SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ (Statistic) หมายถึง
1. ตัวเลขแทนปริมาณจานวนข้อมูล หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้
เช่นต้องการทราบปริมาณน้าฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น
2. ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคานวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์
เช่นคานวณหาค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน ค่าที่คานวณได้เรียกว่าค่าสถิติ ( A Statistic)
ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลาย ๆ ค่า (Statistics)
3. วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์
และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษาได้แก่
การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collection of Data)
การนาเสนอข้อมูล(Presentation of Data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
ข้อมูล(Data) หมายถึง รายละเอียดข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ
ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมซึ่งตรงกับสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา
ประเภทของวิชาสถิติ แบ่งประเภทตามลักษณะของข้อมูลได้เป็นสองประเภทคือ
สถิติเชิงอนุมาน(Inductive Statistics) หมายถึง
สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเพียงบางส่วนของข้อมูลทั้งหมด
สถิติเชิงบรรยาย(Descriptive Statistics) หมายถึง
สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การนาเสนอข้อมูล หมายถึง การจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เป็นประเภทตามลักษณะของการวิจัย
เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายของข้อมูล
การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution table) จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
แจกแจงข้อมูลเป็นตัว ๆ ไป ใช้กับข้อมูลดิบที่มีจานวนไม่มากนัก
แจกแจงข้อมูลเป็นช่วงคะแนน (อันตรภาคชั้น) เช่น
คะแนน จานวนนักเรียน
20-29
30-39
40-49
50-59
60-69
รวม
8
12
17
10
8
55
หลักการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. พิจารณาจานวนข้อมูลดิบทั้งหมดว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด
2. หาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของข้อมูลดิบที่มีอยู่
3. หาค่าพิสัยของข้อมูลนั้นจากสูตร
พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่าสุด
4. พิจารณาว่าจะแบ่งเป็นกี่ชั้น(นิยม 5 – 15 ชั้น)
5. หาความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น จากสูตร (นิยมปรับค่าให้เป็น 5 หรือ 10 )
ความกว้างของอันตรภาคชั้น = พิสัย/จานวนชั้น (/ = การหาร หรือ ส่วน)
6. ควรเลือกค่าที่น้อยที่สุด หรือค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นให้เป็นค่าที่สังเกตได้ง่ายๆ
ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือแท่งความถี่ คือ การแจกแจงความถี่ข้อมูลโดยใช้กราฟแท่ง
เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการวิเคราะห์ หรือตีความหมายข้อมูล
ค่ากลางของข้อมูล มีทั้งหมด 6 ชนิด
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmetic mean)
มัธยฐาน(median)
ฐานนิยม(mode)
ตัวกลางเรขาคณิต(geometric mean)
ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)
ตัวกึ่งกลางพิสัย(mid-range)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต (arithmetic mean)
หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
นาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน
นาผลรวมที่ได้จากข้อ 1 มาหารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด
ผลหารที่ได้ในข้อ 2 คือ ค่าเฉลี่ย
มัธยฐาน (median) คือ
ค่ากลางของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลังจากเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจากมากไปน้
อย
ตัวอย่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล 3 , 7 19, 25, 12, 18 , 10
วิธีทา เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ 3 , 7, 10, 12, 18, 19, 25 ข้อมูลมีทั้งหมด 7
ตัวเรียงข้อมูลแล้วตัวเลขที่อยู่ตรงกลางคือตัวเลขตาแหน่งที่ 4 ตัวเลขตาแหน่งที่ 4 คือ 12 เป็นมัธยฐาน
ฐานนิยม (mode) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้น
ตัวอย่าง จงหาฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ 3, 2, 5, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 5
วิธีทา ข้อมูลมี 2 จานวน 1 ค่า มี 3 จานวน 8 ค่า มี 5 จานวน 2 ค่า ฉะนั้นฐานนิยมของข้อมูลคือ 3

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารAui Ounjai
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 

What's hot (20)

บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
C3
C3C3
C3
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Viewers also liked

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตBangon Suyana
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติNiwat Namisa
 

Viewers also liked (7)

สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
Stat
StatStat
Stat
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติตัวอย่างโจทย์สถิติ
ตัวอย่างโจทย์สถิติ
 

Similar to สถิติ คณิตศาสตร์

ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Janova Kknd
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 

Similar to สถิติ คณิตศาสตร์ (20)

ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
sta
stasta
sta
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Data
DataData
Data
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 

สถิติ คณิตศาสตร์

  • 1. สถิติ คณิตศาสตร์ สถิติ (Statistic) หมายถึง 1. ตัวเลขแทนปริมาณจานวนข้อมูล หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้ เช่นต้องการทราบปริมาณน้าฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น 2. ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคานวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์ เช่นคานวณหาค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน ค่าที่คานวณได้เรียกว่าค่าสถิติ ( A Statistic) ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลาย ๆ ค่า (Statistics) 3. วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collection of Data) การนาเสนอข้อมูล(Presentation of Data) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) ข้อมูล(Data) หมายถึง รายละเอียดข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมซึ่งตรงกับสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ประเภทของวิชาสถิติ แบ่งประเภทตามลักษณะของข้อมูลได้เป็นสองประเภทคือ สถิติเชิงอนุมาน(Inductive Statistics) หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเพียงบางส่วนของข้อมูลทั้งหมด
  • 2. สถิติเชิงบรรยาย(Descriptive Statistics) หมายถึง สถิติที่ใช้จัดกระทากับข้อมูลที่ได้มาเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การนาเสนอข้อมูล หมายถึง การจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เป็นประเภทตามลักษณะของการวิจัย เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายของข้อมูล การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution table) จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ แจกแจงข้อมูลเป็นตัว ๆ ไป ใช้กับข้อมูลดิบที่มีจานวนไม่มากนัก แจกแจงข้อมูลเป็นช่วงคะแนน (อันตรภาคชั้น) เช่น คะแนน จานวนนักเรียน 20-29 30-39 40-49 50-59 60-69 รวม 8 12 17 10 8 55 หลักการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1. พิจารณาจานวนข้อมูลดิบทั้งหมดว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด 2. หาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของข้อมูลดิบที่มีอยู่ 3. หาค่าพิสัยของข้อมูลนั้นจากสูตร พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่าสุด
  • 3. 4. พิจารณาว่าจะแบ่งเป็นกี่ชั้น(นิยม 5 – 15 ชั้น) 5. หาความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น จากสูตร (นิยมปรับค่าให้เป็น 5 หรือ 10 ) ความกว้างของอันตรภาคชั้น = พิสัย/จานวนชั้น (/ = การหาร หรือ ส่วน) 6. ควรเลือกค่าที่น้อยที่สุด หรือค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นให้เป็นค่าที่สังเกตได้ง่ายๆ ฮิสโตแกรม (Histogram) หรือแท่งความถี่ คือ การแจกแจงความถี่ข้อมูลโดยใช้กราฟแท่ง เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมของข้อมูลมากยิ่งขึ้นและง่ายต่อการวิเคราะห์ หรือตีความหมายข้อมูล ค่ากลางของข้อมูล มีทั้งหมด 6 ชนิด ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต(arithmetic mean) มัธยฐาน(median) ฐานนิยม(mode) ตัวกลางเรขาคณิต(geometric mean) ตัวกลางฮาโมนิค (harmonic mean)
  • 4. ตัวกึ่งกลางพิสัย(mid-range) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือตัวกลางเลขคณิต (arithmetic mean) หลักในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต นาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน นาผลรวมที่ได้จากข้อ 1 มาหารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด ผลหารที่ได้ในข้อ 2 คือ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน (median) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดหลังจากเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมากหรอจากมากไปน้ อย ตัวอย่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล 3 , 7 19, 25, 12, 18 , 10 วิธีทา เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ 3 , 7, 10, 12, 18, 19, 25 ข้อมูลมีทั้งหมด 7 ตัวเรียงข้อมูลแล้วตัวเลขที่อยู่ตรงกลางคือตัวเลขตาแหน่งที่ 4 ตัวเลขตาแหน่งที่ 4 คือ 12 เป็นมัธยฐาน ฐานนิยม (mode) คือ ค่ากลางของข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในชุดข้อมูลนั้น ตัวอย่าง จงหาฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ 3, 2, 5, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 3, 5 วิธีทา ข้อมูลมี 2 จานวน 1 ค่า มี 3 จานวน 8 ค่า มี 5 จานวน 2 ค่า ฉะนั้นฐานนิยมของข้อมูลคือ 3