SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
บทที่บทที่ 11
สถิติและสถิติและ
ข้อมูลข้อมูลจัดทำำโดย : นำงสำว รัตนำวลี จูงใจ เลขที่
26 ชั้นม.5/1
เสนอ : คุณครู จุนจิรำ เป็งยะสำ
Statistics and Data
คำำนำำ
สื่อกำรเรียนรู้เรื่อง สถิติและ
ข้อมูลเบื้องต้น นี้เป็นส่วนหนึ่ง
ของรำยวิชำคณิตศำสตร์พื้นฐำน
โดย นำำเสนอเกี่ยวกับ สถิติ
ข้อมูลเบื้องต้น เป็นต้น เพื่อให้ผู้
ที่ต้องกำรศึกษำได้ศึกษำเรียนรู้
ในสื่อ ผู้จัดทำำหวังว่ำสื่อนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษำ เรียนรู้ไม่
มำกก็น้อย นำงสำวรัตนำวลี
จูงใจ
ผู้จัดทำำ
เนื้อหำในเนื้อหำใน
บทเรียนบทเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้อง
ปัญหำต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต
ประจำำวันหรือกำรทำำงำนมีหลำย
ปัญหำที่จำำเป็นต้องใช้สถิติมำช่วย
ในกำรหำข้อสรุปหรือช่วยในกำร
ตัดสินใจ เช่น ในกรณีต่อไปนี้
1.โอกำสที่จะมีฝนตกในวันหนึ่งๆ
2. กำรทดสอบประสิทธิผลของยำรักษำโรค
เนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
3. กำรควบคุมคุณภำพของสินค้ำ
4.กำรสำำรวจควำมคิดเห็นหรือโพล
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและ
กำรเก็บรวบ
รวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
1)โอกำสที่จะมีฝนตกในวันหนึ่งๆ
เนื่องจำกหำกฝนตกอำจมีปัญหำ
นำ้ำท่วมหรือจรำจรติดขัดกำรพยำกรณ์
เกี่ยวกับฝนของกรมอุตุนิยมวิทยำต้อง
อำศัยควำมน่ำจะเป็นของกำรมีฝนตก
ภำยใต้สภำพต่ำงๆ ซึ่งต้องอำศัยข้อมูล
ทั้งในอดีตและปัจจุบันตลอดจนวิธี
วิเครำะห์เชิงสถิติเข้ำมำช่วย
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใชเนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและ
กำรเก็บรวบ
รวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
2) กำรทดสอบประสิทธิผลของยำรักษำโร
ผู้ผลิตยำจำำเป็นต้องทำำกำรทดสอบ
ประสิทธิผลของยำ
โดยกำรนำำยำไปทดลองใช้กับมนุษย์ เพื่อให้
ได้ผลกำทดลอง
ที่เกิดจำกประสิทธิภำพของยำดังกล่ำวเท่ำนั้น
โดยไม่มีอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ เข้ำมำ
เกี่ยวข้อง
กำรทดสอบประสิทธิผลของยำรักษำโรคปกติ
เรำ
จะกระทำำโดยกำรเก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำร
ทดลอง
ซึ่งมีกำรวำงแผนไว้อย่ำงชัดเจน
ข้อมูลที่ได้จำกกำรทดลองจะนำำมำใช้
ทดสอบผลของยำรักษำโรคด้วยวิธีกำรทดสอบ
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใชเนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและ
กำรเก็บรวบ
รวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
ในกำรผลิตสินค้ำ สิ่งที่ผู้ผลิตให้
ควำมสนใจมำกคือกำรควบคุมคุณภำพ
สินค้ำที่ผลิตให้มีมำตรฐำนตำมที่กำำหนด
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในยุคที่มีกำรแข่งขัน
สูง กำรรักษำมำตรฐำนของสินค้ำยิ่งทวี
ควำมสำำคัญมำกยิ่งขึ้น อย่ำงไรก็ตำม
กำรตรวจสอบคุณภำพของสินค้ำที่ผลิต
ทุกชิ้นก่อนส่งออกจำำหน่ำยนับเป็นภำระ
ที่มำกเกินกว่ำที่จะกระทำำได้
ในขั้นตอนกำรเก็บข้อมูล
สถิติศำสตร์จะกำำหนดวิธีกำรเก็บ
รวบรวมข้อมูลที่เหมำะสมว่ำควรเป็นกำร
3)กำรควบคุม
คุณภำพของสินค้ำ
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใชเนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและ
กำรเก็บรวบ
รวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
4)กำรสำำรวจควำมคิดเห็นหรือโพล
กำรสำำรวจควำมคิดเห็นเป็นสิ่งที่ทำำ
เพื่อแสดงถึงควำมคิดเห็นของคนทั่วไปที่มี
ต่อเรื่องหนึ่งๆ โยเฉพำะอย่ำงยิ่งที่เป็นสิ่งที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลโดยทั่วไปในชุมชนหรือ
ประเทศนั้นๆ แต่ต้องกำรทรำบผลในเวลำ
อันรวดเร็วเพื่อให้เรืองที่สนใจนั้นยังคง
ควำมทันสมัยอยู่
กำรสำำรวจควำมคิดเห็นจึงเก็บข้อมูล
เฉพำะจำกตัวอย่ำงของกลุ่มคนเท่ำนั้นก็
เป็นกำรเพียงพอ ซึ่งจะต้องใช้ควำมรู้ใน
วิชำสถิติที่เกี่ยวข้องกับวิธีเลือกตัวอย่ำง
และกำรกำำหนดขนำดตัวอย่ำงที่เหมำะสม
กับระดับคุณภำพของผลลัพธ์ที่ต้องกำร
กำรจัดทำำแบบสำำรวจ รวมทั้งวิธีกำร
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใชเนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและ
กำรเก็บรวบ
รวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
1.2 ควำมหมำยของสถิติคำำว่ำสถิติมีผู้ให้ควำมหมำยไว้อย่ำงหลำกหลำยเช่น
(1) สถิติ หมำยถึง กำรบันทึกตัวเลขเพื่อแสดงให้
เห็นข้อเท็จจริงในเชิงเปรียบเทียบ
(2) สถิติ หมำยถึง คณิตศำสตร์ประยุกต์ (Applied
Mathematics)
ซึ่งเป็นกำรนำำหลักกำรทำงคณิตศำสตร์ ตรรกวิทยำ
(Logic) มำประยุกต์ใช้
(3) สถิติ หมำยถึง ค่ำสถิติ (Statistics) ซึ่งเป็น
ค่ำตัวเลขที่คำำนวณได้จำกข้อมูลของตัวอย่ำง ถ้ำ
เป็นตัวเลขที่คำำนวณจำกประชำกรจะเรียกว่ำค่ำ
พำรำมิเตอร์ (Parameter)
(4) สถิติ หมำยถึง ตัวเลขหรือข้อมูลซึ่งแทนข้อเท็จ
จริงเกี่ยวกับเรื่องต่ำงๆ ที่เรำสนใจ
(5) สถิติ หมำยถึง หลักฐำนที่รวบรวมเอำไว้เป็น
ตัวเลขสำำหรับเปรียบเทียบ
(6) สถิติ หมำยถึง ศำสตร์หรือวิชำที่ว่ำด้วย กำรเก็บ
รวบรวมข้อมูล กำรนำำเสนอข้อมูล กำรวิเครำะห์
ข้อมูล และกำรนำำผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลมำสรุป
( )ควำมหมำยสถิติ เพิ่มเติม
คลิ๊ก
หน้ำถัดไป
เนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำร
วิเครำะห์
ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
สรุป สถิติหมำยถึง ศำสตร์ที่นำำมำกระ
ทำำกับหลักฐำนที่เป็นข้อมูลซึ่งอำจจะ
เป็นข้อมูลเชิงปริมำณหรือเชิงคุณภำพ
โดยมีวิธีกำรกระทำำได้แก่ กำรเก็บ
รวบรวมข้อมูลกำรนำำเสนอข้อมูล กำร
วิเครำะห์โดยใช้หลักกำรทำง
คณิตศำสตร์ และกำรนำำผลกำร
วิเครำะห์มำสรุป กำรวิเครำะห์ข้อมูลนี้
อำจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือกำร
วิเครำะห์ข้ำงต้นที่มุ่งวิเครำะห์เพื่อ
อธิบำยลักษณะกว้ำงๆ ของข้อมูลชุด
นั้นซึ่งเรียกว่ำ สถิติเชิงพรรณนำ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ(ตเนื้อหำในบทเนื้อหำในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่ำงของกรณีหรือปัญหำที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ควำมหมำยของสถิติ
1.3 สถิติกับกำรตัดสินใจและวำงแผน
1.4 ข้อมูลและกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในกำร
วิเครำะห์
ข้อมูล
1.6 กำรนำำเสนอข้อมูล
1.2 ความหมายของสถิติ(ต่อ)
สติศาสตร์ครอบคลุมเรื่องของข้อมูล
และการเชื่อมโยงข้อมูลกับปัญหารวม
ทั้งการสร้างวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล อาจ
กล่าวได้ว่า สถิติศาสตร์ครอบคลุมองค์
ประกอบดังต่อไปนี้
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การวิเคราะห์ข้อมูล
3.การนำาเสนอข้อสรุป
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
ในชีวิตประจำาวันของแต่ละคน อาจ
กล่าวได้ว่าต้องมีการตัดสินใจเกี่ยวกับ
เรื่องต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
หากผู้ตัดสินใจทราบหรือมีความรู้
เกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้อง
ตัดสินใจมากเพียงใด โอกาสที่จะ
ตัดสินใจผิดพลาดก็จะน้อยลงเพียงนั้น
แต่การตัดสินใจใน บางเรื่อง การใช้
ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่สามารถนำา
มาใช้เพื่อช่วยในการตัดสินใจไก้
โดยตรง แต่จะต้องนำามาวิเคราะห์เสีย
ก่อน
ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์โดยการ
ใช้การวิเคราะห์เบื้องต้นหรือวิเคราะห์
ขั้นสูงก็ตาม เรียกว่า สารสนเทศ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
- สถิติกับชีวิตประจำาวัน   
  ในชีวิตประจำาวันเราต้องมีข้อมูลในการ
 ตัดสินใจในการดำาเนินชีวิต อยู่ตลอดเวลา
เช่น 
       *การเลือกคณะในการศึกษาต่อ
       *ตัดสินใจเลือกอาชีพ
       *การตัดสินใจแต่งงาน
               ฯลฯ
และจะพบว่า ข้อมูลที่มีการวิเคราะห์
เบื้องต้น หรือขั้นสูงอย่างใด อย่างหนึ่ง  เรียก
ว่า สารสนเทศ หรือ ข่าวสาร กล่าวโดยสรุป
ก็คือการใช้สถิติเพื่อการตัดสินใจและการ
วางแผน ประกอบด้วย
     1.  ข้อมูล (data) เป็นข้อมูลที่ผู้ตัดสิน
ใจควรรวบรวม เพื่อนำามาใช้ในการตัดสินใจ
และควรเป็นข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนทันต่อ
เหตุการณ์
     2.  สารสนเทศ หรือ ข่าวสาร
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน(ต
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อความ
จริง ซึ่งอาจเป็นตัวเลข หรือ
ข้อความที่ไม่ใช่ตัวเลข
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ตามลักษณะข้อมูล
ตามแหล่งที่มาตามกาลเวลา
ตามภูมิศาสตร์
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวมรวมข้อมูล(ต
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
คือ ข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออก
มาเป็นตัวเลขได้โดยตรง บาง
ครั้งสามารถเป็นเชิงปริมาณได้
หากมีการกำาหนดคุณภาพ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เพศ
สถานภาพ
ความชอบ และ
ความเห็นความสามารถ ทักษะ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
ข้อมูลปฐม
ภูมิ
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
หรือแหล่งที่มาโดยตรง
การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูม
-การสัมภาษณ์
-การสอบถามทาง
ไปรษณีย์
-การสอบถามทาง
โทรศัพท์
-การสังเกต
-การทดลอง
การสำามะโน
การเก็บข้อมูลของ
ทุกๆหน่วย
ประชากร
การสำารวจจากกลุ่ม
ตัวอย่างการเก็บข้อมูลบาง
หน่วยมาเป็น
ตัวแทน
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
ข้อมูลทุติย
ภูมิ
ข้อมูลที่ไม่ต้องเก็บรวบรวมเอง แต่มี
ผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว ซึ่งใช้ในการ
อ้างอิง
แหล่ง
ที่มา
-รายงานต่างๆ
จากหน่วย
ราชการหรือ
องค์กรภาครัฐ
-รายงานต่างๆ
จากหน่วยเอกชน
วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
1.พิจารณาข้อมูล
2.เปรียบเทียบข้อมูล
3.เก็บรวบรวมข้อมูล
4.วิเคราะห์ทางสถิติ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
  ความหมายของคำาต่างๆที่จะช่วยให้เข้าใจวิธีการ
 ทางสถิติมากขึ้น มีดังนี้
    กลุ่มประชากร    หมายถึง กลุ่มที่มีลักษณะที่เรา
 สนใจ หรือกลุ่มที่เราต้องการจะศึกษาหาข้อมูลที่
 เกี่ยวข้อง เปรียบเหมือนเอกภพสัมพัทธ์ในเรื่องเซต
    กลุ่มตัวอย่าง    หมายถึง ส่วนหนึ่งของกลุ่ม
 ประชากรที่เราสนใจ ในกรณีที่กลุ่มประชากรที่จะ
 ศึกษานั้นเป็นกลุ่มขนาดใหญ่ เกินความสามารถหรือ
 ความจำาเป็นที่ต้องการ หรือเพื่อประหยัดในด้านงบ
 ประมาณและเวลา สามารถศึกษาข้อมูลเพียงบางส่วน
ของกลุ่มประชากรได้
   ค่าพารามิเตอร    ์์ หมายถึง ค่าต่างๆที่คำานวณมา
   จากกลุ่มประชากร จะถือเป็นค่าคงตัว กล่าวคือ
 คำานวณกี่ครั้งๆก็จะไม่เปลี่ยนแปลง
   ค่าสถิต    ์ิ หมายถึง ค่าต่างๆที่คำานวณมาจากกลุ่ม
 ตัวอย่าง จะเป็นค่าที่เปลี่ยนแปลงได้ตจามกลุ่มตัวอย่าง
 ที่เลือกสุ่มมา จึงถือว่าเป็นค่าตัวแปรสุ่ม
     ตัวแปร    ในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางอย่างที่
     เราสนใจ ค่าของตัวแปร อาจอยู่ในรูปข้อความ หรือ
ตัวเลขก็ได้
   ค่าที่เป็นไปได้    หมายถึง ค่าของตัวแปรที่อาจจะ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์ข
ค่าสถิติ
(statistic)
ค่าพารามิเตอร์
(parameter)
อ้างอิง
ประชาก
ร
(popula
tion)
ขนาด N
กลุ่ม
ตัวอย่าง
(sample)
ขนาด n
x
ค่าสถิติ (Statistic) คือค่าต่างๆ ที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง
หรือคำานวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง ใช้ตัวภาษาอังกฤษเป็นสัญลักษณ์
ได้แก่
แทนค่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
s แทนค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
s2
แทนค่า ความแปรปรวน
r แทนค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
การสร้างตารางแจกแจงความถี่
   ควรทำาเป็นขั้นตอนดังนี้
   1. หาพิสัย (Range) โดย พิสัย = ค่าสูงสุด
- ค่าตำ่าสุด
   2. ถ้าโจทย์กำาหนดจำานวนอันตรภาคชั้นมา
ให้ เราต้องคำานวณหาความกว้างของแต่ละ
อันตรภาคชั้น โดยใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
   
                                                     
   
   ถ้า I เป็นทศนิยม ให้ปัดขึ้นเป็นจำานวนเต็ม
เสมอ
   ถ้าโจทย์กำาหนดความกว้างของอันตรภาค
ชั้นมาให้ เราสามารถหาจำานวนของ
อันตรภาคชั้น โดยใช้หลักเกณฑ์ได้ดังนี้
การแจกแจงความถี่
(Frequency distribution
table)
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
N
X
X
∑=
มีทั้งหมด 6 ชนิด
1.ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลาง
เลขคณิต(arithmetic mean)
หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
-นำาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน
-นำาผลรวมที่ได้จากข้อ 1 มาหารด้วยจำานวน
ข้อมูลทั้งหมด
-ผลหารที่ได้ในข้อ 2 คือ ค่าเฉลี่ย
2.มัธยฐาน(median) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่อยู่
กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลัง
จากเรียงลำาดับข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจาก
มากไปน้อย
3.ฐานนิยม(mode) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่มี
ความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้น
4.ตัวกลางเรขาคณิต(geometric mean)
5.ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)
6.ตัวกึ่งกลางพิสัย(mid-range)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เมื่อ f คือ
ความถี่ (จำานวน)
∑
∑=
f
fx
x
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูลการนำาเสนอข้อมูล เป็นการนำา
ข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการ
ศึกษามานำาเสนอ หรือทำาการเผย
แพร่ให้ผู้ที่
สนใจได้รับทราบ หรือนำาไปวิเคราะห์
 เพื่อไปใช้ประโยชน์    แบ่งออกได้
2    ลักษณะ คือ
การนำาเสนิข้อมูล
ไม่แบบเป็นทางการแบบเป็นทางการ
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
            1.1 การนำาเสนอในรูปของบทความ
 เช่น " ในระยะเวลา  1  ปีที่ผ่านมาการเมืองของไทยอยู่ใน
 สภาพที่ขาดเสถียรภาพ มีการเดินขบวนเรียกร้องในด้าน
 ต่างๆมากมาย เนื่องจากความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ท่านได้ให้แนวทางในการดำาเนินชีวิต
แบบเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางสมานฉันท์เพื่อให้ความ
“เป็นอยู่ที่ดีและเกิดความปองดองในชาติ
             1.2.  การนำาเสนอข้อมูลในรูปของข้อความ
กึ่งตาราง  เป็นการนำาเสนอข้อมูลที่มีข้อความและมีส่วน
   หนึ่งนำาเสนอข้อมูลด้วยตาราง เช่น
         "การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ได้มีแผนกลยุทธนา
จัดการด้านการท่องเที่ยว  ทำาให้มีนักท่องเที่ยวทั้งนอก
ประเทศและในประเทศสนใจมาท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่
ดังตาราง
ตารางแสดงจำานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่  พ.ศ 2545 - 2547
พ.ศ ชาวต่างชาติ ชาวไทย
2545 1,558,317 1,639,473
2546 1,431,351 1,714,843
2547 1,746,201 1,877,197
1.  การนำาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน  เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
2.  การนำาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน  
2.1.  การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง
ปี
จำานวน (หมื่น
คน)
2543 11,620
2544 14,504
2545 21,199
2546 23,937
2547 29,004
เป็นการนำาเสนอข้อมูลโดยจัดเรียงตามลักษณะ
ต่าง ๆ ที่สนใจ โดยนำาลักษณะที่สนใจมาจัดเรียง
ไว้ในตาราง ทำาให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กันได้ง่ายขึ้น เช่น
ตารางที่ 1.3 แสดงจำานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เข้ามาในประเทศไทย
ที่มา : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
2.2.  การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิ
แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) มีลักษณะเป็น
แท่งรูปสี่เหลี่ยม มีช่องไฟระหว่างแท่ง จะวาง
ในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได้ ความยาวของ
แท่งขึ้นอยู่กับจำานวนข้อมูล ส่วนความกว้าง
ของแท่งคงที่เป็นแผนภูมิที่เหมาะสำาหรับใช้
เปรียบเทียบข้อมูลตามคุณลักษณะหรือตาม
กลุ่ม
Type of Power Count
Still 4
Steam 16
Not given 5
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
แผนภาพวงกลม (Pie Chart) เป็นการนำาเสนอ
ข้อมูลทางสถิติเป็นรูปวงกลม โดยการแบ่งพื้นที่ภายใน
วงกลมออก เป็นส่วน ๆ เพื่อเปรียบเทียบแต่ละส่วนว่ามี
มากน้อยต่างกันอย่างไร กราฟวงกลม หรือแผนภูมิ
วงกลม จะใช้ในการนำาเสนอข้อมูลที่มีลักษณะเดียวกัน
แต่แยกออกเป็นหลายประเภท
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
แผนภูมิรูปภาพ (Pictogram) เป็นแผนภูมิที่
เรียกร้องความสนใจจากผู้อ่านได้มาก และผู้อ่าน
เข้าใจความหมายได้ทันที
ตัวอย่างแผนภูมิรูปภาพ แสดงจำานวนปลานิลที่
เลี้ยงโดยกลุ่มเกษตรกรที่เลี้ยงปลาใน ต . เขวา
ใหญ่ อ . กันทรวิชัย จ . มหาสารคาม
บ้านบุ่ง
เบา
บ้านหนองโน
บ้านหินปูน
บ้านขี้เหล็ก
ก
ำำ
ห
น
ด
ใ
ห
ำ้
แ
ท
น
ป
ล
า
2
0
ก
ร
ะ
ช
ำั
ง
ก
ำำ
ห
น
ด
ใ
ห
ำ้
แ
ท
น
ป
ล
า
2
0
ก
ร
ะ
ช
ำั
ง
 กำาหนดให้ แทนปลา 20  กระชัง
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอข้อมูล
แผนภาพเชิงเส้น (Line Chart) เป็นการ
เสนอข้อมูลที่ทำาให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของ
ข้อมูลได้ชัดเจน ส่วนมากมักจะใช้กับข้อมูลที่มี
การเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา แบ่งเป็น 2
ชนิด คือ- แผนภาพเชิงเส้นเดี่ยว (Simple Line Chart)
เช่น กราฟแสดงยอดขายของสวนอาหารแห่งหนึ่ง
ในปี 2547
- แผนภาพเชิงซ้อน (Multiple Line Chart) เป็นกราฟที่
แสดงการเปรียบเทียบข้อมูล โดยพิจารณาถึงลักษณะข้อมูลตั้งแต่
2 ลักษณะขึ้นไป เช่น ยอดขายของสวนอาหารแห่งหนึ่งแยกตาม
เดือนของปี 2546 และ ปี 2547
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของ
กรณีหรือปัญหา
ที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมาย
ของสถิติ
1.3 สถิติกับการ
ตัดสินใจและ
วางแผน
1.4 ข้อมูลและ
การเก็บรวบรวม
ข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนที่สถิติ
แผนที่แสดงความหนาแน่นของการเลี้ยงสัตว์
รายจังหวัด โคเนื้อ ปี 2546
เนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมายของสถิติ
1.3 สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน
1.4 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
1.6 การนำาเสนอ
ข้อมูล
  การนำาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบเนื้อหาในบทเนื้อหาในบท
เรียนเรียน
1.1 ตัวอย่างของ
กรณีหรือปัญหา
ที่ต้องใช้สถิติ
1.2 ความหมาย
ของสถิติ
1.3 สถิติกับการ
ตัดสินใจและ
วางแผน
1.4 ข้อมูลและ
การเก็บรวบรวม
ข้อมูล
1.5 สูตรที่ใช้
ในการ
วิเคราะห์
ข้อมูล
เอกสาร
อ้างอิง
http://service.nso.go.th/nso/knowledge/estat/esta1_1.html
http://www.mathcenter.net/review/review22/review22p04.shtml
http://cyberclass.msu.ac.th/cyber
class/cyberclass-
uploads/libs/html/40843/unit1_1
.htm
http://it.thanyarat.ac.th/stat/ch2.aspx
http://www.neutron.rmutphysics.co
m/news/index.php?
option=com_content&task=view&id=
638&Itemid=5&limit=1&limitstart=02
68
ศึกษาธิการ, กระทรวง. หนังสือเรียนสาระการ
เรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
2547.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Data
DataData
Data
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Stat
StatStat
Stat
 
Stat2
Stat2Stat2
Stat2
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 

Similar to sta

บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 

Similar to sta (20)

60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 

More from junji jun

Pisa key math 3
Pisa key math 3Pisa key math 3
Pisa key math 3junji jun
 
คณะไหนทำงานอะไร
คณะไหนทำงานอะไรคณะไหนทำงานอะไร
คณะไหนทำงานอะไรjunji jun
 
ป้ายอบรม
ป้ายอบรมป้ายอบรม
ป้ายอบรมjunji jun
 
O-NET 2553_m6_1054012004
O-NET 2553_m6_1054012004O-NET 2553_m6_1054012004
O-NET 2553_m6_1054012004junji jun
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์junji jun
 
ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51junji jun
 

More from junji jun (8)

Pisa key math 3
Pisa key math 3Pisa key math 3
Pisa key math 3
 
คณะไหนทำงานอะไร
คณะไหนทำงานอะไรคณะไหนทำงานอะไร
คณะไหนทำงานอะไร
 
Trigon12
Trigon12Trigon12
Trigon12
 
ป้ายอบรม
ป้ายอบรมป้ายอบรม
ป้ายอบรม
 
O-NET 2553_m6_1054012004
O-NET 2553_m6_1054012004O-NET 2553_m6_1054012004
O-NET 2553_m6_1054012004
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51
 
Help
HelpHelp
Help
 

sta