SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างของพืช
พืชประกอบด้วยโครงสร้างต่าง ๆ เพื่อทาหน้าที่แตกตางกัน
ออกไป เช่น ราก ใบ ดอก ผล รวมทั้งโครงสร้างที่เจริญ
เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษต่าง ๆ
แสดงลักษณะ
โครงสร้างของพืช
เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue)
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยเซลล์ (cell)
หลายๆเซลล์รวมกลุ่มทางานร่วมกัน กลุ่มของเซลล์ที่มาทางานร่วมกัน
นี้เราเรียกเนื้อเยื่อ(tissue)
เนื้อเยื่อพืชแบ่งเป็น 2 ประเภท (ตามความสามารถในการ
แบ่งตัว) ได้แก่
1.เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
2.เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
• เนื่อเยื่อพืช (plant tissue) ประกอบด้วย เซลล์พืชหลาย
ชนิดโดยมีลักษณะร่วมกัน คือ มีผนังเซลล์ (cell wall)
• ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wall)  cellulose
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell wall)  lignin
• 1 cell wall ที่อยู่ติดกันถูกยึดด้วย middle lamella ซึ่งมี
pectin เป็นองค์ประกอบ
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
คือ กลุ่มของเซลล์ที่มีการเจริญและแบ่งตัวแบบไมโทซิส (mitosis)
ได้ตลอดชีวิตของเซลล์
ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ
ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลล์แต่ละชนิดอยู่ชิดติดกันมาก
ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space)
คือ เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด (apical shoot meristem) และ
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายราก (apical root meristem) เมื่อมีการ
แบ่งตัวเพิ่มจานวนเซลล์จะทาให้ รากและลาต้นยืดยาวออก เพิ่มความสูง
ให้กับต้นพืช เป็นการเจริญขั้นแรก (Primary growth)
1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย
(apical meristem)
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem)
ที่มา http://www.sripatum.ac.th/online/preeya/tissue.htm
2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ
(intercalary meristem)
คือเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณ
เหนือข้อ หรือโคนของปล้อง
ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น
อ้อย ไผ่ ข้าวโพด หรือ
หญ้า เป็นต้น เมื่อมีการ
แบ่งตัวจะช่วยให้ปล้องยาวขึ้น
3. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง
(lateral meristem หรือ axillary meristem)
คือ เนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวออกด้านข้างของลาต้นหรือ
ราก เมื่อแบ่งตัวแล้วจะทาให้ลาต้น ราก ขยายขนาดออก
ทางด้านข้างหรือมีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นการเจริญขั้นที่ 2
(Secondary growth) บางคนอาจเรียกเนื้อเยื่อเจริญ
ด้านข้างนี้ว่า แคมเบียม (cambium) แบ่งเป็น 2 ชนิด
คือ Vascular cambium และ cork cambium
Vascular cambium
พบในรากและลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ และพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย
ศรนารายณ์ จันทร์ผา เข็มกุดั่น
Vascular cambium
ที่มาhttp://www.cfr.washington.edu/Classes.ESC.200/lectures/concepts/specialbiology1.htm
cork cambium หรือ Phellogen
Cork cambium
ให้กาเนิดคอร์ก หรือเฟลเลมหุ้มรอบราก
และลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีอายุมาก
ที่มา http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap17bark/17.1-5.htm
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)
หมายถึงกลุ่มของเซลล์ที่ในสภาพปกติไม่มีการแบ่งตัว โดยเซลล์
เหล่านี้เจริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญอีกทีหนึ่ง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกัน มารวมกัน
เพื่อทาหน้าที่อย่างเดียวกัน แบ่งออกได้ 2
ประเภท ได้แก่
1. เนื้อเยื่อป้องกัน (Protective tissue)
2. เนื้อเยื่อพื้น (Ground tissue)
เนื้อเยื่อป้องกัน
ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายรวมทั้งการสูญเสียน้ามักอยู่นอกสุด
ของราก ลาต้น และใบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
- เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
- คอร์ก (Cork) หรือ เฟลเลม (Phellem)
เอพิเดอร์มิส (Epidermis)
• ปกป้องคุ้มครองเนื้อเยื่อต่าง ๆ
• รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
• ผิวด้านนอก มีสารขี้ผึ้งพวก
คิวติน (cutin) ฉาบอยู่
เพื่อช่วยป้องกันการระเหยของน้า
• ชั้นของคิวตินนี้เรียกว่า
คิวติเคิล (cuticle)
ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/plant%20organ/root.html
หน้าที่ของเอพิเดอร์มิส
1. ให้ความแข็งแรงและช่วยป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดไป
2. ช่วยป้องกันไม่ให้น้าซึมผ่านเข้าไปในรากมากเกินไป เพราะจะทาให้
รากเน่า
3. เจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็น ขนราก เซลล์คุม ขน และต่อม
คอร์กหรือเฟลเลม (cork / phellem)
เกิดจากการแบ่งตัวของคอร์กแคมเบียม หรือเฟลโลเจน เมื่อคอร์กเติบโต
เต็มที่แล้ว โพรโทพลาสซึมและเยื่อหุ้มเซลล์จะสลายไป เหลือเฉพาะ
ผนังเซลล์ที่มีซูเบอริน และคิวติเคิล สะสม ซึ่งน้าจะไม่สามารถผ่านได้
เนื้อเยื่อชั้นคอร์ก รวมกับเฟลโลเจน และเฟลโลเดริ์ม เรียกรวมว่า
เพอริเดิร์ม (Peridrem)
Cork
เนื้อเยื่อพื้น (Ground tissue)
เป็นองค์ประกอบในราก ลาต้น ใบ ดอก
และเป็นตัวกลางให้เนื้อเยื่ออื่น ๆ แทรกตัวอยู่ มีหลาย
ประเภท ได้แก่
พาเรงคิมา (parenchyma)
พบได้แทบทุกส่วนของอวัยวะพืช
รูปร่างหลายแบบ บางเซลล์
ค่อนข้างกลม รี ทรงกระบอกหรือ
เป็นเหลี่ยม มีช่องว่างระหว่างเซลล์
(intercellular space)
ช่องว่างระหว่างเซลล์
ที่มา
http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.ht
ตัดตามยาว (long section) ตัดตามขวาง (cross section)
พาเรงคิมา (parenchyma)
ที่มา
http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.ht
พาเรงคิมา (parenchyma)
ช่องอากาศ
(air space)
สะสมแป้ง
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
พาเรงคิมา (parenchyma)
หน้าที่ของพาเรงคิมา
1. สะสมน้าและอาหารพวกแป้ง โปรตีน และไขมัน
2. ในลาต้นพืชอ่อน ๆ ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง
3. ในพืชตระกูลถั่วจะอยู่รวมเป็นกลุ่มที่โคนก้านใบทาหน้าที่เกี่ยวกับ การหุบ-กางใบ
4. ในพืช C3 C4 บางชนิดพาเรงคิมาจะเจริญล้อมรอบมัดท่อลาเลียง ถ้าภายในมี
คลอโรพลาสต์ก็จะสังเคราะห์ด้วยแสงด้วย
5. ใบพืชบางชนิดจะเจริญเปลี่ยนไปเป็นต่อมสร้างสาร เช่น สร้างน้ามัน
6. พาเรงคิมาในมัดท่อลาเลียงจะทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
7. ในก้านใบและเส้นกลางใบของพืชบางชนิด เช่น พุทธรักษา เปลี่ยนไปเป็น
แอเรงคิมา (Aerenchyma)
คอลเลงคิมา (collenchyma)
ผนังเซลล์หนามากตามมุมของเซลล์ ไม่
สม่าเสมอเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่น
สารที่มาฉาบที่ผนังเป็นสารประกอบพวก
เซลลูโลสและเพคติน
ผนังเซลล์ที่มา
http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage-
คอลเลงคิมา (collenchyma)
ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage- fall/handouts/figures-
overheads/anatomyfigures.htm
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)
ผนังเซลล์หนามากสารที่มาฉาบ
เป็นสารพวกลิกนิน (lignin)
เป็นโครงกระดูกหรือโครงร่างของ
พืช จาแนกออกเป็น 2 ชนิด
เซลล์เส้นใย (fiber)
• รูปร่างของเซลล์ยาวมาก
• หัวแหลมท้ายแหลม
• ผนังเซลล์หนามากเป็น
สารประกอบลิกนิน
• ช่องว่างภายในเซลล์แคบ
มากเรียกว่า ลูเมน
• มีความเหนียวและยืดหยุ่น
สเกลอรีด (scleried)
รูปร่างสั้นและป้อม อาจกลมหรือ
เป็นเหลี่ยม ผนังเซลล์หนา มักพบ
ตามที่แข็งมาก ๆ เช่น
กะลามะพร้าว เมล็ดพุทรา เนื้อสาลี่
เอนโดเดอร์มิส (Endodermis)
Endodermis
ส่วนใหญ่พบในรากพืช
เซลล์เรียงตัวเป็นแนวเดียว
ผนังเซลล์บาง มีสารพวก
ซูเบอริน คิวติน หรือลิกนิน
มาสะสมเป็นแถบทาให้ผนัง
เซลล์หนา เป็นแถบ ซึ่งจะ
กีดขวางน้าและอาหารไม่ให้
ผ่านได้สะดวก
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue)
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์หลายชนิดมาทางานร่วมกัน ซึ่งเนื้อเยื่อถาวร
เชิงซ้อนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. เนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่าไซเลม (xylem)
2. เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร เรียกว่า โฟลเอม (phloem)
ไซเลม (xylem)
1. vessel
2. tracheid
3. xylem fiber
4. xylem parenchyma
ที่มา https://webspace.utexas.edu/harms/VEVI3/transport.html
เป็นเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุต่าง ๆ ทั้งสารอินทรีย์และ
สารอนินทรีย์ โดยท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด
ประกอบด้วย
เวสเซล (Vessel)
• คล้ายท่อยาวๆ ที่ประกอบด้วยท่อสั้น ๆ หลาย ๆ
ท่อมาต่อกัน
• ท่อสั้นแต่ละท่อเรียกว่า vessel member หรือ
vessel element
• ผนังหนาเป็นสารพวกลิกนินมาสะสม มีช่องทะลุถึง
กัน ซึ่งมีลักษณะเป็นรอยปรุหรือรูพรุนที่เรียกว่า
perforation plate
ที่มา http://www.dbdmart.com/lifesigngatc/product.php?cat=88432&lang=en
รูปร่างยาว หัวท้ายค่อนข้างแหลม
ผนังเซลล์หนามี สารพวกลิกนิน
สะสม ผนังมีรูพรุนที่เรียกว่า pit
เทรคีด (Tracheid)
ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
ผนังหนา รูปร่างยาว
เรียว หัวท้ายแหลม
มีลักษณะคล้ายเส้นใย
เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว
แต่ยังคงทาหน้าที่ให้
ความแข็งแรงแก่พืช
เท่านั้น
ไซเลมไฟเบอร์ (xylem fiber)
ไซเลมพาเรงคิมา (xylem parenchyma)
เป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่เพียงเซลล์เดียว ในเนื้อเยื่อไซเลมมีผนังบาง แต่เมื่อ
แก่แล้วจะมีสารลิกนินมาสะสมทาให้ผนังหนาขึ้น ปกติจะเรียงตัวในแนวตั้ง
แต่บางกลุ่มจะเรียงตัวตามขวาง หรือตามแนวรัศมี ทาหน้าที่ลาเลียงน้า
และเกลือแร่ไปตามด้านข้าง เรียกว่า ไซเลมเรย์ (xylem ray)
1.Tracheid
2.Vessel
3.Xylem parenchyma
4.Xylem fiber
เซลล์ที่ยังมีชีวิต คือ xylem parenchyma
เซลล์ที่ตายแล้ว คือ tracheid vessel และ xylem fiber
โฟลเอม (phloem)
ที่มา http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
เป็นเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารและสร้างความแข็งแรงให้ลาต้น
พืช ประกอบด้วย
เซลล์ที่ยังมีชีวิต คือ sieve tube, companion cell, phloem
parenchyma เซลล์ที่ตายแล้ว คือ phloem fiber
โฟลเอม (phloem)
ที่มา http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
ซีพทิวบ์ (sieve tube)
มีรูปร่างยาว ปลายทั้ง 2 ด้าน
ค่อนข้างแหลม มีรูเล็กคล้ายตะแกรง
เรียกว่า ซีพเพลท (Sieve plate)
ซีพทิวบ์เมมเบอร์หลาย ๆ เซลล์มา
เรียงต่อกันเป็นท่อยาวๆ เรียกว่า
ซีพทิวบ์ (Sieve tube)
เซลล์คอมพาเนียน (Companion cell)
เซลล์มีขนาดเล็ก รูปร่างเรียวยาว
ปลายแหลม มีนิวเคลียสขนาดใหญ่
เห็นได้ชัดเจน มีกาเนิดจากเซลล์
ต้นกาเนิดเดียวกับซีพทิวบ์เมมเบอร์
ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-
5830.html
โฟลเอมพาเรงคิมา (Phloem parenchyma)
เหมือนกับพาเรงคิมาทั่วไป เป็น
เซลล์ที่มีชีวิต ปกติลาเลียงอาหาร
ในแนวดิ่ง
บางกลุ่มลาเลียงในแนวรัศมี
ขวางลาต้นและราก เรียกว่า
โฟลเอมเรย์ (phloem ray)
ที่มา http://www.answers.com/topic/pericycle
โฟลเอมไฟเบอร์ (Phloem fiber)
เป็นเซลล์ไม่มีชีวิตชนิดเดียวในเนื้อเยื่อโฟลเอม ให้ความแข็งแรงแก่พืชเท่านั้น
THE END

More Related Content

What's hot

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกNatty Natchanok
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 

Viewers also liked (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Similar to เนื้อเยื่อพืช

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and functionsukanya petin
 

Similar to เนื้อเยื่อพืช (20)

เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
Body
BodyBody
Body
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (18)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 

เนื้อเยื่อพืช