้นักเรียน ไปยืนตรงกลางพื้นที่แล้วครูจับตัวนักเรียนหมุนไปรอบตัวพร้อมกับให้นักเรียนเหวี่ยงถุงใส่ดินหรือ เมล็ดพืชที่หาได้ง่าย เมื่อถุงไปตกบริเวณใด ให้ใช้จุดนั้นเป็นจุดสุ่มตัวอย่าง หรือพื้นที่ศึกษา 2. ใช้สายวัดทาเครื่องหมายแสดงพื้นที่จัตุรัสหนึ่งตารางเมตรบนพื้นที่ 3. ทาแบบเดียวกันกับข้อ 1 และ 2 อีก 2 ครั้ง ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมและตัดหญ้าตัวอย่างชนิดต่างๆ 1. ใช้กรรไกรสาหรับตัดกิ่งไม้มาตัดต้นหญ้าต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่บริเวณหนึ่งตารางเมตร ออกให้หมด เมื่อ ตัดเสร็จแล้วในพื้นที่สี่เหลี่ยมนั้นจะไม่มีหญ้าเลยยกเว้นโคนต้น หรือตอที่ติดดิน (ต้นหญ้าหมายถึง หญ้าที่ยังมีรากอยู่ในดิน อย่าเก็บใบไม้หญ้าหรือฟางที่ไม่ติดกับต้นไปด้วย) 2. แยกหญ้าที่ตัดได้ออกเป็น 2 พวก คือหญ้าสด และหญ้าแห้ง 3. นาหญ้าสดและหญ้าแห้งที่แยกใส่ถุงกระดาษสีน้าตาล แยกออกจากกันไม่ใช้ถุงพลาสติก หรืออาจจะ ใช้ฟอล์ยแทนได้และเขียนชื่อติดไว้อย่างละเอียด ถ้าบริเวณที่ศึกษามีพืชขึ้นแพร่มากมายก็ใช้ถุงเล็กๆ หลายๆ ใบ แทนที่จะใช้ถุงใหญ่เพียง 2 ถุง ขั้นตอนที่ 3 เตรียมและชั่งหญ้าที่ตัดเป็นตัวอย่าง 1. นาถุงเข้าอบในเตาอบแห้ง ด้วยอุณหภูมิสูงไม่เกิน 50-70 องศาเซลเซียส แล้วชั่งมวลของแต่ละถุงใน ทุกๆ วัน ตัวอย่างจะแห้งสนิท เมื่อนักเรียนเก็บค่ามวลได้เท่ากันในเวลา 2 วัน ติดกันก็แสดงว่าหญ้า ตัวอย่างแห้งสนิทแล้ว 2. ชั่งแต่ละถุง ครั้งละ 1 ถุง นาของในถุงออกให้หมด และนาถุงเปล่ามาชั่งมวลของถุงเปล่าไปลบออก จากมวลรวมเพื่อหามวลของหญ้า (ใช้ตาชั่งที่สามารถอ่านค่าได้แม่นยาถึงค่าบวกลบ 0.1 กรัม)
  • 9. P a g e | 9 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ขั้นตอนที่ 4 บันทึกและรายงานสิ่งที่พบ 1. บันทึกมวลของพืชทั้งสีเขียว และสีน้าตาล จากทุกจุดศึกษาที่ได้ทาการสุ่มตัวอย่าง ใช้หน่วยเป็นกรัม 2. รายงานมวลของพืชทั้งสีเขียว และสีน้าตาลสาหรับทุกจุดสุ่มตัวอย่างทั้ง 3 พื้นที่ 3. คานวณมวลเฉลี่ย (มวลชีวภาพ) ของพืชที่มีสีเขียว โดยรวมมวลทั้งหมดของตัวอย่างทั้ง3แล้วหารด้วย 3 จากนั้นบันทึกค่าของมวลเฉลี่ยนี้ลงในส่วนของข้อสรุปการวัดค่าทางชีวมิติของสิ่งปกคลุมดินหรือ ใบบันทึกข้อมูล เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงและเปรียบเทียบในโอกาสต่อไป 4. คานวณมวลเฉลี่ย (มวลชีวภาพ) ของพืชที่มีสีน้าตาล โดยรวมมวลทั้งหมดของทั้ง 3 ตัวอย่างแล้วหาร ด้วย 3 จากนั้นบันทึกค่าของมวลนี้ลงในส่วนของข้อสรุปการวัดค่าทางชีวมิติของสิ่งปกคลุมดินหรือ ใบบันทึกข้อมูลการวัดมวลชีวภาพของหญ้า เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิงและเปรียบเทียบในโอกาส ต่อไป
  • 10. P a g e | 10 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 5 เรื่อง การศึกษาการผลิตาของไม้ต้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล การศึกษาการผลิตาของไม้ต้นอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล (ฺBUDBURST) ขั้นที่ 1 การเลือกชนิดของไม้ต้นและการกาหนดพื้นที่ศึกษา ก่อนเริ่มดาเนินการตรวจวัดการผลิตาของไม้ต้นโดยใช้หลักวิธีดาเนินการ การผลิตาของไม้ต้น ควร ศึกษาหลักวิธีการต่างๆ ดังนี้  การเลือกและการวินิจฉัยชนิดของพืช (Species selection and Species identification)  การเลือกพื้นที่ศึกษา (Site Selection)  การทาเครื่องหมายและกาหนดพิกัดของไม้ต้นที่ทาการศึกษา (Tree label and Tree Location) เมื่อดาเนินกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้แล้วจึงจะสามารถดาเนินการตรวจวัดโดยใช้หลักวิธีดาเนินการ การผลิ ตาของไม้ต้นได้ การเลือกและการวินิจฉัยชนิดของพืช (Species selection and species identification) ไม้ต้นที่เลือกจะต้องเป็นไม้ต้นพื้นเมือง (Native species) เป็นไม้ผลัดใบ (Deciduous Tree) ซึ่งคุ้นเคยกับ สภาพภูมิอากาศในท้องถิ่นแล้ว และเป็นไม้ต้นที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) โดยต้องเคยติดดอกออกผล มาแล้ว สาหรับการวินิจฉัยไม้ต้นให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนที่ใบและดอกของไม้ต้นจะร่วงไปเสียก่อน ซึ่ง อาจจะต้องขอความอนุเคราะห์ช่วยเหลือจากนักวิชาการ พฤกษศาสตร์ด้านอนุกรมวิธานพืช ทั้งนี้เพื่อความ ถูกต้องแม่นยา นอกจากนี้ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงช่วงระยะเวลาของการเริ่มการผลิตาของไม้ต้น ซึ่งโดยปกติจะเริ่ม สังเกตได้ในช่วงปลายของฤดูหนาว ไปจนถึงย่างเข้าฤดูร้อน ซึ่งการผลิตาของไม้ต้นแต่ละชนิดพันธุ์ แต่ละต้นก็ จะไม่เท่ากัน ดังนั้นการออกไปสังเกตการผลิตาของไม้ต้นอย่างสม่าเสมอจะช่วยให้เราได้ข้อมูลที่ถูกต้อง การเลือกพื้นที่ศึกษา (Site selection) ลักษณะของพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะใช้ในการเลือกเป็นพื้นที่ศึกษาควรคานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้  เป็นพื้นที่ที่มีไม้ต้นที่ต้องการศึกษาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ  พื้นที่อยู่ในแนวระดับเดียวกัน  พื้นที่นั้นต้องไม่ได้รับอิทธิพลจากการดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ เช่น ไม่อยู่ใกล้แหล่งชลประทาน ไม่มีการ ให้น้าให้ปุ๋ ยบารุง และเจริญเติบโตเองตามธรรมชาติเท่านั้น  เป็นพื้นที่ที่สามารถเดินทางไปศึกษาได้สะดวก และปลอดภัย
  • 11. P a g e | 11 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช การทาเครื่องหมายและกาหนดพิกัดของไม้ต้นที่ทาการศึกษา (Tree label and Tree Location) ภายหลังจากที่เลือกชนิดของพืชและพื้นที่ศึกษาได้แล้ว จะต้องดาเนินการกาหนดพิกัดต้นพืชตัวอย่าง ทา เครื่องหมายต้นตัวอย่างพืชทั้งหมดไว้เป็นสาคัญ การกาหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์หรือตาแหน่งของต้นพืช สามารถใช้เครื่องมือที่เรียกว่าเครื่องวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Global Positioning System :GPS Receiver) โดย บันทึกพิกัดของไม้ต้นด้วยละติจูด (Latitude) ลองจิจูด (Longitude) และความสูงเหนือระดับน้าทะเล (Altitude) โดยเฉพาะสองประการแรกนั้นให้ใช้ระบบตัวเลขทศนิยมสี่ตาแหน่ง พร้อมกับการทาแผนที่พิกัดตาแหน่งไม้ต้น ตัวอย่างประกอบด้วย ควรจะศึกษาไม้ต้นตัวอย่างอย่างน้อย 10 ตาแหน่ง (ต้น) ขั้นที่ 2 การระบุและบรรยายลักษณะของพื้นที่ศึกษา 1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน วันที่เก็บข้อมูล และกาหนดชื่อพื้นที่ศึกษาลงในใบบันทึกกิจกรรม 2. ระบุระยะห่างและทิศทางระหว่างจุดตรวจวัดสภาพอากาศกับพื้นที่ศึกษา 3. เลือกไม้ต้นที่จะทาการศึกษา พร้อมทั้งระบุเลขที่ให้แก่ไม้ต้นแต่ละต้น โดยผูกธงและทาป้ายที่มี ความคงทนและสามารถเห็นได้ชัดเจน และระบุพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูดและลองจิจูด) และความสูง จากระดับน้าทะเลของพื้นที่ศึกษา (นักเรียนควรศึกษาอย่างน้อย 10 ต้น) 4. วัดความสูงและเส้นรอบวงของไม้ต้นแต่ละต้น (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง) 5. สร้างแผนภาพแสดงตาแหน่งและระยะห่างของไม้ต้นแต่ละต้นในพื้นที่ศึกษา 6. ให้นักเรียนยืน ณ ตาแหน่งกลางพื้นที่ศึกษา จากนั้นถ่ายภาพบริเวณพื้นที่ศึกษาในทิศทางหลักทั้ง 4 ทิศ ได้แก่ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้และทิศตะวันตก โดยใช้เข็มทิศช่วยในการหาทิศ 7. ระบุข้อมูลสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ของพื้นที่ศึกษา ขั้นที่ 3 การศึกษาภาคสนาม 1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน และชื่อพื้นที่ศึกษาลงในใบบันทึกกิจกรรม 2. การกาหนดเวลาออกไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงการผลิตาของพืช จะต้องเริ่มขึ้นก่อนฤดูใบไม้ผลิ ของพืชชนิดนั้นๆ จะเกิดขึ้น กาหนดแผนออกไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงของการผลิตา ควรจะทา ก่อนที่จะมีการผลิตาของพืชนั้นสองสัปดาห์ ในแต่ละสัปดาห์ให้ออกไปสังเกตไม้ต้นอย่างน้อย สัปดาห์ละ 2 ครั้งเมื่อสังเกตเห็นอาการผลิตาเริ่มเกิดขึ้น ให้ออกไปสังเกตไม้ต้นทุกวันติดต่อกัน จนกว่าไม้ต้นต้นสุดท้ายที่กาหนดไว้จะผลิตาเสร็จสิ้น ซึ่งสามารถออกไปสังเกตไม้ต้นได้ทุก ช่วงเวลาที่สะดวก
  • 12. P a g e | 12 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช 3. ก่อนจะลงความเห็นว่าไม้ต้นต้นนั้นผลิตาหรือยังให้สังเกตว่ามีการผลิตาถึง 3 กิ่งเป็นอย่างน้อย และ ควรจะเป็นกิ่งที่อยู่ต่างทิศทางกัน 4. การบันทึกข้อมูล ให้บันทึกวันที่ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศทุกครั้งที่ออกไปสังเกต ไม้ต้น ซึ่งกาหนดไว้ชัดเจนในตารางบันทึกข้อมูล ใส่ “ Y ” หากสังเกตว่ามีการผลิตาถึง 3 กิ่ง ใส่ “ N ” หากสังเกตว่ามีการผลิตายังไม่ครบทั้ง 3 กิ่ง ตัวอย่างสรุปแผนวิธีดาเนินการศึกษา
  • 13. P a g e | 13 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช ใบความรู้ 6 เรื่อง การศึกษาพัฒนาการของใบและการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้นและไม้พุ่ม การศึกษาพัฒนาการของใบ (Green up) ของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม การศึกษาพัฒนาการของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม พืชที่ศึกษาจะต้องเป็นไม้ต้น (Tree) หรือไม้พุ่ม (Shrub) ที่มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ในท้องที่ ต้องเป็นไม้ ผลัดใบ (Deciduous plant) คือใบจะร่วงไปเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูแล้ง ทั้งนี้เนื่องจากพืชปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออกทางปากใบ ควรจะเลือกพืชต้นใดต้นหนึ่งในแหล่งศึกษา เป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) แล้ว ซึ่งหมายความว่าพืชต้นนั้นออกดอกแล้ว ความถี่ในการเก็บข้อมูล อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ควรเริ่มต้นล่วงหน้า 2 อาทิตย์ก่อนที่จะเริ่มพัฒนาการของใบของพืช วิธีการตรวจวัด สำหรับกำรสังเกตครั้งแรกเท่ำนั้น / จุดเริ่มต้น 1. เริ่มการศึกษาเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูกาล โดยการออกเยี่ยมและสังเกตไม้ต้นในช่วงแรก อย่างน้อยสัปดาห์ ละ 2 ครั้ง เมื่อสังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ให้ออกเยี่ยมไม้ต้นทุกวัน เวลาเดิม 2. เติมข้อมูลส่วนบนของใบบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์ 3. เลือกกิ่งที่มีการเจริญสมบูรณ์แล้ว และต้องเป็นกิ่งที่อยู่ทางทิศใต้ของไม้ต้น ไม่มีร่มเงาของกิ่งอื่น ทา เครื่องหมายกิ่งที่เลือกไว้ด้วยเทปกาว หรือเครื่องหมายอื่นที่ทนทาน 4. กาหนดตาแหน่งตาที่เลือก 1 ตา และ ตาข้างเคียงอีก 3 ตา ทาเครื่องหมาย 5. เขียนแผนที่ตาแหน่งของตาบนกิ่ง พร้อมระบุทิศในแผนที่ 6. ถ่ายรูปตาแหน่งตาทั้ง 4 ไว้เป็นหลักฐานเทียบกับแผนที่ในข้อ 5 สำหรับกำรสังเกตทุกๆ ครั้ง 1. สังเกตตาแต่ละตา เมื่อสังเกตเห็น  ตาเริ่มปริบวมให้บันทึกว่า “ตาเริ่ม ปริบวม”  ถ้าตาผลิแล้วให้บันทึก “ผลิตา” (Budburst)  ตาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้บันทึก ระยะพัก (Dormant)
  • 14. P a g e | 14 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช 2. วัดความยาวของตาที่เกิดการผลิตาในแต่ละตา โดยวัดความยาวของใบอ่อนไม่รวมก้านใบทุกวัน ภาพที่ 1 วิธีวัดความยาวของใบ 3. บันทึกข้อมูลและบันทึกภาพทุกครั้ง ในทุกวันและเวลาเดียวกัน 4. บันทึกอุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ และ ความเข้มของแสง ในทุกวันและเวลาเดียวกันที่ ออกเยี่ยมไม้ต้น (ถ้าสามารถทาได้) การศึกษาการเปลี่ยนสีของใบ (Green Down) ของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม เพื่อสังเกตและรวบรวมข้อมูลการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม นักเรียนจะได้ติดตามสังเกต การเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้น หรือไม้พุ่ม ซึ่งพืชที่ศึกษาจะต้องเป็นไม้ต้น (Tree) หรือไม้พุ่ม (Shrub) ที่มีถิ่น ดั้งเดิมอยู่ในท้องที่ ต้องเป็นไม้ผลัดใบ (Deciduous plant) คือใบจะร่วงไปเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูแล้ง ทั้งนี้เนื่องจากพืช ปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้าออกทางปากใบ ควรจะเลือกพืชต้นใดต้นหนึ่งในแหล่งศึกษา เป็นพืชที่มีการ เจริญเติบโตเต็มที่ (Mature) แล้ว ซึ่งหมายความว่าพืชต้นนั้นออกดอกแล้ว ความถี่ในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อสัปดาห์ เริ่มต้น 2 สัปดาห์ก่อนที่จะเริ่มมีการเปลี่ยนสีของใบของพืช ต่อเนื่องไป เรื่อยๆ จนการเปลี่ยนแปลงสีของพืชสิ้นสุดลง หรือใบไม้หลุดร่วงไป วิธีการตรวจวัด สำหรับกำรสังเกตครั้งแรกเท่ำนั้น/จุดเริ่มต้น
  • 15. P a g e | 15 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช 1. เริ่มการศึกษาเมื่อย่างเข้าสู่ฤดูกาล โดยการออกเยี่ยมและสังเกตไม้ต้นในช่วงแรกอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 2 ครั้ง เมื่อสังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ให้ออกเยี่ยมไม้ต้นทุกวัน เวลาเดิม 2. เติมข้อมูลส่วนบนของใบบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์ 3. เลือกกิ่งที่มีการเจริญสมบูรณ์แล้ว และต้องเป็นกิ่งที่อยู่ทางทิศใต้ของไม้ต้น ไม่มีร่มเงาของกิ่งอื่น ทา เครื่องหมายกิ่งที่เลือกไว้ด้วยเทปกาว 4. กาหนดตาแหน่งใบที่เลือก 1 ใบ และ ใบข้างเคียงอีก 3 ใบ ทาเครื่องหมาย 5. เขียนแผนที่ตาแหน่งของใบบนกิ่ง พร้อมระบุทิศในแผนที่ 6. ถ่ายรูปตาแหน่งใบทั้ง 4 ไว้เป็นหลักฐานเทียบกับแผนที่ในข้อ 5 สำหรับกำรสังเกตทุกๆ ครั้ง 1. บันทึกการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้โดยใช้คู่มือการจาแนกสีใบของ GLOBE ในการคาดคะเนสีเด่น ของใบแต่ละใบ ตัวอย่าง เช่น ถ้าใบที่ 1 มีสีเด่นคือ 5 G 7/12 ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ และสีรองคือ 5YB ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ให้บันทึกสีของใบเป็น 5G 7/12 สาหรับการสังเกตในวันนั้น ในใบ บันทึกข้อมูล 2. เทียบสี และบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนสีของใบของไม้ต้นและไม้พุ่ม ทุกวันเวลาเดียวกัน  ถ้าใบหลุดร่วงไปแล้ว ให้รายงานว่า “ใบหลุดไปแล้ว”  หรือรายงานสีที่สังเกตได้ไปเรื่อยๆ จนใบหยุดเปลี่ยนสี
  • 16. P a g e | 16 ชมรมวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กลุ่ม พืช 3. บันทึกภาพ ทุกครั้งที่ออกเยี่ยมไม้ต้น 4. บันทึกอุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ และ ความเข้มของแสง ในทุกวันและเวลาเดียวกันที่ออก เยี่ยมไม้ต้น (ถ้าสามารถทาได้) ภาพที่ 2 คู่มือการจาแนกสีพืชของ GLOBE